directions_run

บ้านมะนังเข้มแข็งด้วยเศรษฐกิจพอเพียงที่ยั่งยืน

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ บ้านมะนังเข้มแข็งด้วยเศรษฐกิจพอเพียงที่ยั่งยืน
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 58-03923
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 กันยายน 2015 - 15 ตุลาคม 2016
งบประมาณ 213,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นาง วรรณา ส่งศรี
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 096-2792490,084-3178163
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวนภาภรณ์ แก้วเหมือน
พื้นที่ดำเนินการ บ้านมะนัง หมู่ที่ 5 ตำบลปาล์มพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด 7.0522566809591,99.924291372316place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 ก.ย. 2015 15 ก.พ. 2016 15 ก.ย. 2015 27 ก.พ. 2016 85,200.00
2 16 ก.พ. 2016 15 ส.ค. 2016 28 ก.พ. 2016 31 ต.ค. 2016 106,500.00
3 16 ส.ค. 2016 15 ต.ค. 2016 21,300.00
รวมงบประมาณ 213,000.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมในชุมชน
  1. เกิดแกนนำหมู่บ้านในการขับเคลื่อนให้เกิดสภาผู้นำชุมชน เป้าหมาย จำนวน 20 คน
  2. มีสภาผู้นำชุมชนเกิดขึ้นในชุมชน
  3. สภาผู้นำชุมชนขับเคลื่อนกิจกรรมที่ได้รับมอบหมายประสบผลสำเร็จได้ตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ร้อยละ 90
  4. คนในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมตามแผนในการดำเนินตามโครงการ 100%
  5. สภาผู้นำชุมชนมีการประชุมร่วมกันทุกเดือน จำนวน 12 ครั้ง
2 เพื่อให้เกิดแผนชุมชนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการเพิ่มรายได้ ด้านลดรายจ่าย ด้านการออม และด้านชุมชนเอื้ออาทร
  1. จำนวนแกนนำหมู่บ้านมีส่วนร่วมในการทำแผน ร้อยละ 80
  2. เกิดแผนงานด้านเศรษฐกิจพอเพียงของหมู่บ้าน ครอบคลุม ด้านเพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย เกิดการออมและชุมชนเอื้ออาทร
  3. ตัวแทนครัวเรือนในชุมชนมีส่วนร่วมในการดำเนินตามโครงการ 100%
3 เพื่อลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ และเกิดการออมในครัวเรือน
  1. ครัวเรือนที่เข้าร่วมเป็นครัวเรือนต้นแบบสามารถเพิ่มรายได้ขึ้นจากเดิมจำนวน 20ครัวเรือน
  2. ครัวเรือนที่เข้าร่วมเป็นครัวเรือนต้นแบบสามารถลดรายจ่ายได้จากเดิม จากเดิมจำนวน 20ครัวเรือน
  3. เกิดกลุ่มออมทรัพย์ กลุ่มเพื่อการเกษตร กลุ่มส่งเสริมอาชีพเสริม หรือกลุ่มที่ส่งเสริมด้านเศรษฐกิจของหมู่บ้านอย่างน้อย 1 กลุ่ม
  4. เกิดชุดข้อมูลรายจ่ายและรายได้มวลรวมของหมู่บ้าน
4 เพื่อให้เกิดการเอื้ออาทรแบ่งปัน สืบสานภูมิปัญญาและวัฒนธรรมชุมชน
  1. เกิดระเบียบกติกาหมู่บ้านในการดำรงชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
  2. เกิดกลุ่มอนุรักษ์ภูมิปัญญา อย่างน้อย 1 กลุ่ม
  3. เกิดกิจกรรมส่งเสริมศาสนานำทางชีวิตด้วยศีลห้าในชุมชนอย่างต่อเนื่อง
5 กลไกชุมชนเข้มแข็ง
  1. เกิดสภาผู้นำชุมชน
  2. มีเวทีประชุมสภาผู้นำชุมชน เดือนละ 1 ครั้ง
  3. มีการประชุมร่วมกับภาครัฐ 12 ครั้ง/ปี
  4. มีกิจกรรมลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ในครัวเรือน
6 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ
  1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด
  2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม
  3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม
  4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 29 พ.ค. 2015 22:50 น.