directions_run

โรงเรียนสร้างสุข สู้เศรษฐกิจ คืนวิถึชีวิตบ้านท้องลาน

assignment
บันทึกกิจกรรม
ติดตามโครงการและสรุปรายงานปิดงวด15 ตุลาคม 2016
15
ตุลาคม 2016รายงานจากพี่เลี้ยง โดย sutham
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อติดตามผลการดำเนินโครงการงวด 2 และปิดงวด

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

พี่เลี้ยงโครงการและผู้รับผิดชอบโครงการ ร่วมประชุมเพื่อติดตามโครงการงวดที่ 2  และการบันทึกรายงานกิจกรรมให้ครบถ้วน ถูกต้องบนเวบ  พร้อมทั้งตรวจหลักฐานค่าใช้จ่ายโครงการ ว่าเป็นไปตาม TOR
จัดทำรายงาน ส1 ส3 ส4  ง1 งวด2 และ ง2 บับสมบูรณ์ส่ง สสส.

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

พี่เลี้ยงโครงการและผู้รับผิดชอบโครงการ ร่วมประชุมเพื่อติดตามโครงการงวดที่ 2  และการบันทึกรายงานกิจกรรมให้ครบถ้วน ถูกต้องบนเวบ  พร้อมทั้งตรวจหลักฐานค่าใช้จ่ายโครงการ ว่าเป็นไปตาม TOR
จัดทำรายงาน ส1 ส3 ส4  ง1 งวด2 และ ง2 บับสมบูรณ์ส่ง สสส. พบว่า 1.โครงการมีการบันทึกรายงานกิจกรรมให้ครบถ้วน ถูกต้องบนเวบ
2.ตรวจหลักฐานค่าใช้จ่ายโครงการ ว่าเป็นไปตาม TOR หลักฐานมีแก้ไขใบสำคัญรับเงินให้ถูกต้อง บางฉบับ 3.จัดทำรายงาน ส1 ส3 ส4  ง1 งวด2 และ ง2 ฉบับสมบูรณ์ส่ง สสส. โดยจนท.สนับสนุนวิชาการจาก สจรส. 4. ผลการตรวจ เอกสารการเงินและการบันทึกรายงาน ภาพถ่าย ผ่านการตรวจสอบ และพิมพ์รายงานส่ง

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 3 คน จากที่ตั้งไว้ 3 คน
ประกอบด้วย

พี่เลี้ยงโครงการและผู้รับผิดชอบโครงการ

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

จัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์14 ตุลาคม 2016
14
ตุลาคม 2016รายงานจากพื้นที่ โดย มานพ เขียวทอง
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อจัดทำรายงานและตรวจเอกสารทางด้านการเงิน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

บันทึกตรวจสอบเอกสารรับการตรวจเอกสารจาก สจรส.มอ.

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เอกสารครบถ้วนทุกกิจกรรม

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

คณะผู้รับผิดชอบโครงการและจนท.การเงิน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายสุธรรมแก้วประดิษฐ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ถ่ายภาพและรวบรวมเอกสาร13 ตุลาคม 2016
13
ตุลาคม 2016รายงานจากพื้นที่ โดย sutham
circle
วัตถุประสงค์

รวบรวมเอกสาร

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

รวบรวมเอกสารและภาพถ่าย

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

รวบรวมเอกสารและภาพถ่ายและปริ้นเอกสารรวบรวมรูปเล่ม

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 3 คน จากที่ตั้งไว้ 3 คน
ประกอบด้วย

ผู้รับผิดชอบโครงการ

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นาย สุธรรมแก้วประดิษฐ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ร่วมงานสร้างสุขภาคใต้3 ตุลาคม 2016
3
ตุลาคม 2016รายงานจากพี่เลี้ยง โดย sutham
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อร่วมงานคนใต้สร้างสุข

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

การประชุมวิชาการระดับชาติเรื่อง นวัตกรรมในการสร้างเสริมสุขภาพ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

การประชุมวิชาการระดับชาติเรื่อง นวัตกรรมในการสร้างเสริมสุขภาพ ประกอบด้วยการบรรยายด้วยหัวข้อที่หลากหลาย การจัดนิทรรศการ การประชุมห้องย่อยตามประเด็น มีการนำเสนอผลงานการวิจัย และการพัฒนานโยบายสาธารณะในระดับพื้นที่ ทุกคนได้รับความรู้ที่ใหม่ๆจากมุมมองของผู้ร่วมโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

ภาคีพันธมิตรสุขภาพจาก ภาคีภาคประชาชนภาคประชาสังคมภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคสื่อสารมวลชน ภาควิชาการ จำนวน 1600คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ร่วมงานสร้างสุขภาคใต้3 ตุลาคม 2016
3
ตุลาคม 2016รายงานจากพื้นที่ โดย มานพ เขียวทอง
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อร่วมงานสร้างสุขภาคใต้

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เข้ากิจกรรมงานฅนใต้สร้างสุขในวันที่3-4 ตุลาคม 2559 ออกเดินทางจาก อ.เชียรใหญ่เวลา 09.00 น.ถึง อ.หาดใหญ่เวลา 12.00 น. เข้าร่วมพิธีเปิดเวลา 13.00 น. และลงทะเบียนเวลา 15.00 น. และเข้าที่พักเวลา20.00 น.

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เข้ากิจกรรมงานฅนใต้สร้างสุขในวันที่3-4 ตุลาคม 2559 ออกเดินทางจาก อ.เชียรใหญ่เวลา 09.00 น.ถึง อ.หาดใหญ่เวลา 12.00 น. เข้าร่วมพิธีเปิดเวลา 13.00 น. และลงทะเบียนเวลา 15.00 น. และเข้าที่พักเวลา20.00 น. จากที่ได้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้จากหลายชุมชนที่ทำโครงการหลากหลายและไดประสบการณ์จากผู้เสวนาที่มาแลกเปลี่ยนการทำชุมชนเข้มแข็ง

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

ผู้รับผิดชอบโครงการและเลขานุการ

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นาย สุธรรมแก้วประดิษฐ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

จัดทำรายงานสรุปโครงการรายงวด รายปี ฉบับสมบูรณ์26 กันยายน 2016
26
กันยายน 2016รายงานจากพื้นที่ โดย มานพ เขียวทอง
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อ จัดทำรายงานสรุปโครงการรายงวด รายปี ฉบับสมบูรณ์

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ผู้รับผิดชอบโครงการได้เชิญคณะผู้ร่วมรับผิดชอบโครงการได้มาจัดทำรายงานสรุปโครงการรายงวดและรายปีฉบับสมบรูณ์ที่สำนัก สสส.

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการได้เชิญคณะผู้ร่วมรับผิดชอบโครงการได้มาจัดทำรายงานสรุปโครงการรายงวดและรายปีฉบับสมบรูณ์ที่สำนัก สสส.

ผู้รับผิดชอบโครงได้มาสรุปผลงานที่ได้ร่วมกันทำในโครงการนี้ว่าได้บรรลุเป้าหมายที่ได้ตั้ง

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 5 คน จากที่ตั้งไว้ 5 คน
ประกอบด้วย

คณะกรรมการโครงการ

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นาย สุธรรมแก้วประดิษฐ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

เปิดโรงเรียนบ้านท้องลานศูนย์เรียนรู้เกษตรอินทรีย์25 กันยายน 2016
25
กันยายน 2016รายงานจากพื้นที่ โดย มานพ เขียวทอง
circle
วัตถุประสงค์

เปิดศูนย์เรียนรู้เกษตรอินทรีย์

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

สมาชิกและคณะกรรมการได้มาเตรียมความพร้อมในเวลา 07.00 น. และชมชนใกล้เคียงได้มาพร้อมกันในเวลา 08.30 น.คณะทำงานได้เปิดรับลงทะเบียนเวลา 09.00 น.และผู้รับผิดชอบโครงการได้เชิญหัวหน้าเกษตรอำเภอมาเป็นประธานในพิธีเปิดศูนย์เรียนรู้เกษตรบ้านท้องลานในเวลา 10.00 น.และได้มีการพัฒนาชุมชน ต.ท้องลำเจียกได้มาพบปะกับชาวบ้านชุมชนท้องลำเจียกและเวลา 11.00 น.ได้นิมนต์พระสงฆ์มาทำพิธีสวดพระพุทธมนต์เพื่อเป็นสิริมงคลกับโรงเรียนและชาวบ้านชุมชนบ้านท้องลานและเวลา 13.00 น.ชาวบ้านได้ร่วมรับประทานอาหารเที่ยงพร้อมกัน ณ โรเรียนบ้านท้องลาน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สมาชิกและคณะกรรมการได้มาเตรียมความพร้อมในเวลา 07.00 น. และชมชนใกล้เคียงได้มาพร้อมกันในเวลา 08.30 น.คณะทำงานได้เปิดรับลงทะเบียนเวลา 09.00 น.และผู้รับผิดชอบโครงการได้เชิญหัวหน้าเกษตรอำเภอมาเป็นประธานในพิธีเปิดศูนย์เรียนรู้เกษตรบ้านท้องลานในเวลา 10.00 น.และได้มีการพัฒนาชุมชน ต.ท้องลำเจียกได้มาพบปะกับชาวบ้านชุมชนท้องลำเจียกและเวลา 11.00 น.ได้นิมนต์พระสงฆ์มาทำพิธีสวดพระพุทธมนต์เพื่อเป็นสิริมงคลกับโรงเรียนและชาวบ้านชุมชนบ้านท้องลานและเวลา 13.00 น.ชาวบ้านได้ร่วมรับประทานอาหารเที่ยงพร้อมกัน ณ โรเรียนบ้านท้องลานสมาชิกและชุมชนใกล้เคียงได้มีคาวมสุขที่ได้มาร่วมทำกิจกรรมในวันนี้ และผู้รับผิดชอบโครงการชี้แจงถึงสภาพโรงเรียนร้างที่เปลี่ยนไป ซึ่งเป็นผลจากการร่วมทำกิจกรรมกับทาง สสส.ดังนี้ 1.โรงเรียนร้างได้รับการซ่อมแซมบันไดใหม่ 2.โรงเรียนร้างได้เปลี่ยนพื้นกระดานใหม่บางส่วนที่ชำรุด 3. โรงเรียนร้างได้ซ่อมห้องนำ้ใหม่ 4.โรงเรียนร้างได้รับการทาสีใหม่ 5.โรงเรียนร้างได้มีกระติกนำ้ร้อนใหม่เพื่อใช้ประจำที่โรงเรียน 6.โรงเรียนร้างได้เดินสายไฟภายในอาคารใหม่ ซึ่งสิ่งเหล่านี้เกิดจากพวกเราทั้งหมดที่เสียสละทั้งแรงกายและแรงจัย จนเป็นโรงเรียร้างที่มีชีวิต

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 100 คน จากที่ตั้งไว้ 100 คน
ประกอบด้วย

คณะกรรมการโครงการสามาชิกและเยาวชนประชาชนในหมู่บ้านและใกล้เคียง

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นาย สุธรรมแก้วประดิษฐ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

จัดเวทีเสวนา สรุปผลการดำเนินงานเวทีถอดบทเรียน19 กันยายน 2016
19
กันยายน 2016รายงานจากพื้นที่ โดย มานพ เขียวทอง
circle
วัตถุประสงค์

สรุปผลการดำเนินงานเวทีถอดบทเรียน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เวลา 09.00 น.สมาชิกลงทะเบียนเพื่อเข้าร่วมกิจกรรมและเวลา 10.00 น.ได้มีวิทยากรมาสรุปทั้ง5ฐานที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่ได้ทำกิจกรรมไปแล้วนั้นว่าสมาชิกไดความรูู้อะไรบ้างแล้วให้สมาชิกออกมาถาม-ตอบกันหน้าเวที เสร็จกิจกรรมสมาชิกร่วมกันรับประทานอาหารเที่ยงพร้อมกัน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เวลา 09.00 น.สมาชิกลงทะเบียนเพื่อเข้าร่วมกิจกรรมและเวลา 10.00 น.ได้มีวิทยากรมาสรุปทั้ง5ฐานและกิจกรรมที่ได้ทำทั้งหมดที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่ได้ทำกิจกรรมไปแล้วนั้นว่าสมาชิกไดความรูู้อะไรบ้างแล้วให้สมาชิกออกมาถาม-ตอบกันหน้าเวที เสร็จกิจกรรมสมาชิกร่วมกันรับประทานอาหารเที่ยงพร้อมกัน

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 60 คน จากที่ตั้งไว้ 60 คน
ประกอบด้วย

คณะกรรมการโครงการสมาชิกและเยาวชน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

จัดเวทีเสวนา สรุปผลการดำเนินงานเวทีถอดบทเรียน19 กันยายน 2016
19
กันยายน 2016รายงานจากพี่เลี้ยง โดย sutham
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อรวบรวม กิจกรรมที่ทำและถอดบทเรียน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ผู้เข้าร่วมโครงการและภาคีเครือข่ายจาก อบต .ท้องลำเจียก และจนท. รพ.สต.ท้องลำเจียกลงทะเบียน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการกล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมกิจกรรมทุกท่านและชี้แจงกิจกรรมที่ต้องทำในวันนี้ เป็นกิจกรรมการถอดบทเรียนซึ่งมีพี่เลี้ยงโครงการ นาย สุธรรมแก้วประดิษฐ์มาร่วมกิจกรรมและดำเนินการถอดบทเรียน พี่เลี้ยงโครงการทบทวนกิจกรรมที่ทำมา1ปีว่ามีกิจกรรมที่ร่วมกันทำดังนี้1.ประชุมสภาผู้นำจำนวน 15 คน เพื่อจัดเวทีชี้แจงการดำเนินโครงการ(จำนวน 12 ครั้ง) และการวางแผนการปฎิบัติงาน 2.ประชุมสภาผู้นำเพื่อเตรียมเปิดตัวโครงการ 3.จัดเวทีระดมสมองเรื่องการฟื้นโรงเรียนร้าง สร้างสุขด้วยเกษตรอินทรีย์ 4.สร้างฐานเรียนรู้ที่ 1 (1ไร่ 1 แสนแบบเกษตรอินทรีย์) 5.ร่วมแรงร่วมกัน สร้างฐานเรียนรู้ที่ 2 การเลี้ยงสัตว์ 6.สร้างฐานผักลดโรคในฐานเรียนรู้ที่ 3การปลูกผักปลอดสารพิษ 7.จัดตั้งกองทุนเกษตรอินทรีย์เพื่อสนับสนุนพันธ์ข้าวพันธ์ผักและพันธ์สัตย์แก่เกษตรกรที่ขาดต้นทุน 8.สร้างฐานเรียนรู้ที่4 เป็นฐานการเรียนรู้การทำปุ๋ยหมัก น้ำหมักชีวภาพ และสารไล่แมลง 9.แลกเปลี่ยนเรียนรู้ต่อยอดกลุ่มทำน้ำเคยปลา 10.ลงพื้นที่ประเมินกิจกรรมของสมาชิกจำนวน 6ครั้ง 11.สร้างฐานเรียนรู้ที่5 เป็นฐานการเรียนรู้การทำบัญชีครัวเรือน 12.จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในแต่ละฐานฐาน1ไร่1แสน(ครั้งที่1) 13.จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ฐานปลูกผักลดโรค(ครั้งที่2) 14.จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ฐานน้ำหมักชีวภาพ(ครั้งที่3) 15.จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในแต่ละฐาน ฐานการทำบัญชีครัวเรือน(ครั้งที่4) 16..จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในแต่ละฐาน ฐานการเลี้ยงสัตว์(ครั้งที่5) 17.ลงพื้นที่ประเมินกิจกรรมเกษตรอินทรีย์จำนวน18.เปิดโรงเรียนบ้านท้องลานศูนย์เรียนรู้เกษตรอินทรีย์ 19.จัดทำรายงานสรุปโครงการรายงวด รายปี ฉบับสมบูรณ์ พี่เลี้ยงโครงให้ผู้รับผิดชอบโครงการเล่าถึงที่ไปที่มาของโครงการตั้งแต่เริ่มต้นของการขอรับงบประมาณและตั้งคำคำถามแก่ผู้เข้าร่วมโครงการสิ่งที่ได้รับในการเข้าร่วมโครงการซึ่งได้คำตอบพอสรุปได้ดังนี้โรงเรียนที่เคยร้างกลับมีชีวิตมีกิจกรรมให้ทำอยู่บ่อยครั้งจากงบประมาณที่ได้รับจาก สสส.การพบปะมีบ่อยครั้งและทุกครั้งจะมีการพัฒนาควบคู่ไปด้วย ภายในอาคารโรงเรียนร้างได้รับการต่อและเดินสายไฟใหม่ ห้องน้ำที่ทรุดโทรมกลับได้รับการซ่อมแซมจนใช้งานได้ ตัวอาคารที่ไม้กระดานผุก็ได้รับการซ่อม สีอาคารเรียนก็ได้มีการทาใหม่สดใสสวยงาม และมีกระติกน้ำร้อนใหม่ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นผลพวงมาจากการทำกิจกรรม สสส.ซึ่งบางคนบริจาคเงินให้ และบางส่วนร่วมกันลงขันปรับปรุง สมาชิกมีความรู้เรื่องการทำน้ำหมักและสารไล่แมลงหลังจากเรียนรู้และนำไปปฏิบัติใช้ยอมรับว่าได้ผลดี และช่วยลดต้นทุนในการผลิตภาคเกษตรและสามารถผลิตป๋ยหมักใช้เองได้ ส่วนเรื่องการทำบัญชีครัวเรือนพบว่าส่วนใหญ่ทำแต่ทำแบบไม่ตลอดที่ทำอยู่เป็นประจำมีประมาณ15 คนส่วนเรื่องการปลูผักปลอดสารพิษเอาไว้กินเองที่ครัวเรือนมีประมาณ85% ส่วนใหญ่ปลูกไว้กินเองและแบ่งปันกันกิน การเลี้ยงสัตย์ในชุมชนยังเป็นแบบเดิมไม่ได้มีการเลี้ยงในลักษณะของฟาร์มแต่ส่วนหนึ่งผู้เข้าร่วมโครงการมองเห็นคุณค่าในที่นาที่ตนมีอยู่ในเรื่องของ1ไร่1แสนถ้าเราสามารถบริหารจัดการได้ดังที่ได้เรียนรู้มา อยากเห็นชุมชนมีสินค้าชุมชนที่เป็นเคยปลา หลังจากร่วมงานกับ สสส.กลุ่มทำเคยปลาได้รับงบประมาณสนับสนุนเสริมจากองทุนฟื้ฟูในเรื่งของการผลิตและบรรจุ อยากเห็นคนในชุมชนมีความรักสามัคคีกัน อยากเห็นคนในชุมชนมีอาชีพเสริม อยากเห็นคนในชุมชนมีอาชีพและรายมีรายได้เสริมมีรายได้เพิ่มขึ้น ลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน สามารถทำบัญชีครัวเรือนได้ได้เรียนรู้เรื่องกองทุนและสวัสดิการ ได้ทำบัญชีครัวเรือนเป็น เรียนรู้เรื่องการทำบัญชีครัวเรือน อยากเห็นการรวมกลุ่มกันในชุมชน อยากมีเงินทุนหมุนเวียนเข้ามาต่อยอดในชุมชนข้อเสนอแนะเรื่องการโอนเงินให้ตรงตามเวลา ทุกคนอยากมีการต่อยอดในปีที่2 18.เปิดโรงเรียนบ้านท้องลานศูนย์เรียนรู้เกษตรอินทรีย์ 19.จัดทำรายงานสรุปโครงการรายงวด รายปี ฉบับสมบูรณ์ 21.จัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 60 คน จากที่ตั้งไว้ 60 คน
ประกอบด้วย

