stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ตู้เย็นข้างเรินบ้านชายควน
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 58-03897
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 กันยายน 2015 - 15 ตุลาคม 2016
งบประมาณ 200,200.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาว สุพานนท์ มูสิกะ
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 087-8069784
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ เสณี จ่าวิสูตร/จุรีย์ หนูผุด
พื้นที่ดำเนินการ บ้านชายควน หมู่ 2 ต.บ้านชะอวด อ.จุฬาภรณ์ จ.นครศรีธรรมราช
ละติจูด-ลองจิจูด 8.0703792758157,99.915436059237place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 ก.ย. 2015 15 ก.พ. 2016 15 ก.ย. 2015 21 ก.พ. 2016 80,080.00
2 16 ก.พ. 2016 15 ส.ค. 2016 22 ก.พ. 2016 15 ต.ค. 2016 100,100.00
3 16 ส.ค. 2016 15 ต.ค. 2016 20,020.00
รวมงบประมาณ 200,200.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ให้คนในชุมชนเกิดความตระหนักการบริโภคอาหารที่ไม่ปลอดภัยและมีจิตสำนึกในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการกิน

แกนนำชุมชน 15 คนมีทักษะในการสำรวจ ประมวลผล วิเคราะห์ข้อมูล/มีชุดข้อมูลผลการตรวจอาหารย้อนหลัง/มีข้อมูลผลการตรวจสารเคมีในเลือดย้อนหลัง/มีข้อมูลสถานการณ์อาหารปลอดภัยในชุมชน/มีข้อมูลพฤติกรรมการกินของคนในชุมชน/มีข้อมูลระดับความมั่นคงทางอาหารของชุมชน/มีการคืนข้อมูลสู่ชุมชน/มีแผนการในการจัดการอาหารปลอดภัยของชุมชน

2 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ
  1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด
  2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม
  3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม
  4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด
3 เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ให้คนในชุมชนเกิดความตระหนักการบริโภคอาหารที่ไม่ปลอดภัยและมีจิตสำนึกในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการกิน
  1. เกิดฐานการเรียนรู้ครัวเรือนต้นแบบพึ่งตนเองด้านอาหารและสร้างอาหารปลอดภัยได้ 10 ครัวเรือน
  2. เกิดครัวเรือนผลิตอาหารปลอดภัย จำนวน 50 ครัวเรือน แบ่งการผลิตเป็น 3 ฐานได้แก่ครัวเรือนผลิตพืชผัก ครัวเรือนผลิตข้าวปลอดภัย ครัวเรือนผลิตอาหารโปรตีนปลอดสารพิษ
  3. สมาชิกครัวเรือนต้นแบบมีพืชผัก พันธุ์พื้นบ้านเพิ่มขึ้นครัวเรือนละ 25 ชนิด
  4. มีระบบการเฝ้าระวังการตรวจอาหาร/ตรวจร้านค้าในชุมชน
4 เพื่อสร้างและพัฒนากลไกสภาชุมชนในการบริหารจัดการอาหารปลอดภัยชุมชนและการบริหารจัดการชุมชน
  1. มีคณะทำงานตรวจสอบอาหารที่ปลอดภัยและเฝ้าระวัง1 กลุ่มจำนวน 10คน
  2. จำนวนที่เข้าร่วมคณะกรรมการอาหารปลอดภัยชุมชน ไม่น้อยกว่า 15 คน
  3. ข้อตกลงร่วมหรือแนวทางปฏิบัติในการบริหารจัดการอาหารปลอดภัยชุมชน
  4. มีคณะทำงานสภาชุมชน ที่มีการประชุมทุกเดือน รวม 12 ครั้ง การประชุมแต่ละครั้งมีผู้เข้าร่วมไม่น้อยกว่า ร้อยละแปดสิบ มีการพิจารเรื่องโครงการฯและเรื่องอื่นๆ ของชุมชน
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 พ.ค. 2015 14:55 น.