directions_run

สานใจคนสามวัย ร่วมสร้างบ้านโคกเมืองให้น่าอยู่ด้วยวิถีวัฒนธรรมชุมชน

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ สานใจคนสามวัย ร่วมสร้างบ้านโคกเมืองให้น่าอยู่ด้วยวิถีวัฒนธรรมชุมชน
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 58-03850
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 กันยายน 2015 - 15 ตุลาคม 2016
งบประมาณ 213,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นาย ธานินทร์ แก้วรัตน์
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 089-9768238,089-9768238
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ อารีย์ สุวรรณชาตรี
พื้นที่ดำเนินการ ชุมชนบ้านโคกเมือง หมู่ที่ 12 ต.บางเหรียง อ.ควนเนียง จ.สงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 ก.ย. 2015 15 ก.พ. 2016 15 ก.ย. 2015 15 ก.พ. 2016 85,200.00
2 16 ก.พ. 2016 15 ส.ค. 2016 16 ก.พ. 2016 15 ต.ค. 2016 106,500.00
3 16 ส.ค. 2016 15 ต.ค. 2016 21,300.00
รวมงบประมาณ 213,000.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้เกิดการบริหารการจัดการ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม โดยชุมชนมีส่วนร่วม
  1. ร้อยละ 80 คนในชุมชนทั้งสามวัย มีความรู้ ความเข้าใจ และเข้าร่วมกิจกรรมการอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งของชุมชน
  2. เกิดรูปแบบในการอนุรักษ์ทางทะเลและชายฝั่ง ประกอบด้วย
    • ร่างกติกาข้อตกลงของชุมชนในการบริหารจัดการทรัพยากรโดยชุมชนมีส่วนร่วม และป้ายเขตอนุรักษ์ จำนวน 4 ป้าย
    • ร้อยละ 70 มีการเพิ่มของต้นลำพู ซึ่งเป็นไม้ป่าริมเล
    • ร้อยละ 80มีการเพิ่มขึ้นของปริมาณสัตว์น้ำ เช่น พันธุ์ปลา พันธุ์กุ้งในเขตอนุรักษ์ฟาร์มทะเล
    • ร้อยละ 80 มีการทิ้งอีเอ็มบอลและทำซั้งบ้านปลาในแนวเขตอนุรักษ์ และพื้นที่ทะเลสาสงขลา
      ( ซั้งบ้านปลา คือ ปะการังเทียม ที่นำเอาวัสดุที่มีอยู่ในท้องถิ่น เช่น ไม้ใฝ่,ทางมะพร้าวมาเป็นวัสดุ โดยมัดรวมกัน คล้ายกับสุ่ม แล้วนำไปวางในพื้นที่ทะเลสาบสงขลา )
2 เพื่อสร้างการเรียนรู้ ในวิถีวัฒนธรรมชุมชน ผ่านคนสามวัย
  1. ร้อยละ 70 คนในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชนเพิ่มมากขึ้น (ดูจากสมุดบันทึกความดี และสมุดรายงานการประชุมหมู่บ้าน)
  2. ร้อยละ 70คนในชุมชนทั้งสามวัยสามารถใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนวิถีวัฒนธรรมชุมชน มาใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันได้
  3. คนในชุมชนมีความรู้ และเกิดทักษะในการประกอบอาชีพ ทำให้เกิดกลุ่มอาชีพ จำนวน 4 กลุ่มๆละ 10 ครัวเรือน ในระยะแรก และขยายเพิ่มเป็น 40 ครัวเรือน หลังสิ้นสุดโครงการ ทำให้มีรายได้เพิ่มขึ้น (ดูจากบัญชีครัวเรือน)
3 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ
  1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด
  2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม
  3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม
  4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด
4 เพื่อให้เกิดสภาผู้นำที่เข้มแข็ง
  1. เกิดสภาผู้นำชุมชน หรือ สภาเขตบ้าน ที่เป็นทางการและไม่ทางการ ที่มาจากองค์กรและกลุ่มต่างๆในชุมชน จำนวน40 คน เป็นกลไกขับเคลื่อนการดำเนินงานโครงการ
  2. มีการประชุม การติดตามและประเมินผลโครงการ เดือนละ 1ครั้ง จำนวน 10 เดือน และบันทึกการประชุมทุกครั้ง โดยการประชุมทุกครั้งมีการปรึกษาหารือเรื่องโครงการและเรื่องอื่นๆของชุมชน
  3. แต่ละครั้งมีผู้เข้าร่วม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80และสภาผู้นำต้องมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 31 พ.ค. 2015 00:46 น.