stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ร่วมใจแก้ไขปัญหาขยะในชุมชุนบ้านตูล
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 58-03901
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 กันยายน 2015 - 15 ตุลาคม 2016
งบประมาณ 181,530.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นาย นุกูล มูสิกะ
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 086-2688535
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ เสณี จ่าวิสูตร/จุรีย์ หนูผุด
พื้นที่ดำเนินการ บ้านตูล หมู่ 1 ต.บ้านตูล อ.ชะอวด จ.นครศรีธรรมราช
ละติจูด-ลองจิจูด 8.0663761029095,99.956518113571place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 ก.ย. 2015 15 ก.พ. 2016 15 ก.ย. 2015 29 ก.พ. 2016 72,610.00
2 16 ก.พ. 2016 15 ส.ค. 2016 1 มี.ค. 2016 15 ต.ค. 2016 90,750.00
3 16 ส.ค. 2016 15 ต.ค. 2016 18,170.00
รวมงบประมาณ 181,530.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ของคนในชุมชนให้เห็นความสำคัญ/ตระหนักในผลกระทบจากขยะ และนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการจัดการขยะ
  1. มีชุดข้อมูลเรื่องชนิดปริมาณ/มูลค่า/การจัดการ/และผลกระทบจากขยะ
  2. มีการคืนข้อมูลเพื่อสร้างการเรียนรู้สู่ชุมชน
  3. มีแผนการจัดการขยะ
  4. คนในชุมชนมีความรู้ในการคัดแยกขยะ/มีความรู้ในการทำปุ๋ยอินทรีย์จากขยะ ไม่ต่ำกว่า 50 ครัวเรือน
2 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ
  1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด
  2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม
  3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม
  4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด
3 เพื่อหนุนเสริมการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในการจัดการขยะ
  1. มีครัวเรือนนำร่องการจัดการขยะ จำนวน 50 ครัวเรือน
  2. มีกฏกติการ่วมกันของครัวเรือนนำร่อง
  3. มีเขตปลอดขยะ เขตห้ามทิ้งขยะ
  4. มีกลุ่มจัดทำผลิตภัณฑ์จากขยะ
  5. มีการรณรงค์สร้างจิตสำนึกและกระตุ้นชุมชนโดยการจัดวันบิ๊กคลีนนิ่งของหมู่บ้าน
4 เพื่อพัฒนาศักยภาพสภาผู้นำในการเป็นกลไกบริหารโครงการและบริหารจัดการชุมชน
  1. มีสภาผู้นำที่ร่วมกันรับผิดชอบในการจัดการบริหารโครงการฯและบริหารชุมชนจำนวน 42 คน สภาหมู่บ้านมีการประชุมทุกเดือน ในการประชุมแต่ละครั้งมีผู้เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละแปดสิบ ในการประชุมแต่ละครั้ง มีการปรึกษาหารือเรื่องโครงการและเรื่องอื่นๆของชุมชน
  2. มีกลุ่มครัวเรือนนำร่องในการจัดการขยะ จำนวน 50 ครัวเรือน
  3. มีกลุ่มทำผลิตภัณฑ์จากขยะสภาหมู่บ้านมีการประชุมทุกเดือน
  4. ในการประชุมแต่ละครั้งมีผู้เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละแปดสิบ
  5. ในการประชุมแต่ละครั้ง มีการปรึกษาหารือเรื่องโครงการและเรื่องอื่นๆของชุมชน
  6. มีกลุ่มนักสืบขยะ
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 พ.ค. 2015 14:58 น.