stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ คนท่ายูงปลูกป่าในนาสหาย
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 58-03998
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 กันยายน 2015 - 15 ตุลาคม 2016
งบประมาณ 210,450.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นาย สมปอง เพิ่มแก้ว
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 0895987671
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ Churee
พื้นที่ดำเนินการ ชุมชนท่ายูง หมู่ที่ 5 ต.ตะเเพน อ.ศรีบรรพต จ.พัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.6470258035281,99.843063354492place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 ก.ย. 2015 15 ก.พ. 2016 15 ก.ย. 2015 21 ก.พ. 2016 84,180.00
2 16 ก.พ. 2016 15 ส.ค. 2016 22 ก.พ. 2016 15 ต.ค. 2016 105,230.00
3 16 ส.ค. 2016 15 ต.ค. 2016 21,040.00
รวมงบประมาณ 210,450.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนาสภาผู้นำชุมชนในการบริหารจัดการชุมชน
  1. มีสภาผู้นำชุมชนในการบริหารจัดการชุมชน จำนวน 30 คน
  2. สภาหมู่บ้านมีการประชุมทุกเดือน
  3. ในการประชุมแต่ละครั้งมีผู้เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละแปดสิบ
  4. ในการประชุมแต่ละครั้ง มีการปรึกษาหารือเรื่องโครงการและเรื่องอื่นๆของชุมชน
2 เพื่ออนุรักษ์ฟื้นฟูป่าต้นน้ำบ้านท่ายูง
  1. มีพื้นที่ป่าต้นน้ำที่ได้รับการอนุรักษ์ฟื้นฟู จำนวน 3 ไร่
3 เพื่อให้คนในชุมชนตระหนักและเห็นความสำคัญต่อการอนุรักษ์ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมและป่าต้นน้ำ

1.1 คนในชุมชนมีความรู้เรื่องฐานทรัพยากรป่าต้นน้ำและเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการป่าต้นน้ำร้อยละ 80 ของครัวเรือนทั้งหมด

1.2 มีชุดข้อมูลเขาแก้ว/คลองห้วยตอ/คลองน้ำทะลุเขา/คลองหนานปู/คลองใหญ่และฐานข้อมูลทรัพยากรของป่าต้นน้ำชุมชน และมีการคืนข้อมูลเพื่อสร้างความตระหนักเห็นคุณค่าเข้ามามีส่วนร่วม

1.3 มีแผนการดูแลรัษาป่าต้นน้ำ

1.4 มีสื่อประชาสัมพันธ์/สื่อรณรงค์/ป้ายแสดงกฏกติกา ไม่ต่ำกว่า 10 ชิ้น

1.5 มีกฏกติกาของชุมชนในการดูแลรักษาป่าต้นน้ำ

4 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ
  1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด
  2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม
  3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม
  4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด
5 เพื่อปรับสภาพพื้นที่ป่าต้นน้ำเป็นพื้นที่ที่เอื้อในการผลิตอาหารให้กับคนในชุมชน

1.1 มีฝายชะลอน้ำ อย่างน้อยจำนวน 5 จุด

1.2 มีพื้นที่ป่าเสื่อมโทรมได้รับการฟื้นฟู มีพันธ์ไม้ใช้สอยเพิ่มขึ้นไม่ต่ำกว่า 1,500 ต้น

1.3 มีอาสาสมัครพิพักษ์ป่าลาดตระเวณดูแลพันธ์ไม้และเฝ้าระวังการทำลายป่า จำนวน 8 คนเดินลาดตระเวณเดือนละครั้ง

6 เพื่อพัฒนา กลไก/แกนนำ/อาสาสมัครและกลุ่มองค์กรในชุมชนสามารถร่วมกันบริหารจัดการทรัพยากรป่าต้นน้ำ

1.1 มีคณะทำงานที่ร่วมกันรับผิดชอบการดำเนินงานตามโครงการ จำนวน 15 คน

1.2 มีระบบ มีแผน,มีปฏิบัติการในการเฝ้าระวัง ฟื้นฟู และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติของชุมชน

1.3 มีกลไกในการบริหารจัดการชุมชนโดยรูปแบบสภาชุมชนผ่านการประชุมหมู่บ้าน

1.4 เกิดกลุ่มเยาวชนรักษ์ป่า 1 กลุ่ม

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 พ.ค. 2015 15:08 น.