directions_run

ท่องเที่ยวเชิงเกษตรลดสารเคมี สร้างสุขภาวะชุมชนบ้านคลองลำแชง (ต่อเนื่อง ปี 2)

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ท่องเที่ยวเชิงเกษตรลดสารเคมี สร้างสุขภาวะชุมชนบ้านคลองลำแชง (ต่อเนื่อง ปี 2)
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 58-03891
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 กันยายน 2015 - 15 ตุลาคม 2016
งบประมาณ 148,400.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นาย ภูมิปัญญา หมัดหลี
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 0815410681,0815410681
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นายอะหมัด หลีขาหรี
พื้นที่ดำเนินการ ชุมชนบ้านคลองลำแชง หมู่ที่ 6 ตำบลเขาพระ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.0278089907582,100.1618814472place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 ก.ย. 2015 15 ก.พ. 2016 15 ก.ย. 2015 16 ก.พ. 2016 59,360.00
2 16 ก.พ. 2016 15 ส.ค. 2016 17 ก.พ. 2016 15 ต.ค. 2016 74,200.00
3 16 ส.ค. 2016 15 ต.ค. 2016 14,840.00
รวมงบประมาณ 148,400.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้คนในชุมชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาการใช้สารเคมีในภาคการเกษตร
  • คนในชุมชนร้อยละ 80 เข้าร่วมกิจกรรมของโครงการ
  • ร้อยละ 80 ของชาวบ้านที่เข้าร่วมโครงการมีการใช้สารเคมีทางการเกษตรลดลง
2 เพื่อพัฒนาศักยภาพชุมชนในการจัดการข้อมูลชุมชน การวางแผน และการจัดทำแผนปฏิบัติการของชุมชน
  1. ชุมชนมีฐานข้อมูลด้านสถานการณ์และทุนชุมชนอย่างน้อย 1 ชุด
  2. มีกลุ่มเด็กเยาวชน และคนในชุมชนที่มีทักษะในการเก็บข้อมูล อย่างน้อย 20 คน
  3. มีแผนชุมชนหรือแผนปฏิบัติการเพื่อการแก้ไขปัญหาและพัฒนาชุมชน อย่างน้อย 1 ฉบับ
3 เยาวชนและคนในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์ จากการเรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎีและการได้ลงมือปฏิบัติจริง และเกิดแรงจูงใจในการปลูกผักปลอดสารพิษ

เยาวชนและคนในชุมชนร้อยละ 80 มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์

4 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ
  1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด
  2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม
  3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม
  4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด
5 เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร

มีแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรเกิดขึ้นในชุมชนอย่างน้อย 1 แห่ง

6 เพื่อเพิ่มรายได้แก่คนในชุมชนจากการขายผลผลิตทางการเกษตรให้แก่นักท่องเที่ยว

คนในชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการขายผลผลิตทางการเกษตรให้แก่นักท่องเที่ยว

7 เพื่อจัดตั้งกลุ่มเยาวชน “ลูกหลานเกษตรกรรุ่นใหม่ หัวใจเกษตรอินทรีย์”

เยาวชนในชุมชนอย่างน้อย 20 คนเข้าร่วมเป็นสมาชิกกลุ่มเยาวชน “ลูกหลานเกษตรกรรุ่นใหม่ หัวใจเกษตรอินทรีย์”

8 เพื่อผลิตสื่อประชาสัมพันธ์แนะนำชุมชน
  • มีสื่อประชาสัมพันธ์แนะนำแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรทั้งในรูปของสื่อออนไลน์และสื่อสิ่งพิมพ์ อย่างน้อย 1 ช่องทาง
  • มีชุดความรู้เกี่ยวกับการทำเกษตรอินทรีย์ จำนวน 1 ชุด
9 จัดตั้งกลุ่มมัคคุเทศก์อาสา เพื่อทำหน้าที่บริหารจัดการด้านการท่องเที่ยวในชุมชน

สมาชิกในชุมชน อย่างน้อย 20 คน เข้าร่วมเป็นสมาชิกกลุ่มมัคคุเทศน์อาสา

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 10 มิ.ย. 2015 13:26 น.