directions_run

สร้างสุขคนบ้านปะโอ ชุมชนต้นแบบวิถีเกษตรอินทรีย์

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ สร้างสุขคนบ้านปะโอ ชุมชนต้นแบบวิถีเกษตรอินทรีย์
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 58-03819
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 กันยายน 2015 - 15 ตุลาคม 2016
งบประมาณ 213,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นาย สวัสดิ์ รวยสูงเนิน
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 074-484386,089- 4689562,089- 4689562
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ อารีย์ สุวรรณชาตรี,นายโชคชัย ลิ้มประดิษฐ์
พื้นที่ดำเนินการ บ้านปะโอ หมู่ที่ 1 ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.3253516686338,100.48626445283place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 ก.ย. 2015 15 ก.พ. 2016 15 ก.ย. 2015 15 ก.พ. 2016 85,200.00
2 16 ก.พ. 2016 15 ส.ค. 2016 16 ก.พ. 2016 15 ต.ค. 2016 106,500.00
3 16 ส.ค. 2016 15 ต.ค. 2016 21,300.00
รวมงบประมาณ 213,000.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในรูปแบบของเกษตรอินทรีย์

1.ร้อยละ 80 ของคนในชุมชนมีการปลูกผักปลอดสารพิษ และผักสวนครัว ไว้บริโภคในครัวเรือนตนเอง /แลกเปลี่ยน และจำหน่ายในท้องตลาด

2.เกษตรกรที่ปลูกข้าว มีการใช้ปุ๋ยพืชสด (ปอเทือง/ถั่วเขียว) และปุ๋ยหมัก, สารชีวภาพ แทน การใช้สารเคมีในแปลงของตัวเองอย่างน้อยร้อยละ 50 ของพื้นที่

3.เกิดเครือข่ายกลุ่มเกษตรกรที่ผลิตอาหารปลอดภัย จำนวน 1 กลุ่ม

2 คนในชุมชนเกิดทักษะในการใช้ชีวิต สามารถนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดำเนินชีวิต

1.ร้อยละ 60เกษตรกรมีกลุ่มร่วมทำงานในการผลิตปุ๋ยหมัก /สารชีวภาพ ใช้เอง และสามารถให้คำปรึกษา ถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้อื่นได้

2.ร้อยละ 60คนในชุมชนมีความรู้ และสามารถบริหารจัดการขยะอินทรีย์ ในรูปแบบปุ๋ยหมักน้ำและแห้ง

  • การจัดการขยะเปียกจากครัวเรือน (ปุ๋ยน้ำหมัก)
  • การจัดการขยะจากสัตว์เลี้ยง โดยเฉพาะโค (ปุ๋ยมูลวัว )
  • การใช้พืชสมุนไพรในการกำจัดศัตรูพืช

3.ร้อยละ 60คนในชุมชนมีความรู้การทำบัญชีครัวเรือนและเกิดครัวเรือนต้นแบบ (30 ครัวเรือน) ที่มีการทำบัญชีครัวเรือนได้อย่างถูกต้องหลังสิ้นสุดโครงการ

3 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ
  1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด
  2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม
  3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม
  4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด
4 สภาชุมชนมีส่วนร่วมในการทำงาน และมีความเข้มแข็ง
  1. มีคณะกรรมการ 21 คน ที่มีความเข้มแข็ง เป็นกลไกในการขับเคลื่อนโครงการ ที่เป็นทางการและไม่ทางการ

  2. มีการประชุมประจำเดือนๆละ 1 ครั้ง จำนวน 10 ครั้ง และบันทึกการประชุมทุกครั้ง โดยการประชุมทุกครั้งมีการปรึกษาหารือเรื่องโครงการและเรื่องอื่นๆของชุมชน

  3. แต่ละครั้งมีผู้เข้าร่วม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80และสภาผู้นำต้องมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 1 มิ.ย. 2015 09:05 น.