directions_run

ชุมชนชายฝั่ง สร้างพลังเศรษฐกิจพอเพียง บ้านยามู

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ชุมชนชายฝั่ง สร้างพลังเศรษฐกิจพอเพียง บ้านยามู
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 58-04004
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 กันยายน 2015 - 15 ตุลาคม 2016
งบประมาณ 185,460.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาว ดาหวัน สมบูรณ์
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 084 - 4401668
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ วารุณี ธารารัตนากุล
พื้นที่ดำเนินการ ชุมชนบ้านยามู หมู่ 7 ต.ป่าคลอก อ.ถลาง จ.ภูเก็ต
ละติจูด-ลองจิจูด 8.0120676619772,98.398732692003place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 ก.ย. 2015 15 ก.พ. 2016 15 ก.ย. 2015 15 ก.พ. 2016 118,980.00
2 16 ก.พ. 2016 15 ส.ค. 2016 16 ก.พ. 2016 15 ต.ค. 2016 53,794.00
3 16 ส.ค. 2016 15 ต.ค. 2016 12,686.00
รวมงบประมาณ 185,460.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วม และสร้างความเข้มแข็งของสภาผู้นำ
  • ได้สภาผู้นำ จำนวน 30 คน
  • ประชุมสภาผู้นำทุก 1 เดือน จำนวน 12 ครั้ง
  • สมาชิกสภาผู้นำเข้าประชุมไม่น้อยกว่า 80 เปอร์เซ็นต์
  • การประชุมมีการพูดคุยเรื่องโครงการ และสถานการณ์ปัญหาอื่นๆในชุมชนทุกครั้ง
2 เพื่อให้ครัวเรือนเพิ่มรายได้และลดรายจ่ายตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
  • ได้แผนปฏิบัติชุมชนอย่างน้อย 1 ชุด เช่น แผนบัญชีครัวเรือน แผนพัฒนาอาชีพ แผนพัฒนาประมงพื้นบ้าน
  • ได้เรียนรู้การจัดการข้อมูลอย่างเป็นระบบ อย่างน้อย 4 ชุด ได้แก่ ประวัติชุมชน กลุ่มองค์กร ทุนชุมชน รายรับรายจ่ายของครัวเรือน หนี้สิน
  • ได้ครัวเรือนต้นแบบ ลดรายจ่าย 10 เปอร์เซ็นต์ เพิ่มรายได้ 10 เปอร์เซ็นต์ จำนวน 30 ครัวเรือน
3 เพื่อให้คนในชุมชนดำรงชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง (รู้รายรับ - รายจ่าย)
  • ร้อยละ 80 ของคนในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจในการจัดทำบัญชีครัวเรือน
  • ร้อยละ 80 มีการวางแผนรายจ่ายในครัวเรือน
  • รู้รายได้ต่อครอบครัวของคนในชุมชนเพิ่มขึ้น
4 สร้างสื่อสร้างสรรค์ลิเกฮูรูบทเพลงรู้เท่าทันสังคมและสร้างความตระหนักต่อปัญหาสังคม
  • ได้กลุ่มเยาวชนลิเกฮูรู 20 คน
  • ได้บทเพลง 3 เพลง เนื้อหาสร้างความตระหนัก ด้านรู้เท่าทันโฆษณาใช้จ่ายไม่ฟูมเฟือยยึดหลักเศรษฐกิจพอพียง ด้านครอบครัวอบอุ่น ด้านวิถีชีวิตชุมชน
  • กลุ่มเยาวชน นำบทเพลงไปเผยแพร่ต่อในงานประจำปีของชุมชน
  • เยาวชนเข้าร่วมกิจกรรม 100 เปอร์เซ็นต์ ทำให้ห่างไกลยาเสพติด
  • สร้างความตระหนักด้านรู้เท่าทันโฆษณาใช้จ่ายไม่ฟูมเฟือยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง ด้านครอบครัวอบอุ่น ด้านวิถีชีวิตชุมชน ร้อยละ 80
5 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ
  1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด
  2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม
  3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม
  4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด
6 เพื่อให้คนในชุมชนดำรงชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง(เพิ่มรายได้อาชีพเสริมกลุ่มเลี้ยงปลาในกระชัง ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง เรื่องการปลูกผักสวนครัวในกระถาง กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการออมในครัวเรือน)
  • เพิ่มรายได้ จัดตั้งกลุ่มเลี้ยงปลากระพงขาวในกระชัง และ ส่งเสริมความรู้ ฝึกทักษะ การเลี้ยงปลากระพงขาวในกระชัง จำนวน30 ครัวเรือน

  • ลดรายจ่าย จัดตั้งศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ส่งเสริมความรู้ ฝึกทักษะ ปลูกผักสวนครัวในกระถาง 50 ครัวเรือน

  • เกิดกลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการออมในครัวเรือน คนในชุมชนร้อยละ 80 เป็นสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการออมในครัวเรือน มีกิจกรรมการออมของสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์ในหมู่บ้านทุกเดือน รายได้ต่อครอบครัวของคนในชุมชนเพิ่มขึ้น จากการเก็บข้อมูลบัญชีครัวเรือน และทำให้คนในชุมชน รู้รายรับ - รายจ่ายในครัวเรือนที่ชัดเจน และมีความตระหนักในการลดรายจ่ายเพิ่มรายได้มากขึ้น
7 การมีส่วนร่วมในการกำหนดกฏระเบียบ กติกาชุมชน และการใช้ทรัพยากรชุมชน
  • ผู้เข้าร่วมกำหนดกฏระเบียบร้อยละ 80 ของคนในชุมชน
  • เกิดกติกาชุมชน
  • เกิดกฏระเบียบการจับสัตวฺ์น้ำ เครื่องมืออุปกรณ์จับสัตว์น้ำ กฏระเบียบการใช้ทรัพยากรป่าชายเลน หาดทราย
  • เกิดการยอมรับกฏและปฏิบัติไม่พบการกระทำผิดร้อยละ 80 ของคนในชุมชน
8 สร้างกลไก การอนุรักษ์ป่าชายเลน
  • เกิดกลุ่มอนุรักษ์ป่าชายเลน จำนวน 20 คน
  • มีการตรวจดูแลป่าชายเลน เดือนละครั้ง
9 สร้างกลไกคนในการบริหารกลุ่มต่างๆ ได้แก่ กลุ่มประมงพื้นบ้าน กลุ่มสตรี กลุ่มเยาวชน กลุ่มอนุรักษ์ป่าชายเลน กลุ่มออมทรัพย์
  • เกิดคณะทำงานแต่ละกลุ่ม 5 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มประมงพื้นบ้าน กลุ่มสตรี กลุ่มเยาวชน กลุ่มอนุรักษ์ป่าชุมชน กลุ่มออมทรัพย์
  • มีการประชุมทบทวนการบริหารกลุ่ม ในแต่ละกิจกรรม เพื่อแก้ไขปัญหา และติดตามประเมินผลเดือนละ 1 ครั้ง
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 พ.ค. 2015 21:10 น.