ผู้เข้าร่วมโครงการและภาคีเครือข่าย

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ลงพื้นที่ประเมินกิจกรรมเกษตรอินทรีย ครั้งที่ 2.117 กันยายน 2016
17
กันยายน 2016รายงานจากพื้นที่ โดย มานพ เขียวทอง
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อลงพื้นที่ประเมินระหว่างดำเนินกิจกรรมเกษตรอินทรีย์

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ลงพื้นที่ของนางมณฑา เนียมสุ้น และนางวรรณี ฉิมเมือง นางโสภา ประแจ และนางเตี้ยง รักสง ของนางมณฑา เนียมสุ้น ได้ปลูกพืชผักสวนครัว ของนางวรรณี ฉิมเมือง ไดีปลูกข้าวโพดไว้จำหน่าย ของนางโสภา ประแจ ได้ทำไร่นาสวนผสม ของนางเตี้ยง รักสง ได้ทำไร่นาสวนผสม

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ลงพื้นที่ของนางโสภา ประแจ นางเตี้ยง รักสง นางนณฑา เนียมสุ้น และนางวรรณี ฉิมเมือง

ของนางโสภา ประแจ ได้ทำไร่นาสวนผสม ถั่วฝักยาว พริก มะพร้าว มะละกอ ข้าวโพด แตงกวา ฝักเขียว กล้วย ตะไคร้ มะเขือและมีปลานิลกับปลาตะเพียร

ของนางเตี้ยง รักสง ได้ทำไร่นาสวนผสม ภายในสวนมี กล้วย มะพร้าว มะนาว พริก ตะไคร้ มะละกอ ปาล์มน้ำมันและเลี้ยงกบ

ของนางมณฑา เนียมสุ้น ได้ปลูกพืชผักสวนครัวภายในครัวเรือนและจำหน่าย ผักกาด ผักคะน้า ถั่วฝักยาว ตะไคร้ มะละกอ

ของนางวรรณี ฉิมเมือง ได้ปลูกข้าวโพดไว้จำหน่าย

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 60 คน จากที่ตั้งไว้ 60 คน
ประกอบด้วย

คณะกรรมการและสามาชิกผู้ร่วมโครงการและเด็กเยาวชน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นาย สุธรรมแก้วประดิษฐ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ลงพื้นที่ประเมินกิจกรรมเกษตรอินทรีย์จำนวน 2ครั้ง10 กันยายน 2016
10
กันยายน 2016รายงานจากพื้นที่ โดย มานพ เขียวทอง
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อลงพื้นที่ประเมินระหว่างดำเนินกิจกรรมเกษตรอินทรีย์

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ลงพื้นที่ของนางกุหลาบ แก้วเหมือน นางประทีป หมื่นนุสิทธิ์ นางวารุณี สุกเงิน และนางสาคร จันทร์เขียว ของนางกุหลาบ แก้วเหมือน ได้ปลูกพืชผักสวนครัวและมีการเลี้ยงปลาผสมผสานกัน ของนางประทีป หมื่นนุสิทธิ์ ไดีมีพืชผักสวนครัวไว้กินเอง ของนางวารุณี สุกเงิน ได้ปลูกพืชผักสวนครัว ของนางสาคร จันทร์เขียว ไดีมีพืชผักสวนครัวไว้กินเอง


circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ของนางวารุณี สุกเงิน ได้ปลูกพืชผักสวนครัว ภายในสวนมีบวบ  มะระ มะเขือ ถั่วฝักยาว พริก มะละกอ ตะไคร้ มะพร้าว

ของนางสาคร จันทร์เขียว ไดีมีพืชผักสวนครัวไว้กินเอง ภายในสวนพริก มะเขือ ถั่วฝักยาว มะละกอ ตะไคร้

ของนางกุหลาบ  แก้วเหมือน ได้ปลูกพืชผักสวนครัวและเลี้ยงปลาใว้กินในครัวเรือนและจำหน่าย มะละกอ พริก ตะใคร้ มะเขือ มะพร้าว และปลานิล
ของนางประทีบ  หมื่นนุสิทธิ์ ได้ปลูกพืชผักสวนครัวใว้กินในครัวเรือนและจำหน่าย พริก มะละกอ มะพร้าว มะเขือ ตะใคร้ และปาล์มน้ำมัน

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 60 คน จากที่ตั้งไว้ 60 คน
ประกอบด้วย

คณะกรรมการและสมาชิกผู้เข้าร่วมกิจกรรมและกลุ่มเด็กเยาวชน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นาย สุธรรมแก้วประดิษฐ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ประชุมสภาผู้นำเพื่อเตรียมความพร้อมการจัดกิจกรรมเปิดศูนย์เรียนรู้เกษตรอินทรีย์บ้านท้องลาน (ครั้งที่12)5 กันยายน 2016
5
กันยายน 2016รายงานจากพื้นที่ โดย มานพ เขียวทอง
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อเตรียมความพร้อมในการจัดกิจกรรมเปิดศูนย์เรียนรู้เกษตรอินทรีย์บ้านท้องลาน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ผู้รับผิดชอบโครงการได้ประชาสัมพันธ์ เรียกคณะกรรมการและสภาผู้นำมาประชุมเพื่อเตรียมความพร้อมจัดกิจกรรมถอดบทเรียนและเปิดศูนย์เรียนเกษตรอินทรีย์บ้านท้องลานโดยคณะกรรมการได้มาพร้อมกันในที่ประชุม ณ โรงเรียนบ้านท้องลาน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการได้ประชาสัมพันธ์ เรียกคณะกรรมการและสภาผู้นำมาประชุมเพื่อเตรียมความพร้อมและวางแผนในการจัดกิจกรรมถอดบทเรียนและเปิดศูนย์เรียนเกษตรอินทรีย์บ้านท้องลานว่าจะดำเนินการอย่างไร และจัดงานเปิดศูนย์เรียนรู้เกษตรอินทรีย์บ้านท้องลานในรูปแบบใดและคณะกรรมการได้แสดงความคิดเห็นกันอย่างเต็มที่โดยคณะกรรมการได้มาพร้อมกันในที่ประชุม ณ โรงเรียนบ้านท้องลาน

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 15 คน จากที่ตั้งไว้ 15 คน
ประกอบด้วย

สภาผู้นำ

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
สุธรรมแก้วประดิษฐ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ประชุมร่วมกับ สจรส.มอ.ตรวจการเงินงวดที่2(ครั้งที่1)3 กันยายน 2016
3
กันยายน 2016รายงานจากพื้นที่ โดย มานพ เขียวทอง
circle
วัตถุประสงค์

ประชุมร่วมสจมส.มอ.เกี่ยวกับเอกสาร

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

รับฟังแนวทางและรายละเอียดเกี่ยวกับเอกสารจากเจ้าหน้าที่ และเจ้าหน้าที่จาก สจรส.มอ.มาตรวจเอกสาร

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เจ้าหน้าที่จาก สจรส.มอ.มาตรวจเอกสารว่าถูกต้องหรือไม่ต้องแก้ไขอย่างไร

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

ผู้รับผิดชอบโครงการและเจ้าหน้าที่computer

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นาย สุธรรมแก้วประดิษฐ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

9.จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในแต่ละฐาน ฐานการเลี้ยงสัตว์(ครั้งที่5)1 กันยายน 2016
1
กันยายน 2016รายงานจากพื้นที่ โดย มานพ เขียวทอง
circle
วัตถุประสงค์

การเลี้ยงสัตว์แบบเกษตรอินทรีย์

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

การสอนเลี้ยงสัตว์แบบปลอดสารให้เลี้ยงแบบเกษตรอินทรีย์

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เลี้ยงสัตว์แบบเกษตรอินทรีย์และลดต้นทุน อย่างเช่นให้ทำวัสถุดิบที่หายได้จากครัวเรือนทำมาให้สัตว์ที่เราเลี้ยง อย่างเช่นหยวกกล้วยมาสับให้ละเอียดและหมักให้สัตว์ที่เราเลี้ยงกินจะประหยัดต้นทุนในการชื้ออาหาร

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 60 คน จากที่ตั้งไว้ 60 คน
ประกอบด้วย

คณะกรรมการโครงการรสามาชิกและเยาวชน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายสุธรรมแก้วประดิษฐ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

9.จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในแต่ละฐาน ฐานการทำบัญชีครัวเรือน(ครั้งที่4)30 สิงหาคม 2016
30
สิงหาคม 2016รายงานจากพื้นที่ โดย sutham
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในแต่ละฐานและพัฒนาอาชีพอย่างต่อเนื่อง

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เวลา 09.00 น. เริ่มลงทะเบียน เวลา  09.30 น. วิทยากรเริ่มเข้ากิจกกรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยให้สมาชิกถามคำถามที่อยากรู้ และตอบคำถามความสำเร็จและปัญหาระหว่างที่ทำกิจกรรมที่ผ่านมาดังนั้นเมื่อสมาชิกได้รับความรู้ ปัญหาหรือความสำเร็จจากวิทยากรแล้ว วิทยากรได้ให้ความรู้เพิ่มเติมให้กับสมาชิก สมาชิกทุกกคนได้รับความรู้เป็นอย่างมากและสามารถนำไปปรับใช้กับชีวิตประจำวันของตนเองอีกด้วย และ ได้รับประทานอาหารเที่ยงพร้อมกับอย่างมีความสุขและเรื่มกิจกรรมต่อในช่วงบ่าย

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เวลา 09.00 น. เริ่มลงทะเบียน เวลา09.30 น. วิทยากรเริ่มเข้ากิจกกรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยให้สมาชิกถามคำถามที่อยากรู้ และตอบคำถามความสำเร็จและปัญหาระหว่างที่ทำกิจกรรมที่ผ่านมา และทุกคนได้รับความรู้เรื่องการทำบัญชีครัวเรือน รายจ่ายที่จำเป็นและรายจ่ายที่ไม่จำเป็น จดทุกอย่างที่ซี้อ ความสำคัญของการออม ดังนั้นเมื่อสมาชิกได้รับความรู้ ปัญหาหรือความสำเร็จจากวิทยากรแล้วสมาชิก ดังนั้นเมื่อสมาชิกได้รับความรู้ ปัญหาหรือความสำเร็จจากวิทยากรแล้ว วิทยากรได้ให้ความรู้เพิ่มเติมให้กับสมาชิก สมาชิกทุกกคนได้รับความรู้เป็นอย่างมากและสามารถนำไปปรับใช้กับชีวิตประจำวันของตนเองอีกด้วย และ ได้รับประทานอาหารเที่ยงพร้อมกับอย่างมีความสุขและเรื่มกิจกรรมต่อในช่วงบ่าย

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 60 คน จากที่ตั้งไว้ 60 คน
ประกอบด้วย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นาย สุธรรมแก้วประดิษฐ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

9.จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ฐานน้ำหมักชีวภาพ(ครั้งที่3)29 สิงหาคม 2016
29
สิงหาคม 2016รายงานจากพื้นที่ โดย sutham
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในแต่ละฐานและพัฒนาอาชีพอย่างต่อเนื่อง

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เวลา 09.00 น. เริ่มลงทะเบียน เวลา  09.30 น. วิทยากรเริ่มเข้ากิจกกรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยให้สมาชิกถามคำถามที่อยากรู้ และตอบคำถามความสำเร็จและปัญหาระหว่างที่ทำกิจกรรมที่ผ่านมาดังนั้นเมื่อสมาชิกได้รับความรู้ ปัญหาหรือความสำเร็จจากวิทยากรแล้ว วิทยากรได้ให้ความรู้เพิ่มเติมให้กับสมาชิก สมาชิกทุกกคนได้รับความรู้เป็นอย่างมากและสามารถนำไปปรับใช้กับชีวิตประจำวันของตนเองอีกด้วย และ ได้รับประทานอาหารเที่ยงพร้อมกับอย่างมีความสุขและเริ่มกิจกรรมต่อในช่วงบ่าย

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เวลา 09.00 น. เริ่มลงทะเบียน เวลา09.30 น. วิทยากรเริ่มเข้ากิจกกรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยให้สมาชิกถามคำถามที่อยากรู้ และตอบคำถามความสำเร็จและปัญหาระหว่างที่ทำกิจกรรมที่ผ่านมา และทุกคนได้รับความรู้เรื่องการทำน้ำหมักชีวภาพและสารไล่แมลงน้ำหมักชีวภาพสามารถใช้ในการการปลูกผักหรือการเลี้ยงสัตว์ไม่ว่าจะเป็นการเลี้ยงปลาดังนั้นเมื่อสมาชิกได้รับความรู้ ปัญหาหรือความสำเร็จจากวิทยากรแล้วสมาชิกได้รู้ถึงวิธีการไล่แมลงที่ไม่ใช้สารเคมี เป็นต้น ดังนั้นเมื่อสมาชิกได้รับความรู้ ปัญหาหรือความสำเร็จจากวิทยากรแล้ว วิทยากรได้ให้ความรู้เพิ่มเติมให้กับสมาชิก สมาชิกทุกกคนได้รับความรู้เป็นอย่างมากและสามารถนำไปปรับใช้กับชีวิตประจำวันของตนเองอีกด้วย และ ได้รับประทานอาหารเที่ยงพร้อมกับอย่างมีความสุขและเรื่มกิจกรรมต่อในช่วงบ่าย

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 60 คน จากที่ตั้งไว้ 60 คน
ประกอบด้วย

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นาย สุธรรมแก้วประดิษฐ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

9.จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ฐานปลูกผักลดโรค(ครั้งที่2)28 สิงหาคม 2016
28
สิงหาคม 2016รายงานจากพื้นที่ โดย มานพ เขียวทอง
circle
วัตถุประสงค์

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ปลูกผักลดโรค

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

การปลูกผักปลอดสารพิษห้ามใช้สารเคมี ให้หันมาทำแบบเกษตรอินทรีย์ลดเลิกสารเคมี

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เวลา 09.00 น. เริ่มลงทะเบียน เวลา09.30 น. วิทยากรเริ่มเข้ากิจกกรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยให้สมาชิกถามคำถามที่อยากรู้ และตอบคำถามความสำเร็จและปัญหาระหว่างที่ทำกิจกรรมที่ผ่านมา และทุกคนได้รับความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษ และเห็นคุณค่าของผักปลอดสารพิษ ช่วยลดโรค รักษาสุขภาพ การปลูกผักและการเลี้ยงสัตย์ สามารถกระทำทั้งสองเรื่องในการเลี้ยงและปลูกที่ปราศจากสารพิษ ดังนั้นเมื่อสมาชิกได้รับความรู้ ปัญหาหรือความสำเร็จจากวิทยากรแล้วสมาชิกได้รู้ถึงวิธีการไล่แมลงที่ไม่ใช้สารเคมี เป็นต้น ดังนั้นเมื่อสมาชิกได้รับความรู้ ปัญหาหรือความสำเร็จจากวิทยากรแล้ว วิทยากรได้ให้ความรู้เพิ่มเติมให้กับสมาชิก สมาชิกทุกกคนได้รับความรู้เป็นอย่างมากและสามารถนำไปปรับใช้กับชีวิตประจำวันของตนเองอีกด้วย และ ได้รับประทานอาหารเที่ยงพร้อมกับอย่างมีความสุขและเรื่มกิจกรรมต่อในช่วงบ่าย

