stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ร่วมสร้างสุข ด้วยซั้งกอที่บ้านทะเลนอก
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 58-03817
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 กันยายน 2015 - 15 ตุลาคม 2016
งบประมาณ 178,595.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นาย ดลหะหรีม บิลหมาน
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 0894680746
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ jimmai,wangmanee
พื้นที่ดำเนินการ ชุมชนบ้านทะเลนอก 146 ม.1 ต.หัวเขา อ.สิงหนคร จ. สงขลา 90280
ละติจูด-ลองจิจูด 7.2207996427124,100.388088227place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 ก.ย. 2015 15 ก.พ. 2016 15 ก.ย. 2015 19 ก.พ. 2016 71,440.00
2 16 ก.พ. 2016 15 มิ.ย. 2016 20 ก.พ. 2016 15 ต.ค. 2016 89,300.00
3 16 มิ.ย. 2016 15 ต.ค. 2016 17,855.00
รวมงบประมาณ 178,595.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำและชุมชนในการจัดการข้อมูลชุมชน
  1. เกิดการพัฒนาศํกยภาพแกนนำทีมทำงานหลักจำนวน 11 คนและชุมชนไม่น้อยกว่า 60 คนมีความรู้ทักษะการจัดการข้อมูลชุมชน แบบสัมภาษณ์ บันทึก ข้อมูลปฐมภูมิ ทุติยภูมิ
  2. การจัดเก็บข้อมูลทรัพยากรสัตว์น้ำ พื้นที่เขตอนุรักษ์ฟื้นฟู จำนวน 1 ชุด
  3. การวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลเป็นแผนการดำเนินงาน
  4. เกิดเอกสารการสรุปถอดบทเรียนการจัดการทรัพยารอนุรักษ์ฟื้นฟูสัตว์น้ำโดยชุมชน
2 เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้การเข้ามามีส่วนร่วมและการเผยแพร่ข้อมูลขยายเครือข่ายร่วมงานพัฒนาเพิ่มขึ้น
  1. การประชาสัมพันธ์เปิดโครงการให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมไม่น้อยกว่า100 คน
  2. เกิดการเข้ามามีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรสัตว์น้ำร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายโครงการ
  3. การเผยแพร่ข้อมูลการจัดการทรัพยากรโดยชุมชน เช่นข้อมูลการเปรียบเทียบทรัพยากรสัตว์น้ำก่อนและหลังการวางซั้งกอ(บ้านปลา)บ้านทะเลนอก
  4. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้การอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรร่วมเครือข่ายเพื่อประยุกต์ข้อมูลมาปรับใช้การจัดการทรัพยากรให้สอดคล้องกับพื้นที่ของตน
3 เพื่อวางแผนการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพ
  1. เกิดแผนการดำเนินงานที่ชัดเจนในการอนุรักษ์ฟื้นฟูลดการทำลาย การพัฒนาสร้างความมั่นคง ด้านอาหาร อาชีพ และอาหาร
  2. มีกลุ่มคนที่มีศักยภาพที่มีบทบาทในการทำแผน คือกลุ่มคณะกรรมการสมาคมประมงพื้นบ้าน,กลุ่มประมงอาสา,กลุ่มวิทยุเฝ้าระวัง จำนวน 30 คน
  3. คณะทำงานมีการสรุปทบทวนวางแผนการดำเนินงานอย่างสม่ำเสมอเดือนละครั้ง จำนวน 10 ครั้ง

  4. มีการติดตามประเมินการดำเนินงาน

4 เพื่อปฏิบัติการอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรสัตว์น้ำ และการสร้างกลไกการปกป้องเฝ้าระวังสร้างความมั่นคง อาชีพ รายได้ และอาหาร
  1. เกิดปฏิบัติการอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากร เช่น การวางซั้งกอจำนวน 25 กอ
  2. เกิดภาคีความร่วมมืออนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรอย่างต่อเนื่อง
  3. เกิดกฏกติกาการเฝ้าระวังการทำประมงทำลายล้างสัตว์น้ำวัยอ่อนและการลักลอบเข้ามาทำประมงในเขตอนุรักษ์ฯ เช่นกลุ่มประมงอาสาฯ กลุ่มวิทยุเฝ้าระวัง จำนวน 20 คน
  4. ทรัพยากรสัตว์น้ำเพิ่มขุึ้นจากการอนุรักษ์ฟื้นฟุ อาชีพ รายได้ชุมชนดีขึ้น
5 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ
  1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด
  2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม
  3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม
  4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 พ.ค. 2015 15:28 น.