directions_run

หมู่บ้านยะออ ชุมชนเข้มแข็ง สุขภาพกายใจดี ชีวีมีสุข

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ หมู่บ้านยะออ ชุมชนเข้มแข็ง สุขภาพกายใจดี ชีวีมีสุข
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 58-03994
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 กันยายน 2015 - 15 ตุลาคม 2016
งบประมาณ 180,900.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นาง แวนูรียะห์ สาและ
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 0980702670
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นางเพียงกานต์ เด่นดารา
พื้นที่ดำเนินการ บ้านยะออ ม.1 ต.จะแนะ อ.จะแนะ จ.นราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 ก.ย. 2015 15 ก.พ. 2016 15 ก.ย. 2015 26 ก.พ. 2016 72,360.00
2 16 ก.พ. 2016 15 ส.ค. 2016 27 ก.พ. 2016 15 ต.ค. 2016 90,450.00
3 16 ส.ค. 2016 15 ต.ค. 2016 18,090.00
รวมงบประมาณ 180,900.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.มีสภาผู้นำที่เข้มแข็ง

1.มีสมาชิกสภาจำนวน 30 คน 2.มีการประชุมสภาทุกเดือน 3.สมาชิกสภาเข้าร่วมการประชุมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

2 1. พัฒนาศักยภาพของแกนนำและคณะทำงานในการจัดการข้อมูลสุขภาพของชุมชน
  1. มีกลุ่มแกนนำเยาวชน จำนวน 30 คนที่มีทักษะในการจัดเก็บข้อมูล
  2. มีฐานข้อมูลและสถานการณ์ปัญหาสุขภาพของชุมชนบ้านยะออ
3 1. พัฒนาคนในชุมชนให้มีความรู้ ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ค่านิยมความเชื่อ มีการบูรณาการความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากตามบริบทชุมชน เพื่อให้สามารถดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัวได้
  1. ผู้ปกครองเด็กอายุ2-3 ปี จำนวน 50 ครอบครัว มีความรู้ ความเข้าใจและทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและลูกได้
  2. กลุ่มแกนนำเยาวชนจำนวน 30 คน สามารถเป็นแบบอย่างในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ดีในชุมชนยะออได้ 3.ผู้ปกครองและกลุ่มเยาวชนสามารถเป็นแบบอย่างในการเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพในชุุมชนยะออได้
  3. ชุมชนยะออมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ดีต่อสุขภาพ สามารถจัดการปัญหาสุขภาพของตนเองและครอบครัวได้ 5.กลุ่มแม่บ้าน จำนวน 30 ครอบครัวมีความรู้ในการประกอบอาหารที่ดีต่อสุขภาพ เพื่อลดโรคและภาวะเสี่ยงต่างๆ 6.มีครอบครัวสุขภาพฟันดีในชุมชนยะออ
4 1. พัฒนาให้มีการสร้างเสริมสุขภาพในรร.ตาดีกา
  1. มีฮูกมปากัตในชุมชนเกี่ยวกับการจัดระเบียบรร.ตาดีกา
  2. จัดตั้งร้านค้าปลอดขนมขยะ ลูกอม น้ำอัดลม ในร.ร.ตาดีกา 3.มีการแปรงฟันร่วมกันก่อนปฏิบัติศาสนกิจในรร.ตาดีกา 4.ครูสอนศาสนามีความรู้และเป็นแบบอย่างในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ดี 5.มีการบูรณาการการดูแลสุขภาพในหลักสูตรการสอนศาสนารร.ตาดีกา
5 1.พัฒนาศักยภาพของผู้นำศาสนาในการดูแลสุขภาพ

1.โต๊ะอีหม่ามและผู้นำศาสนาสามารถถ่ายทอดความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพบูรณาการกับการปฏิบัติศาสนกิจในมัสยิดได้ 2.ผู้นำศาสนาเป็นแบบอย่างในการแปรงฟันก่อนละหมาดที่มัสยิด 3.มีป้ายรณรงค์การแปรงฟันก่อนละหมาดติดที่มัสยิด

6

 

7

 

8 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ
  1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด
  2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม
  3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม
  4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด
9

 

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 31 พ.ค. 2015 02:08 น.