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 60 คน จากที่ตั้งไว้ 60 คน
ประกอบด้วย

คณะกรรมการโครการสามาชิกและเยาวชน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นาย สุธรรมแก้วประดิษฐ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในแต่ละฐาน ฐาน1ไร่1แสน(ครั้งที่1)26 สิงหาคม 2016
26
สิงหาคม 2016รายงานจากพื้นที่ โดย มานพ เขียวทอง
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในแต่ละฐานและพัฒนาอาชีพอย่างต่อเนื่อง

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เวลา 09.00 น. เริ่มลงทะเบียน เวลา09.30 น. วิทยากรเริ่มเข้ากิจกกรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยให้สมาชิกถามคำถามที่อยากรู้ และตอบคำถามความสำเร็จและปัญหาระหว่างที่ทำกิจกรรมที่ผ่านมาดังนั้นเมื่อสมาชิกได้รับความรู้ ปัญหาหรือความสำเร็จจากวิทยากรแล้ว วิทยากรได้ให้ความรู้เพิ่มเติมให้กับสมาชิก สมาชิกทุกกคนได้รับความรู้เป็นอย่างมากและสามารถนำไปปรับใช้กับชีวิตประจำวันของตนเองอีกด้วย และ ได้รับประทานอาหารเที่ยงพร้อมกับอย่างมีความสุขและเรื่มกิจกรรมต่อในช่วงบ่าย

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เวลา 09.00 น. เริ่มลงทะเบียน เวลา09.30 น. วิทยากรเริ่มเข้ากิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยให้สมาชิกถามคำถามที่อยากรู้ และตอบคำถามความสำเร็จและปัญหาระหว่างที่ทำกิจกรรมที่ผ่านมา และทุกคนได้รับความรู้เรื่องการทำนา1ไร่1แสน ว่าพื้นที่นาเพียง1ไร่สามารถทำกิจกรรมได้หลายอย่างเช่นการปลูกผักหรือการเลี้ยงสัตว์ไม่ว่าจะเป็นการเลี้ยงปลาซึ่งจะต้องอาศัยการจัดสรรพื้นที่และใช้พื้นที่อย่างคุ้มค่าดังนั้นเมื่อสมาชิกได้รับความรู้ ปัญหาหรือความสำเร็จจากวิทยากรแล้วสมาชิกได้รู้ถึงวิธีการปลูกผักอีกรูปแบบหนึ่งที่ยังไม่เคยรู้มาก่อน รู้วิธีการไล่แมลงที่ไม่ใช้สารเคมี เป็นต้น ดังนั้นเมื่อสมาชิกได้รับความรู้ ปัญหาหรือความสำเร็จจากวิทยากรแล้ว วิทยากรได้ให้ความรู้เพิ่มเติมให้กับสมาชิก สมาชิกทุกกคนได้รับความรู้เป็นอย่างมากและสามารถนำไปปรับใช้กับชีวิตประจำวันของตนเองอีกด้วย และ ได้รับประทานอาหารเที่ยงพร้อมกับอย่างมีความสุขและเรื่มกิจกรรมต่อในช่วงบ่าย

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 60 คน จากที่ตั้งไว้ 60 คน
ประกอบด้วย

สมาชิกและเยาวชนจำนวน 60 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นาย สุธรรมแก้วประดิษฐ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ประชุมสภาผู้นำเตรียมความพร้อมเพื่อจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในแต่ละฐานและพัฒนาโครงงานอาชีพอย่างต่อเนื่อง ( ครั้งที่10)20 สิงหาคม 2016
20
สิงหาคม 2016รายงานจากพื้นที่ โดย มานพ เขียวทอง
circle
วัตถุประสงค์

มีคณะกรรมการผู้นำเกิดขึ้นในชุมชนขับเคลื่อนสู่ชุมชนเข้มแข็ง

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ผู้รับผิดชอบโครงการได้ประชาสัมพันธ์ เรียกคณะกรรมการและสภาผู้นำมาประชุมเพื่อเตรียมความพร้อมจัดกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในแต่ละฐานและพัฒนาโครงงานอาชีพอย่างต่อเนื่องดดยคณะกรรมการได้มาพร้อมกันในที่ประชุม ณ ที่ทำการผู้ใหญ่บ้าน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการได้ประชาสัมพันธ์ เรียกคณะกรรมการและสภาผู้นำมาประชุมเพื่อเตรียมความพร้อมจัดกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในแต่ละฐานและพัฒนาโครงงานอาชีพอย่างต่อเนื่องดดยคณะกรรมการได้มาพร้อมกันในที่ประชุม ณ ที่ทำการผู้ใหญ่บ้าน โดยคณะกรรมการได้ช่วยกันวางแผนในการทำงาน โดยคณะกรรมการให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี และผู้รับผิดชอบโครงการแจ้งว่าตอนนี้ทางกลุ่มเคยปลาได้รับงบประมาณ จากกองทุนฟื้นฟู จำนวน 30000บาท เพื่อต่อยอดให้ทางกลุ่มเป็นงบประมาณที่ให้เปล่า

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 15 คน จากที่ตั้งไว้ 15 คน
ประกอบด้วย

สภาผู้นำ 15 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นาย สุธรรมแก้วประดิษฐ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

สร้างฐานเรียนรู้ที่5 เป็นฐานการเรียนรู้การทำบัญชีครัวเรือน11 สิงหาคม 2016
11
สิงหาคม 2016รายงานจากพื้นที่ โดย มานพ เขียวทอง
circle
วัตถุประสงค์

เพื่ิอให้สมาชิกผู้เข้าร่วมโครงการรู้จักการทำบัญชีครัวเรือน รายรับ-รายจ่ายในแต่ละวันและเพื่อไม่ให้เกิดหนี้สินในครอบครัวและอยุ่แบบเศรษฐกิจพอเพียงตามรอยในหลวง

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เวลา 09.00 สมาชิกทุกคนมาพร้อมกัน ณ โรงเรียนบ้านท้องลาน เวลา 09.15 สมาชิกร่วมลงทะเบียน เวลา 09.30 ผู้รับผิดชอบโครงการกล่าวต้อนรับมสาชิดทุกคน พร้อมชี้เจงราละเอียดต่างๆเกี่ยวกับกิจกรรมการทำบัญชีครัวเรือน เวลา 10.00 วิทยากรบรรยายขั้นตอนการทำบัญชีครัวเรือน และได้ให้สมาชิกทุกคนลงมือทำบัญชีครัวเรือนด้วยตนเอง เวลา 11.30-12.00 สมาชิกทุกคนร่วมรับประทานอาหารเที่ยงพ้อมกัน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เวลา 09.00 สมาชิกทุกคนมาพร้อมกัน ณ โรงเรียนบ้านท้องลาน เวลา 09.15 สมาชิกร่วมลงทะเบียน เวลา 09.30 ผู้รับผิดชอบโครงการกล่าวต้อนรับมสาชิดทุกคน พร้อมชี้เจงราละเอียดต่างๆเกี่ยวกับกิจกรรมการทำบัญชีครัวเรือน เวลา 10.00 วิทยากรบรรยายขั้นตอนการทำบัญชีครัวเรือน และได้ให้สมาชิกทุกคนลงมือทำบัญชีครัวเรือนด้วยตนเอง เวลา 11.30-12.00 สมาชิกทุกคนร่วมรับประทานอาหารเที่ยงพ้อมกัน สมาชิกทุกคนได้รับความรู้เกี่ยวกับการทำบัญชีครัวเรือน ได้รู้วิธีการจัดการกับรายรับที่เราได้รับมา ได้รู้รายจ่ายของแต่ละวันว่าเราได้จ่ายอะไรไปบ้าง

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 15 คน จากที่ตั้งไว้ 15 คน
ประกอบด้วย

สมาชิกในกลุ่มบัญชีครัวเรือน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นาย สุธรรมแก้วประดิษฐ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ประชุมสภาผู้นำเพื่อเตรียมความพร้อมในการสร้างฐานการเรียนรู้การทำบํญชีครัวเรือน ( ครั้งที่9)4 สิงหาคม 2016
4
สิงหาคม 2016รายงานจากพื้นที่ โดย มานพ เขียวทอง
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อเตรียนมความพร้อมของคณะกรรมการในการสร้างฐานเรียนรู้การทำบัญชีครัวเรือน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ผู้รับผิดชอบโครงการได้ประชาสัมพันธ์หอกระจายข่าวเรียกคณะกรรมการและสภาผู้นำมาประชุมเพื่อทำกิจกรรมสร้างฐานเรียนรู้การทำบัญชีครัวเรือนโดยคระกรรมการได้มาพร้อมกันในที่ประชุม ณ โรงเรียนบ้านท้องลาน โดยมีพี่เลี้ยงเข้าร่วมประชุมด้วย

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการได้ประชาสัมพันธ์หอกระจายข่าวเรียกคณะกรรมการและสภาผู้นำมาประชุมเพื่อทำกิจกรรมสร้างฐานเรียนรู้การทำบัญชีครัวเรือนโดยคระกรรมการได้มาพร้อมกันในที่ประชุม ณ โรงเรียนบ้านท้องลาน โดยมีพี่เลี้ยงเข้าร่วมประชุมด้วยพี่เลี้ยงโครงการพบปะ พูดคุย ซักถาม ปัญหาจากการทำงานที่ผ่านมาในงวดที่1 และชี้แจงรายละเอียดกิจกรรมที่จะต้องดำเนินต่อไปในงวดที่ 2 มี ดังนี้

1.ประชุมสภาผู้นำจำนวน 3 ครั้ง
2. สร้างฐานเรียนรู้ที่5 เป็นฐานการเรียนรู้การทำบัญชีครัวเรือนลงพื้นที่ประเมินกิจกรรมเกษตรอินทรีย์ ครั้งที่ 2
กิจกรรมที่ 3จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในแต่ละฐาน และพัฒนาโครงงานอาชีพ ต่อเนื่อง
4. ลงพื้นที่ประเมินกิจกรรมเกษตรอินทรีย์ ครั้งที่ 2 เพื่อรวบรวมข้อมูลผลลัพธ์
5. กิจกรรมการจัดทำรายงานหลังจากปิดงวดโครงการ
6. จัดเวทีเสวนา สรุปผลการดำเนินงานเวทีถอดบทเรียน 7. เปิดโรงเรียนบ้านท้องลานศูนย์เรียนรู้เกษตรอินทรี 8. จัดทำรายงานสรุปโครงการรายงวด รายปี ฉบับสมบูรณ์ 9. ร่วมงานคนใสร้างสุข วันที่ 3-5 ตุลาคม 2559 10. จัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์ ซึ่งทุกกิจกรรมให้สภาผู้นำรีบดำเนินการให้แล้วเสร็จ ทุกคนยินดีและรับดำเนินการต่อไป ทางคณะกรรมการ ผู้รับผิดชอบโครงการและพี่เลี้ยงได้ช่วยกันวางแผนงานในการทำบัญชีครัวเรือนโดยคณะกรรมการได้ให้ความร่วมมือได้โดยดี

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 15 คน จากที่ตั้งไว้ 15 คน
ประกอบด้วย

คณะกรรมการจำนวน 15 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นาย สุธรรมแก้วประดิษฐ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ลงพื้นที่ประเมินกิจกรรมของสมาชิก ครั้งที่ 1.630 กรกฎาคม 2016
30
กรกฎาคม 2016รายงานจากพื้นที่ โดย มานพ เขียวทอง
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อลงพื้นที่ประเมินผลผลิตปศุสัตว์ของสมาชิก

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ลงพื้นที่ของนางสุภาภรณ์ หนูเล็กและนายทนง ดิษฐรักษ์ ของนางสุภาภรณ์ หนูเล็ก ได้เลี้ยงสัตว์ ของนายทนง ดิษฐรักษ์ ได้เลี้ยงสัตว์

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ลงพื้นที่ของนางสุภาภรณ์ หนูเล็กและนายทนง ดิษฐรักษ์ ของนางสุภาภรณ์ หนูเล็ก ได้เลี้ยงวัว ของนายทนง ดิษฐรักษ์ ได้เลี้ยงไก่สามสายพันธ์ุ จาการลงพื้นที่ พบว่า กลุุ่มที่เลี้ยงวัวเมื่อก่อนวัวเป็นโรคผิวหนังจะซื้อยาจากในตลาดมาให้กิน หรือใช้ทิงเจอร์ไอโอดีนทา จะไม่ค่อยได้ผล แต่ลองเอาน้ำมันเครื่องเก่ามาผสมกับการบูร์ กำมะถันจะทำให้หายได้เร็วกว่าและไม่มีแผลเป็น

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 20 คน จากที่ตั้งไว้ 60 คน
ประกอบด้วย

คณะกรรมการและสมาชิก

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นาย สุธรรมแก้วประดิษฐ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ลงพื้นที่ประเมินกิจกรรมของสมาชิก ครั้งที่ 1.526 กรกฎาคม 2016
26
กรกฎาคม 2016รายงานจากพื้นที่ โดย มานพ เขียวทอง
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อลงพื้นที่ประเมินผลผลิตไร่นาสวนผสมของสมาชิก

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ลงพื้นที่ของนางโสภา ประแจ และนางเตี้ยง รักสง ของนางโสภา ประแจ ได้ทำไร่นาสวนผสม ของนางเตี้ยง รักสง ได้ทำไร่นาสวนผสม

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ลงพื้นที่ของนางโสภา ประแจ และนางเตี้ยง รักสง ของนางโสภา ประแจ ได้ทำไร่นาสวนผสม ภายในสวนมี ถั่วฝักยาว พริก มะพร้าว มะละกอ ข้าวโพด แตงกวา ฝักเขียว กล้วย ตะไคร้ มะเขือและมีปลานิลกับปลาตะเพียร ของนางเตี้ยง รักสง ได้ทำไร่นาสวนผสม ภายในสวนมี กล้วย มะพร้าว มะนาว พริก ตะไคร้ มะละกอ ปาล์มน้ำมันและเลี้ยงปลานิล ปลาดุกและเลี้ยงกบ จากการลงพื้นที่พบว่าเกษตรกรที่เลี้ยงปลาตอนที่ลูกปลายังเล็กนั้นจะให้กินไรแดงโดยการทดลองเอาฟางข้าวไปแช่นำ้ไว้ประมาณ5วันก็จะมีตัวไรแดงซึ่งลูกปลาชอบกินมากและลองเทียบเคียงโดยใช้ขี้วัวที่แห้งไปแช่น้ำในจำนวนวันที่เท่ากัน พบว่าขี้วัวแห้งมีไรแดงมากกว่าและหาง่ายกว่า

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 20 คน จากที่ตั้งไว้ 60 คน
ประกอบด้วย

คณะกรรมการและสมาชิก

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นาย สุธรรมแก้วประดิษฐ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ลงพื้นที่ประเมินกิจกรรมของสมาชิก ครั้งที่ 1.422 กรกฎาคม 2016
22
กรกฎาคม 2016รายงานจากพื้นที่ โดย มานพ เขียวทอง
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อลงพื้นที่ประเมินผลผลิตไร่นาสวนผสมของสมาชิก

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ลงพื้นที่ของนายจำเริญ จันทร์ทอง และนางกัลยา คงวัน ของนายจำเริญ จันทร์ทอง ได้ทำน้ำหมักชีวภาพ ของนางกัลยา คงวัน ได้ปลูกผักวสวนครัวและเลี้ยงปลา

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ลงพื้นที่ของนายจำเริญ จันทร์ทอง และนางกัลยา คงวัน ของนายจำเริญ จันทร์ทอง ได้ทำน้ำหมักชีวภาพ ของนางกัลยา คงวัน ได้ปลูกผักวสวนครัวและเลี้ยงปลา ภายในสวนมีพริก ตะไคร้ มะละกอ มะเขือ ถั่วฝักยาว ถั่วพลู มะนาว มะพร้าวและเลี้ยงปลานิล ปลาดุก และปลาตะเพียร จาการลงพื้นที่ของกลุ่มที่ปลูกผักปลอดสารพิษพบว่าบางครั้งที่มีแมลงมากินพืชผล น้ำหมักที่ทำไล่แมลงจะต้องผสม พืชที่มีความร้อนในตัว เช่น ดีปลี พริกไทย จะช่วยไล่แมลงได้ดีมากกว่าน้ำหมักเพียงอย่างเดียว

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 20 คน จากที่ตั้งไว้ 60 คน
ประกอบด้วย

คณะกรรมการและสมาชิก

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นาบ สุธรรมแก้วประดิษฐ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ลงพื้นที่ประเมินกิจกรรมของสมาชิก ครั้งที่ 1.318 กรกฎาคม 2016
18
กรกฎาคม 2016รายงานจากพื้นที่ โดย มานพ เขียวทอง
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อลงพื้นที่ประเมินผลผลิตไร่นาสวนผสมของสมาชิก

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ลงพื้นที่ของนางมณฑา เนียมสุ้น และนางวรรณี ฉิมเมือง ของนางมณฑา เนียมสุ้น ได้ปลูกพืชผักสวนครัว ของนางวรรณี ฉิมเมือง ไดีปลูกข้าวโพดไว้จำหน่าย

