stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ รักษา"ครัวทะเล"ที่บ้านบาตู
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 58-03785
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 กันยายน 2015 - 15 ตุลาคม 2016
งบประมาณ 191,385.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นาย อิสมาเเอน เบ็ญสอาด
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 075-258761,0869437669
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ เสณี จ่าวิสูตร
พื้นที่ดำเนินการ บ้านบาตูปูเต๊ะ หมู่ 4 ต.เกาะลิบง อ.กันตัง จ.ตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.2385104908365,99.384212493841place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 ก.ย. 2015 15 ก.พ. 2016 15 ก.ย. 2015 21 ก.พ. 2016 76,560.00
2 16 ก.พ. 2016 15 ส.ค. 2016 22 ก.พ. 2016 15 ต.ค. 2016 95,700.00
3 16 ส.ค. 2016 15 ต.ค. 2016 19,125.00
รวมงบประมาณ 191,385.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มพื้นที่ป่าชายเลน พื้นที่หญ้าทะเลและสัตว์น้ำคือ หอยชักตีน ปูม้าในระบบนิเวศน์ให้มีจำนวนเพิ่มขึ้นโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
  1. มีพื้นที่ป่าชายเลนเพิ่มขึ้น ร้อยละ 30 ของพื้นที่ป่าชายเลน
  2. มีกระบวนการจัดทำข้อมูลป่าชายเลน 1 ชุด
  3. คนในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจและใส่ใจและเข้าร่วมกิจกรรมในการการอนุรักษ์และฟื้นฟูป่าชายเลนมากขึ้น
  4. ชาวชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการจับสัตว์น้ำและป่าชายเลนมีความอุดมสมบูรณ์ขึ้น มีเอกสารรายงานการเพิ่มขึ้นของทรัพยากรในป่าชายเลน
  5. เยาวชนในชุมชนเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆทุกครั้งและเกิดกลุ่มสภาเยาวชนในชุมชน
2 เพื่อพัฒนาและสร้างกระบวนการเรียนรู้ด้วยการจัดการข้อมูลและจัดทำแผนการจัดการทรัพยากรธรรมชาติของชุมชน
  1. มีฐานข้อมูลเรื่องสถานการณ์ของทรัพยากรชายฝั่งทะเลและข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการประกอบอาชีพประมงของชาวบ้านในพื้นที่
  2. กลุ่มเด็ก/เยาวชน/คณะทำงาน จำนวน 30 คน มีความรู้และทักษะในการจัดเก็บข้อมูล
  3. มีชุดข้อมูลเเละการคืนข้อมูลแก่ชุมชนเพื่อสร้างความตระหนักในปัญหาและเข้ามามีส่วนร่วมและร่วมมือ/มีแผนในการบริหารจัดการทรัพยากรชายฝั่งทะเลฯ จำนวน 1 ชุด
3 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ
  1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด
  2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม
  3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม
  4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด
4 เพื่อส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วมในปฏิบัติการการเฝ้าระวังป้องกัน ฟื้นฟูและพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติของชุมชน
  1. มีการเพิ่มพื้นป่่าชายเลน เพิ่มชนิดของไม้ป่าริมเล จำนวน 6 ชนิด จำนวน 300 ต้น ในพื้นที่
  2. เพิ่มชนิดของสัตว์น้ำ จำนวน 4 ชนิด จำนวน10 ล้านต้ว
  3. มีสื่อรณรงค์/ป้ายประชาสัมพันธ์ของพื้นที่
  4. ผลิตแหล่งพักอาศัยของสัตว์น้ำ จำนวน 10 แหล่ง
  5. มีแผนในการเฝ้าระวัง และมีชุดอาสาสมัครฯ
  6. มี่เขตอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่ง จำนวน 1 เขต
  7. มีกฏกติกาของชุมชนในการรักษาดูเเลพื้นที่เขตอนุรักษ์
5 พัฒนากลไกการบริหารจัดการหมู่บ้าน โดยสภาชุมชนและกลไกในการจัดการทรัพยากรชายฝั่ง
  1. มีคณะกรรมการสภาชุมชน จำนวน 34 คน มีการประชุมเดือนละครั้ง มีผู้เข้าร่วมไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ในการประชุมแต่ละครั้ง มีการปรึกษาหารือเรื่องโครงการและเรื่องอื่นๆของชุมชน
  2. มีคณะทำงานร่วมบริหารจัดการโครงการ จำนวน 12 คน มีการประชุมร่วมกันอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง เพื่อวางแผน เตรียมการ ขับเคลื่อนแผนและมีการติดตามการประเมินผลโครงการอย่างต่อเนื่อง
  3. มีการสรุปผลการดำเนินงานและปรับปรุงการทำงานเป็นระยะ
  4. มีทีมในการลาดตระเวณเฝ้าระวังป้องกันการทำลายทรัพยากรฯและการทำประมงผิดกฏหมาย จำนวน 7 คน
  5. มีกลุ่มเด็กและเยาวชนเข้าร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรฯ จำนวน 15 คน
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 พ.ค. 2015 15:42 น.