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ลงพื้นที่ของนางมณฑา เนียมสุ้น และนางวรรณี ฉิมเมือง ของนางมณฑา เนียมสุ้น ได้ปลูกพืชผักสวนครัว ภายในสวนมี ผักกาด ผักคะน้า ถั่วฝักยาว ตะไคร้ มะละกอ ของนางวรรณี ฉิมเมือง ไดีปลูกข้าวโพดไว้จำหน่าย

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 20 คน จากที่ตั้งไว้ 60 คน
ประกอบด้วย

คณะกรรมการและสมาชิก

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายสุธรรมแก้วประดิษฐ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ลงพื้นที่ประเมินกิจกรรมของสมาชิก ครั้งที่ 1.214 กรกฎาคม 2016
14
กรกฎาคม 2016รายงานจากพื้นที่ โดย มานพ เขียวทอง
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อลงพื้นที่ประเมินผลผลิตของสมาชิก

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ลงพื้นที่ของนางวารุณี สุกเงินและนางสาคร จันทร์เขียว ของนางวารุณี สุกเงิน ได้ปลูกพืชผักสวนครัว ของนางสาคร จันทร์เขียว ไดีมีพืชผักสวนครัวไว้กินเอง

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ลงพื้นที่ของนางวารุณี สุกเงินและนางสาคร จันทร์เขียว ของนางวารุณี สุกเงิน ได้ปลูกพืชผักสวนครัว ภายในสวนมีบวบมะระ มะเขือ ถั่วฝักยาว พริก มะละกอ ตะไคร้ มะพร้าว ของนางสาคร จันทร์เขียว ไดีมีพืชผักสวนครัวไว้กินเอง ภายในสวนพริก มะเขือ ถั่วฝักยาว มะละกอ ตะไคร้

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 20 คน จากที่ตั้งไว้ 60 คน
ประกอบด้วย

คณะกรรมการและสมาชิก

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นาบ สุธรรมแก้วประดิษฐ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ลงพื้นที่ประเมินกิจกรรมของสมาชิก ครั้งที่ 1.110 กรกฎาคม 2016
10
กรกฎาคม 2016รายงานจากพื้นที่ โดย มานพ เขียวทอง
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อลงพื้นที่ประเมินผลผลิตไร่นาสวนผสมของสมาชิก

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ลงพื้นที่ของนางกุหลาบ แก้วเหมือน และนางประทีป หมื่นนุสิทธิ์ ของนางกุหลาบ แก้วเหมือน ได้ปลูกพืชผักสวนครัวและมีการเลี้ยงปลาผสมผสานกัน ของนางประทีป หมื่นนุสิทธิ์ ไดีมีพืชผักสวนครัวไว้กินเอง

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ลงพื้นที่ของนางกุหลาบ แก้วเหมือน และนางประทีป หมื่นนุสิทธิ์ ของนางกุหลาบ แก้วเหมือน ได้ปลูกพืชผักสวนครัวและมีการเลี้ยงปลาผสมผสานกันและการเลี้ยงกบในกระชังในบ่อนำ้ลึกและจากการลงพื้้นที่พบว่าการเลี้ยงกบในบ่อปูนซิเมนต์และจากการทดลองการเลี้ยงกบในกระชังในบ่อนำ้ลึก กบโตไวกว่า ไม่มีเศษขี้จากกบที่ก่อให้เกิดกินเหม็น กบมีสุขภาพที่แข็งแรงกว่าเพราะได้ว่ยนำ้เล่น การเป็นอยู่ของกบคล้ายกับอยู่ในธรรมชาติ

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 20 คน จากที่ตั้งไว้ 60 คน
ประกอบด้วย

คณะกรรมการและสมาชิก

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นาย สุธรรมแก้วประดิษฐ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ประชุมสภาผู้นำประชุมเพื่อเตรียมความพร้อมในการจัดกิจกรรมลงพื้นที่ประเมินกิจกรรมเกษตรอินทรีย์ครั้งที่2(ครั้งที่ 11 )9 กรกฎาคม 2016
9
กรกฎาคม 2016รายงานจากพื้นที่ โดย มานพ เขียวทอง
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อให้คณะผู้นำมีความเข้มแข็งเพื่อขับเคลื่อนเข้าสู่ชุมชนเข้มแข็งอย่างต่อเนื่อง

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ผู้รับผิดชอบโครงการได้ประชาสัมพันธ์ นัดคณะกรรมการเพื่อวางแผนเตรียมความพร้อมในกิจกรรมลงพื้นที่ติดตามประเมินผลงานเกษตรอินทรีย์โดยคณะกรรมการได้มาพร้อมกันในที่ประชุม ณ โรงเรียนบ้านท้องลาน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะกรรมการสภาผู้นำได้มาพร้อมกันและได้ช่วยกันวางแผนการทำงานเช่น คณะกรรมการได้เสนอให้มีการให้คะแนนแต่ละแปลงและแปลงใดที่ได้คะแนนสูงสุดก็จะมีรางวัลให้ในวันเปิด โรงเรียนบ้านท้องลานศูนย์เรียนรู้เกษตรอินทรีย์ เป็นต้น

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นาย สุธรรมแก้วประดิษฐ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

เพื่อติดตามและประเมินโครงการงวดที่223 เมษายน 2016
23
เมษายน 2016รายงานจากพี่เลี้ยง โดย sutham
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อติดตามและประเมินโครงการงวดที่2

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

พี่เลี้ยงโครงการพบปะ พูดคุย ซักถาม คณะกรรมการถึงปัญหาจากการทำงานที่ผ่านมาในงวดที่1 และติดตามประเมินโครงการงวดที่2

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

พี่เลี้ยงโครงการพบปะ พูดคุย ซักถาม ปัญหาจากการทำงานที่ผ่านมาในงวดที่1 และชี้แจงรายละเอียดกิจกรรมที่จะต้องดำเนินต่อไปในงวดที่2มีดังนี้1.ประชุมสภาผู้นำจำนวน 3 ครั้ง 2.สร้างฐานเรียนรู้ที่5 เป็นฐานการเรียนรู้การทำบัญชีครัวเรือนลงพื้นที่ประเมินกิจกรรมเกษตรอินทรีย์ ครั้งที่ 2 กิจกรรมที่3จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในแต่ละฐาน และพัฒนาโครงงานอาชีพ ต่อเนื่อง 4.ลงพื้นที่ประเมินกิจกรรมเกษตรอินทรีย์ ครั้งที่ 2 เพื่อรวบรวมข้อมูลผลลัพธ์ 5. กิจกรรมการจัดทำรายงานหลังจากปิดงวดโครงการ 6.จัดเวทีเสวนา สรุปผลการดำเนินงานเวทีถอดบทเรียน7. เปิดโรงเรียนบ้านท้องลานศูนย์เรียนรู้เกษตรอินทรี8.จัดทำรายงานสรุปโครงการรายงวด รายปี ฉบับสมบูรณ์9.9.ร่วมงานคนใสร้างสุข วันที่ 3-5 ตุลาคม 255910.จัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์ ซึ่งทุกกิจกรรมให้สภาผู้นำรีบดำเนินการให้แล้วเสร็จ ทุกคนยินดีและรับดำเนินการต่อไป

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 15 คน จากที่ตั้งไว้ 15 คน
ประกอบด้วย

สภาผู้นำชุมชนจำนวน 15 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

เห็นสมควรดำเนินกิจกรรมให้เป็นไปตามแผนที่ได้วางเอาไว้

ประชุมถอดบทเรียน ครั้งที่126 มีนาคม 2016
26
มีนาคม 2016รายงานจากพี่เลี้ยง โดย sutham
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อให้โครงการได้เข้าร่วมกิจกรรมกับทาง สสส.

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ผู้เข้าร่วมลงทะเบียนทีมพี่เลี้ยงร่วมประชุมวางแผนการดำเนินกิจกรรม

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ทีมพี่เลี้ยงให้แต่ละกลุ่มเขียนลงในกระดาษ ในงบประมาณงวดแรกแต่ละกลุ่มได้อะใรบ้างจากการดำเนินโครงการ ปัญหาอุปสรรค นวัตกรรม คุณค่า หลังจากนั้นนำมารวบรวมและนำเสนอหน้าห้องให้กลุ่มอื่นได้ฟังและสะท้อนร่วมกัน

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

ผู้รับผิดชอบโครงการและ จนท.การเงิน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

การถอดบทเรียนจะถอดก่อนเริ่มโครงการขณะดำเนินโครงการ และหลังการดำเนินโครงการ

ประชุมถอดบทเรียนงวดที่ 1 กับ สจรส มอ.26 มีนาคม 2016
26
มีนาคม 2016รายงานจากพื้นที่ โดย มานพ เขียวทอง
circle
วัตถุประสงค์

ประชุมเพื่อถอดบทเรียนงวดที่1 กับ สจรส มอ.

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เวลา 9.30 น.-12.00 น.ลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรม ฟังบรรยายเรื่องการพัฒนาโครงการ และการเขียนรายงานในระบบเว็ปไซต์ เวลา 12.00 น. ร่วมรับอาหารเที่ยงพร้อมกัน เวลา 13.00 น.-16.00 น. ฟังบรรยายเรื่องการเขียนรายงานในการถอดบทเรียน และฝึกปฏิบัติ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการและเจ้าหน้าที่คอมพิวเตอร์เข้าร่วมฟังบรรยายเรื่องการพัฒนาโครงการ การถอดบทเรียนในระบบเว็ปไซต์จนเข้าใจและสามารถปฏิบัติได้
ตรวจเอกสารทางด้านการเงิน เช่น ใบเสร็จรับเงิน ใบสำคํญรับเงิน ใบกำกับภาษี รายชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรมในแต่ละกิจกรรม แนะนำการรายงาน ง.1 และการรายงาน ส .1 ฝึกปฎิบัตฺทำ ทางกลุ่มสามารถทำได้ ผลจากการถอดบทเรียน พบสิ่งดีๆดังนี้ 1. เกิดศูนย์เรียนรู้ที่โรงเรียนบ้านท้องลาน เป็นที่ประชุมและจัดกิจกรรมต่างๆหลังจากที่ชุมชนไม่ได้เหลียวแลและให้ความสนใจ จะมีกิจกรรมการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เป็นการนำพื้นที่โรงเรียนร้าง มาใช้ประโยชน์ในพื้นที่ สร้างคน และสร้างปัญญา ในพื้นที่ 2. เกิดแกนนำในการขับเคลื่อนโครงการ2 คน ซึ่งเป็นเยาวชนบุตรหลาน ของกรรมการสภาผู้นำ ที่อาสามาเรียนรู้และร่วมกิจกรรมและช่วยเหลือกิจกรรมโครงการ 3. เกิดภาคีเครือข่ายตัวแทนเกษตจังหวัดหัวหน้าเกษตรอำเภอให้ความรู้ในเรื่องการใช้สารเคมี และ การปลูกผักปลอดสารพิษ 4. ชาวบ้านร่วมแรงร่วมใจกัน สร้างฐานเรียนรู้ที่1- 3 ได้แก่ ฐานเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ฐานเรียนรู้การเลี้ยงสัตว์

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นาย สุธรรมแก้วประดิษฐ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ต่อยอดกลุ่มทำน้ำเคยปลา12 มีนาคม 2016
12
มีนาคม 2016รายงานจากพื้นที่ โดย มานพ เขียวทอง
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อให้เกษตกรผู้เข้าร่วมโครงการได้เข้าใจในเรื่องการจัดตั้งกลุ่มและระเบียบ กติกาของกลุ่มและให้รู้จักหาวัตถุดิบมาแปรรูปและมีอาชีพเสริมโดยมีรายได้เพิ่มขึ้น

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เวลา 09.00 น. เจ้ารหน้าที่รับลงทะเบียนผู้ที่สมัครเข้าร่วมโครงการ เวลา 09.30 น. สมาชิกทุกคนมารวมตัวพร้อมกันในสถานที่ที่จัดเตรียมไว้เพื่อทำกิจกรรมผู้รับผิดชอบโครงการได้กล่าวต้อนรับสมาชิกทุกคนและได้ชี้แจงรายละเอียดและเป้าหมายของกิจกรรม หลังจากนั้นก็ได้เชิญผู้ที่มีความรู้เก๊่ยวกับการทำเคยปลามาให้ความรู้แก่เกษตกร เวลา 11.30 น. ผู้เข้าร่วมโครงการทุกคนร่วมรับประทานอาหารเที่ยงพร้อมกัน เวลา 14.00 น. ได้เริ่มลงมือปฏิบัติ สาธิตการทำเคยปลา เวลา 15.00-16.30 แลกเปลี่ยนเรียนรู้

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

การประชุมพูดคุย เน้นการพัฒนาผลิตภัณฑ์เคยปลาในบ้านท้องลานภายใต้โครงการ สสส. ปี 2558ณ ที่ทำการกลุ่มเคยปลาบ้านท้องลาน ต.ท้องลำเจียก อ.เชียรใหญ่ จ.นครศรีธรรมราช มีคนมาเข้าร่วใ 60 คน เป็นกรรมการกลุ่ม 20 คน และผู้สนใจ 40 คน
-กิจกรรมนี้ได้รับความสนใจจากเกษตรกรและชาวประมงพื้นบ้าน เป็นอย่างมาก โดยมี ผญ.มนพ เขียวทอง และพัฒนากร จาก สนง.พัฒนาชุมชนอำเภอเชียรใหญ่ ให้การต้อนรับอย่างอบอุ่นค่ะ -กิจกรรมนี้มีการจัดตั้งกลุ่มอยู่แล้วจึงทำให้มีการทำกิจกรรมต่อเนื่องโดยมีการประเมินสมาชิกกลุ่มเคยปลามีอาชีพเสริมและมีรายได้ในการประกอบอาชีพอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ได้ถอดความรู้และบทเรียนการทำเคยปลาไว้ดังนี้ 1. ความเป็นมากะปิปลาหรือ “เคอยปลา”อาหารประจำถิ่นประจำบ้านของคนลุ่มน้ำปากพนังที่นิยมบริโภคสืบทอดกันมานับพันปีทำจากปลาน้ำจืดที่หาได้ในแหล่งน้ำธรรมชาติจากการทำกินทำเก็บจนล่าสุดทำขายสร้างรายได้เสริมให้กับครอบครัวและชุมชนนายมนพเขียวทอง ผู้ใหญ่บ้านคนปัจจุบัน ซึ่งเป็นประธานกลุ่มและสมาชิกกลุ่มเล่าให้ฟังว่าการทำเคอยปลาของคนในชุมชนแห่งนี้และชุมชนอื่นๆในลุ่มน้ำปากพนังได้ทำสืบทอดกันมาตั้งแต่บรรพบุรุษส่วนใหญ่ทำเพื่อบริโภคในครัวเรือนทำจากปลาที่หามาได้ตามธรรมชาติซึ่งในปีหนึ่งๆจะหาปลาได้จำนวนมากๆอยู่สองช่วงคือช่วงฤดูน้ำหลากชาวบ้านจะจับปลาได้มากโดยการใช้แหอวน ไซ ฯลฯ และช่วงฤดูแล้งที่ชาวบ้านจะจับปลาจากแหล่งน้ำในไร่นาหรือที่เรียกว่า “วิดหนอง” เมื่อได้ปลามาจำนวนมากๆนอกจากนำปลาสดๆมาปรุงเป็นอาหารแล้วส่วนหนึ่งยังจะนำปลาเล็กปลาน้อยหรือปลาที่ไม่ค่อยสดมาแปรรูปและถนอมเก็บไว้บริโภคในยามขาดแคลนในรูปของปลาร้าปลาเค็มและเคอยปลา 2.ขั้นตอนการทำเคยปลาเมื่อหาปลามาได้เช่นปลาดุกปลาตะเพียนปลาหางแดงปลาฉลาดฯลฯชาวบ้านจะนำมาแช่น้ำทิ้งไว้1คืนเพื่อให้ปลาพอง หลังจากนั้นนำมาขอดเกล็ดผ่าท้องควักไส้ตัดหัวล้างให้สะอาดใส่ตะแกรงผึ่งแดดประมาณครึ่งวันแล้วนำมาตำในครกไม้โดยการผสมเกลืออัตราส่วนปลา10กิโลกรัมต่อเกลือเม็ด3กิโลกรัมตำพอให้คลุกเคล้าเข้ากันดีแล้วนำมาหมักไว้ในภาชนะโรยเกลือเม็ดทับบางๆเพื่อช่วยป้องกันแมลงวันและช่วยรักษาเนื้อปลาตอนกลางวันนำออกตากแดดตอนเย็นก็เก็บทำต่อเนื่องกัน7วันแล้วกระจายก้อนเนื้อปลาที่หมักไว้ออกตากในภาชนะปากกว้างเช่น ถาดตากแดดไว้ครึ่งวันแล้วนำไปตำในครกไม้เพื่อให้เนื้อปลาละเอียดมากขึ้น แล้วปั้นเป็นก้อนๆละประมาณ1 กิโลกรัมนำไปตากแดดทั้งก้อนอีก4 วันจนก้อนสุก(มีสีออกแดง)นำมาแบ่งปั้นเป็นก้อนย่อยๆประมาณก้อนละ2ขีดตากแดดครึ่งวันแล้วนำไปตำอีกครั้ง เป็นครั้งสุดท้ายเป็นอันเสร็จขั้นตอนการทำเคยปลา 3.ขั้นตอนการหมักและการขัดน้ำนำเนื้อเคอยที่ได้ลงใส่ในไหจนเต็มปิดปากไหด้วยกาบหมากนำใบตองแห้งมาถักเป็นเกลียวคล้ายเชือกอัดรอบๆปากไหด้านในแล้วขัดด้วยตอกไม้ไผ่บางๆเก็บไว้ในที่ร่ม โรยเกลือเม็ดบนปากไหประมาณ 1 กำมือ และนำน้ำต้มสุกที่ทิ้งไว้จนเย็นแล้วเติมลงไปให้เสมอปากไหทิ้งไว้ประมาณครึ่งเดือนก็นำไปบริโภคได้หรือถ้าจะเก็บไว้ก็เก็บได้นาน1-2ปีส่วนน้ำเคอยปากไหก็นำมาบริโภคได้รสชาติคล้ายๆน้ำปลา 4.การนำเคยปลามาบริโภคจากเดิมที่มักจะนำเคยปลามาบริโภคเฉพาะในช่วงที่หาปลาสดยาก หรืออาหารขาดแคลนแต่ปัจจุบันเคอยปลากลายเป็นอาหารที่ขาดมิได้ต้องมีไว้คู่ครัวคนในชุมชนท้องถิ่นนี้ไปแล้วไม่ว่าจะแกงส้มก็จะต้องใส่เคอยปลาลงไปผสมเล็กน้อยพอได้กลิ่นจะแกงเลียงลูกตาลอ่อนก็จะต้องใส่เคอยปลาถึงจะอร่อยหรือแกงเคอยปลาซึ่งมีรสชาติเฉพาะที่คนในท้องถิ่นแถบนี้ชอบจะแกงใส่ผักใส่ปลาย่างหรือน้ำเคอยล้วนๆก็ถูกใจทั้งสิ้นแม้แต่ในงานบวชงานศพที่มีแกงหมู เห็ด เป็ด ไก่แล้วยังมิวายที่จะเรียกหา“แกงน้ำเคอย”จนอาจเรียกได้ว่าเป็นวัฒนธรรมการกินการเลี้ยงต้อนรับและการเป็นของฝากไปแล้ว
4.ด้านการตลาดเคยปลานางกัลยาคงวันฝ่ายการตลาดของกลุ่มฯกล่าวว่าต้นทุนการผลิตเคอยปลาค่อนข้างสูงถ้าคิดว่าซื้อปลามาจากตลาดมาแปรรูปทำเคอยปลาจะไม่คุ้มค่าแต่ที่ทำได้เพราะหาปลากันเองจากธรรมชาติทำที่บ้านใช้เครื่องไม้เครื่องมือส่วนตัวคนที่หาปลาเก่งๆและฤดูที่มีปลาชุกชุมก็สามารถทำเคยได้คราวละมากๆพอที่จะเลี้ยงครอบครัวได้เมื่อผลิตเป็นเคอย ก้อนแล้วจะขายผ่านกลุ่มโดยกลุ่มจะรับซื้อในราคากิโลกรัมละ80บาทนำไปผ่านกรรมวิธีการขัดน้ำแล้วขายต่อกิโลกรัมละ100บาทเพื่อส่งขายตลาดเปิดท้ายในหมู่บ้านงานแสดงสินค้าระดับอำเภอ/จังหวัด และลูกค้าที่สั่งซื้อส่งให้บุตรหลานที่กรุงเทพฯมีลูกค้าสั่งซื้อผ่านกลุ่มเดือนละไม่ต่ำกว่า100กิโลกรัมและคาดว่าสถานการณ์ราคาเคอยปลาน่าจะสูงขึ้นในอนาคตเนื่องจากสาเหตุหลัก2ประการคือ(1)มีความต้องการซื้อมากขึ้นและ(2)หลังจากการปิดประตูระบายน้ำโครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน้ำปากพนังที่มีการปิดเปิดประตูน้ำไม่สัมพันธ์กับฤดูกาลวางไข่ของปลาทำให้หาปลาในธรรมชาติได้น้อยลงและจากการทำเคยปลา และพุงปลาพบเป็นประสบการณ์ว่าถ้าบางครั้งการใส่เกลือที่ไม่ได้สัดส่วน เช่นน้อยเกินไปจะทำให้เคยปลาหรือพุงปลาเป็นหนอน การที่จะเอาหนอนออกให้หมดนั้นจะต้องนำเคยปลาหรือพุงปลาไปตากน้ำค้างซึ่งหนอนจะออกหมด แต่ถ้าตั้งไว้เฉยหนอนจะออกไม่หมดได้ทำและค้นพบ และอีกเรื่องหนึ่งที่ค้นพบ ทางกลุ่มลองเอาปลานำ้เค็มมาทำเคยปลาในอัตราส่วนที่เท่ากัน คือปลาจำนวน 10กิโลต่อเกลือ 3กิโล จำนวนวันในการหมักที่เท่ากัน ปรากฏว่า รสชาติสู้ปลาน้ำจืดไม่ได้ และขายไม่ดี ไม่เป็นที่ต้องการของลูกค้า

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 60 คน จากที่ตั้งไว้ 60 คน
ประกอบด้วย

กลุ่มชุมชนใกล้เคียงเข้าร่วมทำกิจกรรมและกลุ่มวัยทำงานและกลุ่มเด็กวัยเรียน ประมาณ 60 คนและกลุ่ม ก.ศ.น.จำนวน 2 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นาย สุธรรมแก้วประดิษฐ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ประชุมสภาผู้นำเตรียมความพร้อมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ต่อยอดกลุ่มทำน้ำเคยปลา (ครั้งที่ 8)6 มีนาคม 2016
6
มีนาคม 2016รายงานจากพื้นที่ โดย มานพ เขียวทอง
circle
วัตถุประสงค์

มีคณะกรรมการผู้นำเกิดขึ้นในชุมชนขับเคลื่อนสู่ชุมชนเข้มแข็ง

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ผู้รับผิดชอบโครงการนัด คณะกรรมการและสภาผู้นำมาประชุม และสมาชิกกลุ่มเคยปลาท้องลาน ประชุมเตรียมความพร้อมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ต่อยอดกลุ่มทำน้ำเคยปลา โดยร่วมกันวางแผนกิจกรรมการพัฒนากลุ่มเคยปลาบ้านท้องลาน ที่มีกลุ่มเป็นที่รู้จักดี อยู่แล้ว มาพ้ฒนาให้เข้มแข็ง ติดตลาด และเป้นที่รู้จัก วางแผนทำกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ต่อยอดกลุ่มทำเคยปลา โดยคณะกรรมการได้มาพร้อมกันในที่ประชุมณโรงเรียนบ้านท้องลาน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการนัด คณะกรรมการและสภาผู้นำ และ ประธานกลุ่ม สมาชิกตัวแทนกลุ่มเคยปลามาประชุมวางแผนทำกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ต่อยอดกลุ่มทำเคยปลา รวมทั้งสิ้น 20 คนโดยคณะกรรมการได้มาพร้อมกันในที่ประชุมณโรงเรียนบ้านท้องลาน และคณะกรรมการก็ช่วยกันเสนอความคิด ข้อเสนอเเนะ และช่วยกันวางแผนกันว่าจะดำเนินการอย่่างไร ผลการประชุมสรุปมติดังนี้ 1. ตัวแทน ประธานกลุ่มเคยปลา เล่าเรื่องเคยปลาให้ลูกหลาน ผู้เข้าร่วมฟัง 2. ตัวแทนกลุ่ม เล่าขั้นตอนการทำเคยปลาและการพัมนาจนถึปัจจุบัน 3. กรรมการทุกคน ร่วมกันเข้าประชุม และนำเรียนลูกบ้านมาร่วมพัฒนากลุ่มให้เข้มแข็ง โดยมอบหมายบ้านใกล้เรีือนเคียง และกลุ่มพ่อค้า แม่ค้า
4. เชิญวิทยากร บ้านเรา นายมนพ เขียวทอง เป้นผุ้ชำนาญในเรื่องการทำกลุ่ม และเชิญนางกลัลยา เชี่ยวชาญด้านการตลาด มาพุดคุยเพื่อการปรับปรุงผลิตภัณฑ์ 5. บ้านคัยเรินคัยทำเคยปลา นำมาแบ่งปัน ขาย จำหน่ายในวันดังกล่าวได้

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 15 คน จากที่ตั้งไว้ 15 คน
ประกอบด้วย

สภาผู้นำจำนวน 15 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นาย สุธรรมแก้วประดิษฐ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ประชุมสภาผู้นำประชุมเตรียมความพร้อมในการสร้างฐานการเรียนรู้การทำปุ๋ยหมัก น้ำหมักชีวภาพ และสารไล่แมลง ( ครั้งที่7)14 กุมภาพันธ์ 2016
14
กุมภาพันธ์ 2016รายงานจากพื้นที่ โดย มานพ เขียวทอง
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อพูดคุยกรรมการวางแผน หน้าที่ และวิธีปฏิบัติ ในการสร้างฐานเรียนรู้การทำปุ๋ยหมัก  น้ำหมักชีวภาย และ สารไล่แมลง

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ผู้รับผิดชอบโครงการนัด คณะกรรมการและสภาผู้นำมาประชุมวางแผนทำกิจกรรมการทำน้ำหมักและสารขับไล่แมลงและการจัดดตั้งกองทุนเมล็ดพันธ์ผัก ประชุมเตรียมความพร้อมในการสร้างฐานการเรียนรู้การทำปุ๋ยหมัก น้ำหมักชีวภาพ และสารไล่แมลง โดยเชิญผู้ที่เป็นต้นแบบ ได้แก่
กลุ่มทำนา นายทิพย์ คงวัน ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง และ ผักปลอดสารพิษ นางสุนีย์ คงเกตุ นายสำเริง แซ่ลิ้ม นางวารุณี สุขเงิน มาเป็นตัวหลักในการทำกิจกรรม โดยคณะกรรมการได้มาพร้อมกันในที่ประชุมณโรงเรียนบ้านท้องลาน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการนัด คณะกรรมการและสภาผู้นำมาประชุมวางแผนทำกิจกรรมการทำน้ำหมักและสารขับไล่แมลงและการจัดดตั้งกองทุนเมล็ดพันธ์ผัก ประชุมเตรียมความพร้อมในการสร้างฐานการเรียนรู้การทำปุ๋ยหมัก น้ำหมักชีวภาพ และสารไล่แมลง โดยเชิญผู้ที่เป็นต้นแบบ ได้แก่
กลุ่มทำนา นายทิพย์ คงวัน ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง และ ผักปลอดสารพิษ นางสุนีย์ คงเกตุ นายสำเริง แซ่ลิ้ม นางวารุณี สุขเงิน มาเป็นตัวหลักในการทำกิจกรรม โดยคณะกรรมการได้มาพร้อมกันในที่ประชุมณโรงเรียนบ้านท้องลาน และร่วมประชุมกัน โดยนัดแนะกัน สรุปดังนี้ 1.นัดทำกิจกรรมฐานเรียนรู้ปุ๋ยหมักในสัปดาห์ถัดไป
2. กลุ่มผักและกลุ่มทำนาของหมู่บ้านมาเป็นผู้ช่วยดำเนินการจัดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน 3. วัสดุอุกปกรณ์ จากงบโครงการ และผลลผลิตที่ได้จากการกิจกรรมแบ่งปันแก่ผุ้เข้าประชุม

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 15 คน จากที่ตั้งไว้ 15 คน
ประกอบด้วย

สมาชิกสภาผู้นำ

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

การติดตามการดำเนินงานและการจัดทำรายงานติดตามงวดที่114 กุมภาพันธ์ 2016
14
กุมภาพันธ์ 2016รายงานจากพี่เลี้ยง โดย sutham
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อพัฒนาคณะทำงานต่อเนื่อง

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ตรวจเอกสารทางด้านการเงิน 

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ตรวจเอกสารทางด้านการเงิน เช่น ใบเสร็จรับเงิน ใบสำคํญรับเงิน ใบกำกับภาษี รายชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรมในแต่ละกิจกรรม แนะนำการรายงาน ง.1 และการรายงาน ส .1 ฝึกปฎิบัตฺทำ ทางกลุ่มสามารถทำได้

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

เอกสารการเงินให็ทางกลุ่มถ่ายสำเนาส่งไปยัง สสส. เอกสารตัวจริงเก็บไว้กับทางกลุ่ม

การประชุมจัดทำรายงานงวดที่1(ครั้งที่3)13 กุมภาพันธ์ 2016
13
กุมภาพันธ์ 2016รายงานจากพื้นที่ โดย อารีย์ สุวรรณชาตรี
circle
วัตถุประสงค์

การประชุมจัดทำรายงานงวดที่1(ครั้งที่3)

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เวลา 08.00 น. เริ่มออกเดินทางไปยังมหาวิทยาลัยวลัยลักญณ์ และเมื่อถึงมหาวิทยาลัยวลัยลักญณ์ก็เข้าร่วมประชุม พูดคุยกับพี่เลี้ยงโครงการ และในช่วงบ่ายก็ได้ลงมือปฏิบัติในการจัดทำรายงานงวดที่1 (ครั้งที่3)

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการ และผู้ยันทึกกิจกรรม และ เจ้าหน้าที่การเงิน พร้อมด้วยพี่เลี้ยงที่ปรึกาาโครงการ ร่วมกันตรวจสอบรายงานบันทึกกิจกรรม ภาพถ่าย ความครบถ้วน ถุกต้อง ของรายงานกิจกรรมพบว่า การบันทึกยังน้อยไ ไม่ครบถ้วน ขาดการบันทึกเชิงคุณภาพ พี่เลี้ยงช่วยเหลือแก้ไข ให้ 2. ตรวจสอบรายงานการเงิน เอกสาร หลักฐาน ใบสำคัญต่างๆ การหักภาษี และการทำบัญชีการเงินให้ถุดต้อง 3. การถอดบทเรียนโครงการ ในงวดที่1 และจากการตรวจเอกสารทางด้านการเงิน พบว่า ถุกต้อง มีแก้ไขเพิ่มเติมเล็กน้อยซึ่งผู้รับผิดชอบ เข้าใจและปรับแก้ให้้ถุักต้อง

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

ผู้รับผิดชอบโครงการจนท.คอมพิวเตอร์

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

การติดตามการดำเนินงานและการจัดทำรายงานติดตามงวดที่113 กุมภาพันธ์ 2016
13
กุมภาพันธ์ 2016รายงานจากพี่เลี้ยง โดย sutham
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อพัฒนาคณะทำงานต่อเนื่อง

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

พี่เลี้ยงแจ้งวัตถุประสงค์ของกิจกรรม พูดคุยซักถามอุปสรรค ปัญหา และเล่าเรื่องหรือกิจกรรมที่เด่นในช่วงของการทำโครงการ ร่วมกันนำเสนอโดยภาพรวม

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดความประทับใจและมุ่งมั่นในตัวกิจกรรมที่เอาโรงเรียนร้างมาเป็นตัวเดินเรื่อง มีเป้าประสงค์ร่วมกันที่ต้องการให้โรงเรียนมีชีวิต  เกิดการเรียนรู้ เกิดความเคลื่อนไหว การดำเนินกิจกรรมเป็นไปตามที่ขอรับงบประมาณจากทาง สสส. ซึ่งมันสอดคล้องและสมดุลย์กับรูปแบบการดำเนินชีวิตที่เป็นอยู่  ภายใต้แนวเศรษฐกิจพอเพียง เกิดความภูมิใจในตัวบุคคลที่มองว่า ตนเป็นส่วนหนึ่งของการปลุกให้โรงเรียน ฟื้น ตื่น มี ชีวิต  กำลังเป็นที่จับตามองของชุมชนรอบข้าง
        ผู้รับผิดชอบโครงการ เป็นผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านที่มีความใฝ่รู้ และมีภาคีเครือข่ายที่คอยหนุนเสริมเติมให้เต็ม

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

การดำเนินกิจกรรมสามารถเลื่อนกิจกรรมได้ตามความเหมาะสมของฤดูกาล

จัดตั้งกองทุนเกษตรอินทรีย์เพื่อสนับสนุนพันธ์ข้าวพันธ์ผักและพันธ์สัตย์แก่เกษตรกรที่ขาดต้นทุน10 กุมภาพันธ์ 2016
10
กุมภาพันธ์ 2016รายงานจากพื้นที่ โดย มานพ เขียวทอง
circle
วัตถุประสงค์

เพื่ลดต้นทุนแก่เกษตกรในการซื้อเมล็ดพันธ์ผัก พันธ์สัตว์ และสนับสนุนเกษตกรที่ขาดเงินทุนในการประกอบอาชีพ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เวลา 09.00 น. เจ้ารหน้าที่รับลงทะเบียนผู้ที่สมัครเข้าร่วมโครงการ เวลา 09.30 น. สมาชิกทุกคนมารวมตัวพร้อมกันในสถานที่ที่จัดเตรียมไว้เพื่อทำกิจกรรมผู้รับผิดชอบโครงการได้กล่าวต้อนรับสมาชิกทุกคนและได้ชี้แจงรายละเอียดและเป้าหมายของกิจกรรม ว่าเมื่อสมาชิกรับเมล็ดพันธ์ผักเช่น ถั่วฝักยาว, มะเขือ, ผักกาด, แตงกวา ,พันธ์สัตว์ เช่น ปลานิล ไปแล้วเมื่อทำการปลูกแล้วเมล็ดที่สุกเหลือหรือที่เหลือจากรับประทานหรือที่จำหน่ายเหลือแล้วให้นำมาฝากไว้ในโรงเรียนบ้านท้องลาน เพื่อจะได้จัดตั้งเป็นกองทุนเมล็ดพันธ์ผักและพันธ์สัตว์ต่อไป หลังจากนั้นก็ได้เชิญผู้ที่มีความรู้เก๊่ยวกับการปลูกผักและการใช้สารเคมีมาให้ความรู้แก่เกษตกร เวลา 14.00 น. ได้เริ่มแจกพันธ์ผักและพันธ์สัตว์น้ำแก่เกษตกรที่ขาดเงินทุน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

กลุ่มเกษตกรที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ในการทำเกษตรอินทรีย์และการทำเกษตรพอเพียงตามที่พ่อหลวงของเราได้ตรัสไว้และเมื่อเสร็จกิจกรรมสมาชิกทุกคนรับปากว่าจะไปปฏิบัติจริง ดังนั้นคณะแกนนำได้วางแผนกันว่าจะลงติดตามประเมินผลงานเป็นจำนวน 6 ครั้งโดยจะแบ่งทีมกันลงพื้นที่

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 45 คน จากที่ตั้งไว้ 60 คน
ประกอบด้วย

สมาชิกผู้ที่เข้ารร่วมโครงการ

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นาย สุธรรมแก้วประดิษฐ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

สร้างฐานเรียนรู้ที่4 เป็นฐานการเรียนรู้การทำปุ๋ยหมัก น้ำหมักชีวภาพ และสารไล่แมลง5 กุมภาพันธ์ 2016
5
กุมภาพันธ์ 2016รายงานจากพื้นที่ โดย มานพ เขียวทอง
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อให้เกษตกรปรับวิธีคิดและเปลี่ยนพฤติกรรมโดยร่วมกันทำเกษตรอินทรีย์

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมโครงการเรียนรู้ เวลา 09.00 น. สมาชิกทุกคนเข้าห้องเรียนเพื่อเรียนรู้วิธีการทำปุ๋ยหมักและน้ำหมักชีวภาพ เวลา 10.00-14.00 น. สมาชิกทุกคนร่วมกันลงมือปฏิบัติจริงในการทำปุ๋ยหมัก และ น้ำหมักชีวภาพ บริเวณโรงเรือนในโรงเรียนที่มีอยู่แล้ว เพื่อสมาชิกทุกคนได้นำเอาไปใช้ประโยนช์ในการปลูกผักปลอดสารพิษ 15-16.00 น อภิปราย วันนี้ได้อะรัย

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

กิจกรรมสร้างฐานเรียนฐานที่ 4 เป็นฐานการเรียนรู้การทำปุ๋ยหมักชีวภาพการทำน้ำหมักชีวภาพโดยผู้นำกระบวนการเรียนรู้ ให้คำแนะนำ ว่าปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพหมายถึง สารธรรมชาติที่ได้จากกระบวนการหมักบ่ม วัตถุดิบจากธรรมชาติต่าง ๆ ทั้งพืช และสัตว์จนสลายตัวสมบูรณ์เป็นฮิวมัส วิตามิน ฮอร์โมน และสารธรรมชาติต่าง ๆซึ่งเป็นทั้งอาหารของดิน ตัวเร่งการทำงานของสิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ ที่อาศัยอยู่ในดิน และอาศัยอยู่ปลายรากของพืชที่สามารถสร้างธาตุอาหารกว่า 93 ชนิดให้แก่พืช ภายใต้หลักการกสิกรรมธรรมชาติที่ว่า “เลี้ยงดิน เพื่อให้ ดินเลี้ยงพืช” 2.การฝึกปฏิบัติและรวมกลุ่มทำปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมักจิง ได้ปุ๋ย ทั้ง 3 ชนิด และแจกจ่ายคืนแก่ผู้เข้าร่วมคนละ 1 กระสอบ
3.มีการทำแผนสนับสนุนและการติดตามผลโครงงานอาชีพ ของผุ้เข้าร่วมโครงการทุกราย รายละ 2 ครั้ง ห่างกัน 3 เดือน ผลสรุปสำคัญ ดังนี้ 1. กิจกรรมเป็นไปตามแผน มีผู้เข้าร่วมเป็นไปตามเป้าหมาย 2. มีการเรียนรู้การทำปุ๋ญหมัก ปุ๋ยอินทรียและการปฎิบัติจริงเพิ่มทักษะแก่ผุ้ที่ยังไม่เคยทำนำไปใช้ในโครงงานของตนเอง พร้อมทั้งสนับสนุนปุ๋ยบางส่วนแก่ผุ้เข้าร่วม เป็นที่พึงพอใจ

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 15 คน จากที่ตั้งไว้ 15 คน
ประกอบด้วย

สมาชิกกลุ่มทำปุ๋ยหมักจำนวน 15 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นาย สุธรรมแก้วประดิษฐ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ประชุมสภาผู้นำเพื่อวางแผนการจัดตั้งกองทุนเกษตรอินทรีย์เพื่อสนับสนุนพันธ์ข้าวพันธ์ผักและพันธ์สัตว์แก่เกษตรกรที่ขาดต้นทุน (ครั้งที่ 6)4 กุมภาพันธ์ 2016
4
กุมภาพันธ์ 2016รายงานจากพื้นที่ โดย มานพ เขียวทอง
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อพูดคุยกรรมการวางแผน หน้าที่ และวิธีปฏิบัติ ในการจัดตั้งกองทุนเกษตรอินทรีย์เพื่อสนันสนุนพันธ์ผักและพันธ์สัตว์แก่เกษตกรที่ขาดต้นทุน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ผู้รับผิดชอบโครงการนัด คณะกรรมการและสภาผู้นำมาประชุมวางแผนทำกิจกรรมการการจัดดตั้งกองทุนเมล็ดพันธ์ผัก โดยคณะกรรมการได้มาพร้อมกันในที่ประชุมณโรงเรียนบ้านท้องลาน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการนัด คณะกรรมการและสภาผู้นำมาประชุมวางแผนทำกิจกรรมการการจัดดตั้งกองทุนเมล็ดพันธ์ผัก โดยคณะกรรมการได้มาพร้อมกันในที่ประชุมณโรงเรียนบ้ารท้องลาน โดยประเด็นการพูดคุยดังนี้ 1.จากสถานการณ์ภัยพิบัติน้ำท่วมที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องเมื่อปี ๒๕๕๔ และปี ๒๕๕๖ ได้ส่งผลต่อความเสียหายต่อครอบครัว บ้านพักอาศัย พืชผัก ผลไม้ และระบบวิถีการผลิตของชุมชนท้องถิ่น โดยเฉพาะเรื่องเมล็ดพันธ์ข้าวปลูกที่จะหว่านดำในปีต่อไปมีไม่เพียงพอต่อความต้องการของประชาชนทำให้เป็นที่มาของการจัดตั้งกองทุนเมล็ดพันธ์ข้าว 2. การสร้างจิตสำนึกของพี่น้องเกษตรกรคนทำนา บ้านเรา ถ้าเรามัวรอความช่วยเหลือจากรัฐบาล หรือองค์กรปกครองท้องถิ่นคงไม่สามารถฟื้นวิถีชีวิตหรือสร้างความมั่นคงทางอาหารได้ เหมือนคำที่ว่า เงินทองเป็นของมายา ข้าวปลาเป็นของจริง ถ้าทุกตำบลมีกองทุนเมล็ดพันธุ์ข้าวอย่างที่เห็นนี้ ก็เกิดความมั่นคงทางอาหารได้อย่างแน่นอน 3. วิธีการ จากการศึกาากลุ่มอื่นๆ ทำโดยการ เงินดอกผลบางส่วนเอาไปซื้อเมล็ดพันธุ์ให้สมาชิกยืม เมื่อเพาะปลูกได้ผลผลิตสมาชิกก็นำมาคืน เป็นการทำบุญ ช่วยเหลือคนระดับรากหญ้า ส่วนข้าวที่ได้จากงานในครั้งนี้จะขายนำเงินเข้ากองทุนสวัสดิการ เพื่อนำไปซื้อเมล็ดพันธุ์ข้าวให้สมาชิกกู้ยืม โดยปีต่อมาให้สมาชิกนำเมล็ดพันธุ์มาคืน ให้เกิดการหมุนเวียนอย่างยั่งยืน ซึ่งกลุ่มท้องลานเห็นว่ารับสมัครสมาชิกและนำมาดัดแปลงทำในท้องลานได้ 4. รับสมัครกลุ่ม มีผู้เข้าร่วมกลุ่ม เบื้องต้น 50 คน

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 15 คน จากที่ตั้งไว้ 15 คน
ประกอบด้วย

สมาชิกสภาผู้นำจำนวน 15 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

สร้างฐานผักลดโรคในฐานเรียนรู้ที่ 3การปลูกผักปลอดสารพิษ30 มกราคม 2016
30
มกราคม 2016รายงานจากพื้นที่ โดย มานพ เขียวทอง
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อให้ผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรมปรับวิธีคิดและเปลี่ยน พฤติกรรมโดยร่วมกันทำในแนวเกษตรอินทรีย์

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เวลา 09.00 น. รับลงทะเบียนผู้เข้าร่วมกิจกรรม เวลา 09.30. น. ผู้ใหญ่บ้านกล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมกิจกรรม แล้วเชิญภาคีเครือข่ายตัวแทนเกษตจังหวัด กล่าวให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรมในเรื่องการทำนาและการปลูกผักใช้น้ำน้อย หลังจากนั้นผู้ใหญ่บ้านกล่าวเชิญหัวหน้าเกษตรอำเภอให้ความรู้ในเรื่องการใช้สารเคมี และ การปลูกผักปลอดสารพิษ เวลา 12.00 น. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมตัวแทนเกษตกรจังหวัด หัวหน้าเกษตรอำเภอและผู้ใหญ่บ้านร่วมรับประทานอาหารเที่ยงพร้อมกัน เวลา 14.00 น. ร่วมกันสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการทำกิจกรรมครั้งนี้

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้ใหญ่บ้านกล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 60 คน แล้วเชิญภาคีเครือข่ายตัวแทนเกษตกรจังหวัด กล่าวให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรมในเรื่องการทำนาและการปลูกผักใช้น้ำน้อย หลังจากนั้นผู้ใหญ่บ้านกล่าวเชิญหัวหน้าเกษตรอำเภอให้ความรู้ในเรื่องการใช้สารเคมี และ การปลูกผักปลอดสารพิษ โดยสรุปบทเรียนการเรียนรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษดังนี้ 1.วัตถุประสงค์การปลูกผักปลอดสารพิษ เพื่อเรียนรู้วิธีการปลูกผักปลอดสารพิษไว้รับประทาน 2)เพื่อเป็นการเพิ่มรายได้และลดรายจ่ายในครัวเรือน และ 3)
เพื่อให้นักเรียนได้น้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในชีวิตประจำวัน 2. ผลผลิตการสร่้างฐานเรียนรู้บ้านท้องลาน จุดเรียนรู้ ที่โรงเรียนบ้านท้องลาน เพื่อ1)เพื่อให้ได้ผักปลอดสารพิษไว้บริโภค 2)ชาวบ้านได้มีความรู้ความสามารถและทักษะการปลูกพืชผักสวนครัว3)เพื่อให้กลุ่มที่สนใจได้ร่วมกันทำกิจกรรมกลุ่มเกิดความปรองดองช่วยเหลือกัน 4)เพื่อให้เด้กๆและผู้ปกครองได้ฝึกทักษะการตลาด 5)เข้าใจความพอประมาณในการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด ความพอประมาณในการใช้เวลาในการแสวงหาความรู้ความพอประมาณในการบริโภคผักปลอดสารพิษ 6) หลักความมีเหตุผลให้ รู้จักใช้เหตุผลตัดสินใจด้วยตนเองอย่างรอบคอบในการทำแปลงเกษตร 7) เห็นคุณค่าของการปลูกพืชผักพื้นบ้านพืชผักสวนครัว 8)หลักการมีภูมิคุ้มกันเมื่อมีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะในการปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภคในครัวเรือน 8)มีความรู้ความเข้าใจและทักษะในการปลูกผักปลอดสารพิษ มีความรู้เกี่ยวกับพันธุ์พืชผักต่างๆ ของไทยทั้งผักพื้นบ้านและผักทั่วไปสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ 9)เงื่อนไขคุณธรรมมีจิตสำนึกในการร่วมมือกันทำกิจกรรมกลุ่ม มีความรับผิดชอบในภาระงานของตนและตรงต่อเวลา 10) มีค่านิยมในการบริโภคพืชผักสวนครัวซึ่งมีประโยชน์ต่อร่างกาย

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 15 คน จากที่ตั้งไว้ 15 คน
ประกอบด้วย

สมาชิกกลุ่มปลูกผักปลอดสารพิษ

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นาย สุธรรมแก้วประดิษฐ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ประชุมสภาผู้นำประชุมปรึกษาหารือในเรื่องการสร้างฐานเรียนรู้การปลูกผักปลอดสารพิษ ( ครั้งที่5)23 มกราคม 2016
23
มกราคม 2016รายงานจากพื้นที่ โดย มานพ เขียวทอง
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อพูดคุยกรรมการวางแผน หน้าที่ และวิธีปฏิบัติจริงใน วันที่ 30 มกราคม 2559 ในการสร้างฐานเรียนรู้การปลูกผักปลอดสารพิษและติดตามผลที่ผ่านมา

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เป็นการประชุมสภาผู้นำครั้งที่5 ซึ่งเป็นการวางแผนเพื่อจัดทำกิจกรรม สร้างฐานเรียนรู้ การปลูกผักปลอดสารพิษและกำหนดบทบาทหน้าที่ของกรรมการแต่ละคนว่าทำอะไร เช่น ผู้ใหญ่บ้านประชาสัมพันธ์ผ้านหอกระจายข่าวเกี่ยวกับกิจกรรมนี้ ผู้รับลงทะเบียนที่เข้าร่วมกิจกรรม ผู้รับผิดชอบด้านอาหาร ผู้รับผิดชอบใบรับสมัครผู้เข้าร่วมกิจกรรม

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เป็นการประชุมสภาผู้นำครั้งที่5ซึ่งเป็นการวางแผนเพื่อจัดทำกิจกรรมสร้างฐานเรียนรู้ การปลูกผักปลอดสารพิษ คนมาร่วมกิจกรรม 15 คน และเชิญ กลุ่มทำนา นายทิพย์ คงวัน ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง และ ผักปลอดสารพิษ นางสุนีย์ คงเกตุ นายสำเริง แซ่ลิ้ม นางวารุณี สุขเงิน มาเป็นตัวหลักในการทำกิจกรรม ประเด็น สรุป คณะกรรมการได้มาพร้อมกันในที่ประชุมณโรงเรียนบ้านท้องลานและกำหนดบทบาทหน้าที่ของกรรมการแต่ละคนว่าทำอะไร เช่น ผู้ใหญ่บ้านประชาสัมพันธ์ผ้านหอกระจายข่าวเกี่ยวกับกิจกรรมนี้ ผู้รับลงทะเบียนป้ที่เข้าร่วมกิจกรรม ผู้รับผิดชอบด้านอาหาร ผู้รับผิดชอบใบรับสมัครผู้เข้าร่วมกิจกรรมโดยกำหนดวันจัดกิจกรรมคือ วันที่ 30 มกราคม 2559

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 15 คน จากที่ตั้งไว้ 15 คน
ประกอบด้วย

สภาผู้นำจำนวน 15 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
สุธรรมแก้วประดิษฐ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ร่วมแรงร่วมกัน สร้างฐานเรียนรู้ที่ 2 การเลี้ยงสัตว์26 ธันวาคม 2015
26
ธันวาคม 2015รายงานจากพื้นที่ โดย มานพ เขียวทอง
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อสร้างฐานเรียนรู้การเลี้ยงสัตว์ และแนะนำวิธีการเลี้ยงสัตว์ การลดต้นทุนอาหารสัตว์ โดยเน้นการรวมกลุ่ผู้ที่เลือกพัฒนาโครงงานประเภทเลี้ยงสัตว์มารวมกลุ่มกันเรียนรู้วิธีการเลี้ยงสัตว์

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เวลา 10.00น. สมาชิกทุกคนลงทะเบียน เวลา 10.20น.ผู้รับผิดชอบโครงการกล่าวต้อนรับสมาชิกทุกคนพร้อมทั้งชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับกิจกรรม สร้างฐานเรียนรู้ การเลี้ยงสัตว์ และผู้รับผิดชอบโครงการมอบเวทีให้กับปศุสัตว์อำเภอให้ความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงสัตว์ให้กับสมาชิกกลุ่มเลี้ยงสัตว์ และช่วยกันแลกเปลี่ยนความคิด ความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงสัตว์ของแต่ละคน ในกิจกรรมนี้ มี กลุ่มเลี้ยงวัวชน เข้ามาร่วมพูดคุยด้วย

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เกษตกรได้รับความรู้เกี่ยวกับการรักษา การเกิดโรคต่าง ๆ ในสัตว์ จากปศุสัตว์อำเภอที่มาให้ความรู้ เนื่องจากเกษตกรยังใช้ภูมิปัญญาเดิมๆในการเลี้ยงสัตว์ ทางโครงการจึงเชิญปศุสัตว์อำเภอมาให้ความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงสัตว์และนำมาประยุกต์ใช้กับทางวิชาการในปัจจุบัน สรุปบทเรียนสำคัญคือ 1.การเลี้ยงไก่ไข่แบบพอเพียงมีหลายแบบ ซึ่งแต่ละแบบก็มีข้อดี ข้อเสียที่แตกต่างกันการเลี้ยงเป็นอาชีพหรือทำเป็นฟาร์มใหญ่ๆนิยมเลี้ยงแบบขังกรง ส่วนการเลี้ยงเพื่อเป็นอาชีพเสริมทำที่บ้านหรือการเลี้ยงไก่ไข่แบบพอเพียงที่นำมาแนะนำ เป็นวิธีเลี้ยงแบบปล่อยในโรงเรือนคล้ายกับการเลี้ยงไก่พื้นเมืองทั่วไป ข้อดีและข้อเสียในการเลี้ยงแบบปล่อยในโรงเรือน มีดังนี้ 2.ขั้นตอนการเลี้ยงปลานิลในบ่อดิน มีดังนี้ 1.) กำจัดวัชพืชและพันธุ์ไม้น้ำต่าง ๆ เช่น กก หญ้า ผักตบชวาให้หมดโดยนำมากองสุมไว้แห้ง แล้วนำมาใช้เป็นปุ๋ยหมักในขณะที่ปล่อยปลาลงเลี้ยง ถ้าในบ่อเก่ามีเลนมากจำเป็นต้องสาดเลนขึ้นโดยนำไปเสริมคัดดินที่ชำรุด หรือใช้เป็นปุ๋ยแก่พืช ผัก ผลไม้ กำจัดศัตรูของปลานิล ได้แก่ ปลาจำพวกกินเนื้อ เช่น ปลาช่อน ปลาชะโด ปลาหมอ ปลาดุก นอกจากนี้ก็มีสัตว์จำพวก กบ เขียด งู เป็นต้น โดยวิธีระบายน้ำออกให้เหลือน้อยที่สุด
2.) การใส่ปุ๋ย ปลานิลจะกินอาหารจำพวกแพลงก์ตอนพืช และสัตว์ แหน สาหร่าย ฯลฯ ดังนั้น ในบ่อเลี้ยงปลาควรให้อาหารธรรมชาติดังกล่าวเกิดขึ้นอยู่เสมอ จึงจำเป็นต้องใส่ปุ๋ยลงไปเพื่อละลายเป็นธาตุอาหาร 3.) อัตราปล่อยปลาเลี้ยงในบ่อดิน ขึ้นอยู่กับคุณภาพน้ำ อาหาร และการจัดการเป็นสำคัญ โดยทั่วไป จะปล่อยลูกปลาขนาด 3-5 ซม. ลงเลี้ยงในอัตรา 1-3 ตัว/ตารางเมตร หรือ 2,000 - 5,000 ตัว/ไร่ 4.) การให้อาหาร การใส่ปุ๋ยเป็นการให้อาหารแก่ปลานิลที่สำคัญมากวิธีหนึ่ง เพราะจะได้อาหารธรรมชาติ ที่มีโปรตีนสูงและราคาถูก
3. การเลี้ยงวัว และการเลี้ยงวัวชน1)วัวชนเป็นวัวพันธุ์พื้นเมืองที่ผู้เลี้ยงคัดเลือกเอาลักษณะดีๆของแต่ละตัวนำมา เลี้ยงเพื่อขุนเป็นวัวชน ปัจจุบันพัฒนามาผสมพันธจากพ่อแม่พันธุ์ดีๆมาผสมแล้วได้ลูกมาเป็นวัวชนเมื่อวัวอายุ 5-6 ปีจัดว่าอยู่ในวัยที่เหมาะสมเต็มที่เหมาะสมที่จะชนเพราะวัวชนที่มีอายุพอเหมาะหรือค่อนข้างมากจะมีร่างก่ายและความอดทนสูงกว่า อายุน้อย2) การเลี้ยงดู เริ่มแรกของวัวต้องนำมาบำรุงเลี้ยงดูเอาใจใส่กำจัดเห็บ ไรโรคผิวหนังถ่ายพยาธิบำรุงร่างกายให้สมบูรณ์เสียก่อน อาหารหลักของวัวคือ หญ้าสด จะนิยมใช้หญ้าในท้องถิ่นและจะให้น้ำวันละ 2-3ครั้งหรืออาจเสริมก้อนเกลือแร่ให้วัวกิน 3)สถานที่หลับนอนสำหรับวัวชนต้องเป็นคอกที่สะอาดพื้นเป็นทรายต้องแห้งวัวต้องนอนหลับสบายมีมุ้งกันยุงหรืออาจก่อกองไฟเพื่อไล่ยุงหรือเพื่อเพิ่มความอบอุ่นให้กับวัวชน4)การออกกำลังกายผู้ดูแลวัวชนจะต้องนำวัวออกกำลังกายตอนเช้ามืดทุกวันเว้นแต่วันที่ก่อนจะซ้อมประมาณ2วันหรือ ก่อนจะชนประมาณ2วันการออกกำลังกายต้องเดินหรือวิ่งอย่างน้อย10 ก.มเมื่อกลับมาผู้ดูแลวัวชนจะนำวัวชนไปพักผ่อนในที่ร่มจนตัวเย็นแล้วนำไปอาบน้ำแล้วจึงนำวัวไปตากแดดกินหญ้า – กินน้ำ แล้วนำไปตากแดดต้องระวังอย่าให้วัวชนโดนฝนเวลาตากแดดเพราะกลัวว่าจะมีปัญหาในเรื่อง สุขภาพเมื่อถึงเวลาประมาณ15.00 น.ก็นำวัวมาพักในที่ร่มให้กินหญ้า – กินน้ำ จากนั้น5) ประกบคู่ที่จะชน โดยนำมาที่สนามที่จะทำการชนเพื่อให้วัวชน ชินกับสนาม(ภาษาใต้เรียกว่าลงที่) แล้วนำกลับมาที่คอกอาบน้ำกินหญ้ากินน้ำกินอาหารเสริม ผู้เลี้ยงวัวชน เล่าประสบการณ์ให้ฟัง บรรยากาศสนุกสนาน เป็นที่สนใจ และ มีการจัดติดนิทรรศการขั้นตอนการเลี้ยงสัตว์แบบต่างๆมาที่รร.ท้องลานที่เป็นฐานเรียนรู้ด้วย

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 15 คน จากที่ตั้งไว้ 15 คน
ประกอบด้วย

สมาชิกกลุ่มเลี้ยงสัตว์ จำนวน 15คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
สุธรรมแก้วประดิษฐ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ประชุมสภาผู้นำเพื่อร่วมกันจัดกิจกรรม แนวคิดการสร้างฐานการเรียนรู้ การเลี้ยงสัตว์ (ครั้งที่4)20 ธันวาคม 2015
20
ธันวาคม 2015รายงานจากพื้นที่ โดย มานพ เขียวทอง
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อให้ผู้นำและแกนนำทั้ง 15 คนช่วยกันขับเคลื่อนในการทำกิจกรรม การสร้างฐานเรียนรู้ การเลี้ยงสัตว์

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เป็นการประชุมสภาผู้นำครั้งที่ 4 ซึ่งเป็นการวางแผนเพื่อจัดทำกิจกรรม สร้างฐานเรียนรู้ การเลี้ยงสัตว์และกำหนดบทบาทหน้าที่ของกรรมการแต่ละคนว่าทำอะไร

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เป็นการประชุมสภาผู้นำครั้งที่ 4 ซึ่งเป็นการวางแผนเพื่อจัดทำกิจกรรมสร้างฐานเรียนรู้ การเลี้ยงสัตว์และกำหนดบทบาทหน้าที่ของกรรมการแต่ละคนว่าทำอะไร เช่น ผู้ใหญ่บ้านประชาสัมพันธ์ผ้านหอกระจายข่าวเกี่ยวกับกิจกรรมนี้ ผู้รับลงทะเบียนป้ที่เข้าร่วมกิจกรรม ผู้รับผิดชอบด้านอาหาร ผู้รับผิดชอบใบรับสมัครผู้เข้าร่วมกิจกรรมโดยกำหนดวันจัดกิจกรรมคือ วันที่ 26 ธันวาคม 2558 เชิญวิทยการเกษตรอำเภอ และกลุ่มผู้เลี้ยงสัตว์บ้านท้องลาน มาพูดคุย

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 15 คน จากที่ตั้งไว้ 15 คน
ประกอบด้วย

สภาผู้นำจำนวน 15 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
สุธรรม แก้วประดิษฐ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

การประชุมร่วมกับ สสส. สจรส.ม.อ. และพี่เลี้ยงผู้ติดตาม(ครัั้งที่2)6 ธันวาคม 2015
6
ธันวาคม 2015รายงานจากพี่เลี้ยง โดย sutham
circle
วัตถุประสงค์

เข้าร่วมประชุมกับสส.สจรสมอ.เเละพี่เลี้ยง(ครั้งที่2)

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ทาง สจรส.แจ้งวัน เวลา สถานที่ประชุม กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม ผ่านทางพี่เลี้ยงโครงการ พี่เลี้ยงโครงการแจ้งผู้รับผิดชอบโครงการ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

พี่เลี้ยงจังหวัด อ.กำไลสมรักษ์ประชุมทีมพี่เลี้ยงซักซ้อมทำความเข้าใจในกิจกรรมวันนี้ ตัวแทนจาก สจรส. ทบทวนกระบวนการจากจุดเริ่มต้นในการพัฒนาโครงการ จนถึงกระบวนการได้มาซึ่งงบประมาณจากทาง สสส. วิธีการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การบันทึกข้อมูลที่ได้จาการจัดกิจกรรม และการบันทึกกิจกรรมลงในเวปไซค์ การจัดกิจกรรมถอดบทเรียน การหักภาษี และร่วมกันฝึกหัดบันทึก ตรวจเอกสารทางด้านการเงิน รูปแบบของใบเสร็จที่ถูกต้อง ฝึกหัดเขียนใบกำกับภาษี ร่วมกันสรุปประเด็นปัญหา

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

ผู้รับผิดชอบโครงการและ จนท.คอมพิวเตอร์

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

การหักภาษี เห็นสมควรให้ทาง สสส.ดำเนินการเองกับทางสรรพกรเพื่อเป็นการลดภาระให้กับชุมชน

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

กิจกรรมที่จะดำเนินการเริ่มจากเดือน ธันวาคม2558 กิจกรรมที่เป็นค่าจ้างเช่น จ้างทำป้าย จ้างทำอาหาร จ้างเหมารถ เป็นต้น ทางโครงการจะต้องหักภาษี1% และดำเนินการจ่ายแทน สสส.หลังจากดำเนินกิจกรรมเสร็จ

การติดตามจาก สจรส มอ. (ครั้งที่2)6 ธันวาคม 2015
6
ธันวาคม 2015รายงานจากพื้นที่ โดย มานพ เขียวทอง
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อติดตามความก้าวหน้าของโครงการโดยทีม สจรส.และพี่เลี้ยง

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เวลา 9.30 น.-12.00 น.ลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรม ฟังบรรยายเรื่องการพัฒนาโครงการ และการเขียนรายงานในระบบเว็ปไซต์ เวลา 12.00 น. ร่วมรับอาหารเที่ยงพร้อมกัน เวลา 13.00 น.-16.00 น. ฟังบรรยายเรื่องการเขียนรายงานทางการเงินการหักภาษี ณ ที่จ่าย และฝึกปฏิบัติ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการและเจ้าหน้าที่คอมพิวเตอร์เข้าร่วมฟังบรรยายเรื่องการพัฒนาโครงการ
การเขียนรายงานในระบบเว็ปไซต์และเรื่องการหักเงินภาษี ณ ที่จ่าย จนเข้าใจและสามารถปฏิบัติได้ พี่เลี้ยงช่วยจรวจสอบและบันทึกกิจกรรมเชิงคุฯภาพให้เพื่อความครบถ้วน

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

ผู้รับผิดชอบโครงการ จำนวน1 คน เจ้าหน้าที่คอมพิวเตอร์ จำนวน 1 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นาย สุธรรม แก้วประดิษฐ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

สร้างฐานเรียนรู้ที่ 1 (1ไร่ 1 แสนแบบเกษตรอินทรีย์)28 พฤศจิกายน 2015
28
พฤศจิกายน 2015รายงานจากพื้นที่ โดย มานพ เขียวทอง
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อให้เกษตรกรปรับวิธีคิดและเปลี่ยนพฤติกรรมโดยร่วมกันทำเกษตรอินทรีย์

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เริ่มประชุมเวลา 09.00 โดยนาย มนพ เขียวทองกล่าวต้อนรับเกษตกรที่เข้าร่วมโครงการและผู้รับผิดชอบโครงการชี้แจงรายละเอียดต่างๆเกี่ยวกับกิจกรรม สร้างฐานเรียนรู้ 1ไร่ 1แสนและร่วมกันวางแผนรายละเอียดของกิจกรรม

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เริ่มประชุมเวลา 09.00 โดยนาย มนพ เขียวทอง กล่าวต้อนรับเกษตกรที่เข้าร่วมโครงการและผู้รับผิดชอบโครงการชี้แจงรายละเอียดต่างๆเกี่ยวกับกิจกรรม สร้างฐานเรียนรู้ 1ไร่ 1แสน และร่วมกันวางแผนรายละเอียดของกิจกรรม เช่น การปลูกผัก เลี้ยงสัตว์การทำเกษตรแบบผสมผสาน

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 15 คน จากที่ตั้งไว้ 15 คน
ประกอบด้วย

เกษตกรที่สมัครเข้าร่วมโครงการจำนวน 15 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
สุธรรม แก้วประดิษฐ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ประชุมสภาผู้นำเพื่อร่วมกันจัดกิจกรรม แนวคิดการสร้างฐานการเรียนรู้ 1 ไร่1แสน(ครั้งที่3)20 พฤศจิกายน 2015
20
พฤศจิกายน 2015รายงานจากพื้นที่ โดย มานพ เขียวทอง
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อให้ผู้นำและแกนนำทั้ง 15 คนช่วยกันขับเคลื่อนในการทำกิจกรรม การสร้างฐานเรียนรู้ 1 ไร่ 1 แสน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประชุมสภาผู้นำ ครั้งที่3 จำนวน 15 คนเพื่อเตรียมตัวจัดกิจกรรมสร้างฐานเรียนรู้ 1 ไร่ 1 แสน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เป็นการประชุมสภาผู้นำครั้งที่ 3 ซึ่งเป็นการวางแผนเพื่อจัดทำกิจกรรม สร้างฐานเรียนรู้ 1 ไร่ 1 แสน และกำหนดบทบาทหน้าที่ของกรรมการแต่ละคนว่าทำอะไร เช่น ผู้ใหญ่บ้านประชาสัมพันธ์ผ่านหอกระจายข่าวเกี่ยวกับกิจกรรมนี้ ผู้รับลงทะเบียนผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรม ผู้รับผิดชอบด้านอาหาร ผู้รับผิดชอบใบรับสมัครผู้เข้าร่วมกิจกรรมโดยกำหนดวันจัดกิจกรรมคือ วันที่ 28 พฤศจิกายน 2558

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 15 คน จากที่ตั้งไว้ 15 คน
ประกอบด้วย

สภาผู้นำนำทั้ง 15 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
สุธรรม แก้วประดิษฐ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

.จัดเวทีระดมสมองเรื่องการฟื้นโรงเรียนร้าง สร้างสุขด้วยเกษตรอินทรีย์20 ตุลาคม 2015
20
ตุลาคม 2015รายงานจากพี่เลี้ยง โดย sutham
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อให้เกษตรกรปรับวิธีคิดและเปลี่ยนพฤติกรรมโดยร่วมกันทำเกษตรอินทรีย์

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ชี้แจงโครงการและรับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน100คน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เริ่มกิจกรรมโดยนายมานพเขียวทองผู้ใหญ่บ้านกล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมประชุมและพันโท สุพิธสาระมาศ ที่ปรึกษาโครงการ เล่าถึงประสบการณ์การทำงานร่วมกับชุมชน การบูรณาการร่วมกับแผนชุมชน ทิศทางความคาดหวังในการเป็นชุมชนเกษตรอินทรีย์ นาย สุชีพจันทร์แก้ว นายกอบต.ควนชะลิกเครือข่ายผู้เข้าร่วมประชุุมกล่าวว่าปีหน้านั้นทางตำบลควนชะลิกอยากจะส่งเสริมให้ชาวบ้านในชุมชนของตนเองใด้ทำงานร่วมกับ สสส.ซึ่งตนจะนำเอาแนวทางนี้ไปปรับใช้ ทำความเข้าใจกับชาวบ้านในการขอรับงบประมาณจาก สสส.ในปีงบประมาณต่อไป และช่วงบ่าย อ.สุธรรมแก้วประดิษฐ์ ในฐานะพี่เลี้ยงโครงการ แจ้งวัตถุประสงค์ของโครงการ ที่ไปที่มาของ สสส. แนวทางการดำเนินกิจกรรม คลี่กิจกรรมอธิบายรายละเอียดแต่ละกิจกรรม ระเบียบการเงิน การรายงานนาย ณรงค์ประแจผู้รับผิดชอบโครงการให้ผู้เข้าร่วมโครงการเซ็นใบสมัครเข้าร่วมโครงการและดำเนินกิจกรรมโดยจัดเวทีระดมสมองชาวบ้านประมาณ 100 คนเรื่องการนำโรงเรียนร้าง มาเป็นทุนในการจัดตั้งฐานการเรียนรู้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงของหมู่บ้านเพื่อระดมแนวคิดการจัดตั้งฐานเรียนรู้ในชุมชน และนัดวันการช่วยกันจัดตั้งฐานเรียนรู้ ในโรงเรียน วันละ 1ฐาน รวมจำนวน 5 วัน แบ่งกลุ่มกันกลุุ่มละประมาณ 10-15คน เพื่อร่วมรับผิดชอบในการสร้างฐานการเรียนรู้ ให้ผู้ร่วมโครงการทุกคนเขียนโครงงานอาชีพนำเสนอ โครงงานอาชีพของตนเองที่จะทำการพัฒนาตลอดเวลา1ปีที่ร่วมโครงการ เพื่อให้คณะกรรมการโครงการคัดเลือกตามความเหมาะสมและความพร้อมของตนเอง นาย สมศักดิ์ จันทร์แก้ว ซึ่งเป็นนักศึกษามหาลัยชีวิตได้แสดงความคิดเห็น และแสดงเจตจำนงค์จะพาเพื่อนนักศึกษามาร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในโอกาสต่อไปและหากทางกลุ่มต้องการจะให้นักศึกษามาร่วมจัดกระบวนการเรียนรู้ก็ยินดีเป็นอย่างยิ่ง ตัวแทนผู้เข้าร่วมโครงการกล่าวขอบคุณ

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 100 คน จากที่ตั้งไว้ 100 คน
ประกอบด้วย

ชาวบ้านบ้านท้องลาน ฝ่ายบริหาร อบต.ท้องลำเจียกและนายก ต.ควนชะลิกและ ตัวแทนนักศึกษาจากสถาบันการเรียนรู้เพื่อปวงชน(มหาลัยชีวิต)รวมจำนวน100คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ให้ผู้เข้าร่วมโครงการทุกคนช่วยกันดำเนินกิจกรรมให็เป็นไปตามแผนที่วางเอาไว้ เพื่อให้โรงเรียนกลับมามีชีวิต

จัดเวทีระดมสมองเรื่องการฟื้นโรงเรียนร้าง สร้างสุขด้วยเกษตรอินทรีย์20 ตุลาคม 2015
20
ตุลาคม 2015รายงานจากพื้นที่ โดย มานพ เขียวทอง
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อให้เกษตรกรปรับวิธีคิดและเปลี่ยนพฤติกรรมโดยร่วมกันทำเกษตรอินทรีย์

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ชี้แจงโครงการและรับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เริ่มกิจกรรมโดยนายมานพ เขียวทอง ผู้ใหญ่บ้านกล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมประชุม เล่าถึงประสบการณ์การทำงานร่วมกับชุมชน การบูรณาการร่วมกับแผนชุมชน ทิศทางความคาดหวังในการเป็นชุมชนเกษตรอินทรีย์และ อ.สุธรรมแก้วประดิษฐ์ ในฐานะพี่เลี้ยงโครงการ แจ้งวัตถุประสงค์ของโครงการ ที่ไปที่มาของ สสส. แนวทางการดำเนินกิจกรรม อธิบายรายละเอียดแต่ละกิจกรรม ระเบียบการเงิน การรายงาน นายณรงค์ ประแจ ผู้รับผิดชอบโครงการให้ผู้เข้าร่วมโครงการเขียนใบสมัครเข้าร่วมโครงการและดำเนินกิจกรรมโดยจัดเวทีระดมสมองชาวบ้านประมาณ 100 คนเรื่องการนำโรงเรียนร้าง มาเป็นทุนในการจัดตั้งฐานการเรียนรู้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงของหมู่บ้านเพื่อระดมแนวคิดการจัดตั้งฐานเรียนรู้ในชุมชน และนัดวันการช่วยกันจัดตั้งฐานเรียนรู้ ในโรงเรียน วันละ 1ฐาน รวมจำนวน 5 วัน แบ่งกลุ่มกันกลุุ่มละประมาณ 10-15คน เพื่อร่วมรับผิดชอบในการสร้างฐานการเรียนรู้ และนายก อบต.ควนชะลิกสนใจที่จะร่วมโครงการในปีหน้า และนาย สมศักดิ์จันทร์แก้ว ตัวแทนนักศึกษาจากสถาบันการเรียนรู้เพื่อปวงชน(มหาลัยชีวิต)จะนำเรื่องราวการประชุมใปแจ้งให้เพื่อนๆนักศึกษาทราบหากชุมชนใดสนใจเขียนโครงการในปีหน้า

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 100 คน จากที่ตั้งไว้ 100 คน
ประกอบด้วย

ชาวบ้านบ้านท้องลาน ฝ่ายบริหาร อบต.ท้องลำเจียกและนายก ต.ควนชะลิกและ ตัวแทนนักศึกษาจากสถาบันการเรียนรู้เพื่อปวงชน(มหาลัยชีวิต)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นาย สุธรรมแก้วประดิษฐ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ประชุมสภาผู้นำเพื่อเตรียมเปิดตัวโครงการ( ครั้งที่2)19 ตุลาคม 2015
19
ตุลาคม 2015รายงานจากพื้นที่ โดย มานพ เขียวทอง
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อพัฒนาสภาผู้นำชุมชนและผู้นำอย่างต่อเนื่อง

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประชุมสภาผู้นำ ( ครั้งที่2) จำนวน 15 คน เพื่อวางแผนเตรียมกิจกรรมเปิดตัวโครงการ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เป็นการประชุมสภาผู้นำครั้งที่2 ซึ่งเป็นการวางแผนเพื่อเปืดตัวโครงการและวางแผนงาน กำหนดบทบาทหน้าที่ของกรรมการแต่ละคน เช่น ให้ผู้ใหญ่บ้านประชาสัมพันธ์ผ่านหอกระจายข่าว ผู้รับลงทะเบียนผู้เข้าร่วมกิจกรรม ผู้รับผิดชอบทางด้านการทำอาหาร ผู้รับผิดชอบการทำแผ๋นพับโครงการและใบรับสมัครเข้าร่วมโครงการ โดยกำหนดจัดกิจกรรม วันที่20ตุลาคม 2558 และมีพี่เลี้ยงโครงการมาร่วมกิจกรรมทำความเข้าใจแก่ผู้ร่วมโครงการด้วย

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 15 คน จากที่ตั้งไว้ 15 คน
ประกอบด้วย

สภาผู้นำจำนวน 15คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
อาจารย์ สุธรรม แก้วประดิษฐ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ทำป้ายสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่ และป้ายโครงการ18 ตุลาคม 2015
18
ตุลาคม 2015รายงานจากพื้นที่ โดย มานพ เขียวทอง
circle
วัตถุประสงค์

รณรงค์ ลด ละ เลิก สารเสพติด เพื่อสุขภาพที่แข็งแรง

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ศึกษาข้อมูลการทำป้าย
  2. นำข้อมูลไปทำป้าย
  3. ติดป้าย ที่สำนักงานโครงการ
  4. รณรงค์ต่อต้าน การสูบบุหรี่สำหรับผู้ร่วมโครงการ
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้ร่วมโครงการรู้และเข้าใจ ในนโยบายของ สสส. พร้อมให้ความร่วมมือในการ ลด ละ เลิก บุหรี่

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

ผู้รับผิดชอบโครงการ

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ปัญหา สำหรับบุคคลที่เลิกไม่ได้ ไม่เห็นด้วยกับแนวทาง ประมาณ 5% แนวทางแก้ไข พูดคุยให้ความรู้ถึงโทษของบุหรี่

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
สุธรรม แก้วประดิษฐ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

การลด ละ เลิก สารเสพติดในชุมชนต้องใช้ระยะเวลาในการดำเนินงาน

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

เรื่องการประชาสัมพันธ์ การนำผู้รู้มาให้ความรู้อยู่เรื่อยๆ

ปฐมนิเทศโครงการ จำนวน 2วัน3 ตุลาคม 2015
3
ตุลาคม 2015รายงานจากพี่เลี้ยง โดย sutham
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อให้โครงการได้เข้าร่วมกิจกรรมกับทาง สสส.

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เจ้าหน้าที่ จาก สจรส.มอ และทีมวิชาการ จ.นครศรีธรรมราช จ.สุราษฎานี จ.ชุมพร ร่วมกันดำเนินการ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จัดปฐมนิเทศจำนวน2วัน ที่ ม.วลัยลักษณ์โดยให้ผู้รับผิดชอบโครงการและ จนท.คอมพิวเตอร์ของโครงการเข้าร่วมประชุมเชิงปฎิบัติการ เพื่อซักซ้อมทำความเข้าใจ ในเรื่องของการรายงานผ่านทางเวปไซค์ การลงรายละเอียดกิจกรรม ปฎิทินโครงการ การลงบันทึกกิจกรรม ระบบระเบียบการเงิน

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

ผูัรับผิดชอบโครงการและ จนท.คอมพิวเตอร์ของโครงการ

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

การบันทึกข้อมูลในแต่ละกิจกรรมจะต้องให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ

ปฐมนิเทศโครงการ(ครั้งที่1)3 ตุลาคม 2015
3
ตุลาคม 2015รายงานจากพื้นที่ โดย มานพ เขียวทอง
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อการบริหารจัดการโครงการสู่ความสำเร็จ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เริ่ม บ่ายโมงวิทยากร ( อ.พงษ์เทพ) กล่าวเกี่ยวกับที่มาที่ไป สสส ที่มาที่ไปจากการนำภาษีของมาใช้ เช่นภาษีเหล้า บุหรี่
ชุมชนน่าอยู่ผลที่อยากได้จากการที่โครงการสำเร็จ

กิจกรรมวันนี้

  • ลงข้อมูลใน เวป (ระบบติดตามประเมินผล)
  • ปรับตัวชี้วัดให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
  • ปรับกิจกรรมให้ตอบตัวชี้วัด
  • การบริหารจัดการโครงการสู่ความสำเร็จ
  • บันทึกสรุปรายงานงวดหลักฐานการเงินงวด
  • การถอดบทเรียน (สังเคราะห์บทเรียน)
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เริ่ม บ่ายโมงวิทยากร ( อ.พงษ์เทพ) กล่าวเกี่ยวกับที่มาที่ไป สสส ที่มาที่ไปจากการนำภาษีของมาใช้ เช่นภาษีเหล้า บุหรี่ เช่น เก็บ 100 แต่เก็บมา 102 นำ๒ บาท มาใช้ใน สสส

ชุมชนน่าอยู่ผลที่อยากได้จากการที่โครงการสำเร็จ คือ ชุมชนเข้มแข็งขึ้นชุมชนจัดการตนเองได้รู้จักใช้ข้อมูล วางแผนทำงานเป็นขั้นตอนบริหารคนมีกลไกการขับเคลื่อนชุมชนมีธรรมาภิบาลโปร่งใส ตรวจสอบได้ถ้าปีนี้แสดงให้ สสส เห็นได้ว่ามีสิ่งเหล่านี้ปีหน้าก็ได้รับการสนับสนุนอีก

สจรส มอ. สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พี่เลี้ยงระดับจังหวัดหนุนเสริมช่วยตัวช่วยไม่ใช่ตรวจสอบ

กิจกรรมวันนี้ ลงข้อมูลใน เวป (ระบบติดตามประเมินผล) ๑ปรับตัวชี้วัดให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ๒ปรับกิจกรรมให้ตอบตัวชี้วัด ๓ กิจกรรมที่ต้องลงคือ ๓.๑ปฐมนิเทศ วันนี้ ๓.๒ การประชุมชี้แจงชุมชน พี่เลี้ยงลงครั้งที่ ๑ ๓.๓ต้องมีการรายงานผลการดำเนินงานเกี่ยวกับที่ประชุม จากกรรมการหมู่บ้าน/ชุมชนและการปิดงวดแต่ละครั้งต้องแนบรายงานของคณะกรรมการหมู่บ้าน/ชุมชน ๓.๔ การลงของพี่เลี้ยงอีกอย่างน้อย ๒ครั้ง - ปิดงวด -สังเคราะห์ /ทำรายงาน ๓.๕ การให้ สจรส ตรวจสอบ
๓.๖ กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้(อย่างน้อย สามครั้ง) -การทำเอกสารการเงิน = ๒ เดือน (อย่างน้อย สองเดือนครั้ง) -การปิดงวด ๑ (เชิญพวกเรามาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกี่ยวกับปัญหาต่างๆ) -การปิดโครงการ (ฝึกวิธีการสังเคราะห์เกี่ยวกับโครงการ) อาจมีงานสุดท้ายคืองานสร้างสุขเพื่อสรุปและแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับโครงการที่ทำ

การบริหารจัดการโครงการสู่ความสำเร็จ (อ.กำไร)(ก่อนการทำขณะทำหลังทำ (กิจกรรม) (พูดเกี่ยวกับเชิงเทคนิค ในการทำโครงการ ) แลกเปลี่ยนเรียนรู้ พัฒนาทีมจัดการสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อสุขภาวะกลไกการจัดการเพื่อให้เกิดการจัดการตนเองได้ชุมชนเข้มแข็ง) ๑ เตรียม - ทีมผู้รับผิดชอบโครงการ ทีมร่วมทั้งหมด (ยังอยู่ครบเจ็ดคนมั้ย) เน้น ที่ผู้ใหญ่บ้านต้องรับทราบ และ (ควรมีผู้จดบันทึกการทำกิจกรรมต่างๆ ในโครงการด้วย เพื่อนำมาลงข้อมูลในเวปต้องมีผู้ทำเกี่ยวกับการเงิน ผู้ถ่ายรูป - ข้อมูลในโครงการ แผนงานในหมู่บ้าน (ดูสิว่าโครงการของเราที่เขียนไปต้องมีการปรับมั้ย ) พื้นที่ในโครงการ นอกโครงการ ๒ ปฏิบัติ(เทคนิคที่ใช้ในการทำที่ดีที่สุด คือ การบอกปากต่อปากการทำปฏิทินเพื่อประชาสัมพันธ์ให้คนในชุมชนรู้) ประชุม ทีม(ทำความเข้าใจในโครงการ ทีมนำ ทีมทำ ทีมร่วม ทีมหนุนเสริม) บันทึกงาน หลักฐานการเงิน รายครั้ง ๓ ทบทวนทำต่อ บันทึกสรุปรายงานงวดหลักฐานการเงินงวด

การประกอบการเบิกจ่าย.ใบสำคัญรับเงิน ต้องมีสามลายเซ็น ยกตัวอย่างค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มค่าวิทยากร ค่าประสานงานค่าเดินทาง
การเบิกเงิน จะเบิกเงินเท่าไรยอดเงินดูจากการทำกิจกรรมในแต่ละเดือนรวมกันแต่ต้องถือเงินในมือไม่เกิน ๕๐๐๐ บาท

การถอดบทเรียน (สังเคราะห์บทเรียน) คือการทำหนังสือหนึ่งเล่มเมื่อทำโครงการแล้วปีละเล่ม เป็นการทบทวนครุ่นคิดอย่างสร้างสรรค์ ในสิ่งที่ทำ (เทคนิคการถ่ายรูป ควรมีลักษณะการเคลื่อนไหวในภาพตัวอย่างภาพ เต้นไม้พลอง มีชีวิตชีวา ภาพต้องเล่าเรื่องได้มีชีวิตชีวารูปที่ถ่ายยืนเรียงกันรวมกลุ่มเหมือนเช็คชื่อไม่ควรมีมาก)

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

ผู้รับผิดชอบโครงการพร้อมด้วยเจ้าหน้าที่คอมพิวเตอร์จำนวน 2 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

1.ห้องน้ำไม่ค่อยสะดวก 2.อินเตอร์เน็ตล่าช้า

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
สุธรรม แก้วประดิษฐ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-อยากได้ห้องที่มีสัญญาน wifi ที่เร็วและแรง

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-ต้องการให้ระบบอินเตอร์เน็ต

ประชุมสภาผู้นำ(ครั้งที่1)30 กันยายน 2015
30
กันยายน 2015รายงานจากพื้นที่ โดย มานพ เขียวทอง
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อให้เกิดแกนนำในชุมชนในรูปแบบของสภาผู้นำ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ผู้รับผิดชอบโครงการชี้แจงรายละเอียด
  2. สมาชิกสภาซักถามทำความเข้าใจโครงการ
  3. คณะกรรมการชี้แจงรายละเอียดกิจกรรม
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. สมาชิกสภามีความรู้ ความเข้าใจ และมีความภูมิใจที่ได้มีส่วนร่วมในการพัฒนากิจกรรมในชุมชน
  2. ลงมติให้การสนับสนุนการดำเนินงานโครงการ และมีจิตอาสาในการดำเนินงาน
  3. การเห็นความสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ เน้นการประกอบอาชีพในชุมชนเป็นฐานการเรียนรู้
  4. สภาเห็นด้วยกับการนำโรงเรียนบ้านท้องลาน พัฒนาสู่แหล่งเรียนรู้ด้านอาชีพ
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 15 คน จากที่ตั้งไว้ 15 คน
ประกอบด้วย

สภาผู้นำ 15คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

  ปัญหา เกษตรกรขาดความรู้และความเข้าใจ เกี่ยวกับรายละเอียดของโครงการ
แนวทางแก้ไข เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับรายละเอียดของโครงการด้วยแผ่นพับ

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
อาจารย์ สุธรรม แก้วประดิษฐ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ให้คณะกรรมการเผยแพร่ความรู้สู่ชุมชนอย่างต่อเนื่อง

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ต้องการให้พี่เลี้ยงช่วยประชาสัมพันธ์ต่อชุมชน