directions_run

ร่วมสร้างชุมชนบ้านดอนตาบ่าวให้น่าอยู่ คลองสวยน้ำใส ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ปี 2

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ร่วมสร้างชุมชนบ้านดอนตาบ่าวให้น่าอยู่ คลองสวยน้ำใส ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ปี 2
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 58-03811
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 กันยายน 2015 - 15 ตุลาคม 2016
งบประมาณ 168,400.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นาง สมเพียง บุญเซียม
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 098 680 5092,098 680 5092
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นางสมใจ ด้วงพิบูลย์
พื้นที่ดำเนินการ บ้านดอนตาบ่าว ม.1 ตำบลนาทุ่ง อำเภอเมือง จังหวัดชุมพร 86000
ละติจูด-ลองจิจูด 10.497841748247,99.178839301458place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 ก.ย. 2015 15 ก.พ. 2016 15 ก.ย. 2015 5 ก.พ. 2016 67,360.00
2 16 ก.พ. 2016 15 ส.ค. 2016 6 ก.พ. 2016 15 ต.ค. 2016 84,200.00
3 16 ส.ค. 2016 15 ต.ค. 2016 16,840.00
รวมงบประมาณ 168,400.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมบทบาทของสภาผู้นำชุมชนในการจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม

สภาผู้นำมีความเข้มแข็ง โดย

  1. สภาผู้นำชุมชนมีความการประชุมทุกเดือน
  2. ร้อยละ 80ของlสมาชิกสภาผู้นำชุมชนร่วมประชุม
  3. มีการประชุมเรืองโครงการและเรื่องอื่นที่เกี่ยวข้อง
2 เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมของชุมชนในการจัดการขยะ
  1. ปริมาณขยะลดลงร้อยละ 50
  2. มีการคัดแยก กำจัด จัดการที่ถูกต้อง
  3. มีการแปรรูปขยะและเกิดผลผลิตในครัวเรือนจากขยะ
  4. มีการใช้ภาชนะอื่นแทนพลาสติกและโฟม
3 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ
  1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด
  2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม
  3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม
  4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด
4 เพื่อสร้างสิ่งแวดล้อมให้น่าอยู่ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น
  1. เกิดชุดตีกลองยาวโดยผู้สูงอายุ วัยทำงาน เยาวชนในชุมชน
  2. เกิดความร่มรื่น สวยงามจากปลูกต้นไม้ที่เป็นสัญลักษณ์ชุมชนริมถนนทุกสาย
  3. มีเมนูอาหารชุมชนที่เกิดจากการนำผลผลิตจากปุ๋ยชีวภาพที่ทำมาจากขยะ
5 เพื่อส่งเสริมให้เกิดกลไกการดำเนินงานเข้มแข็ง
  1. คนในชุมชนปฏิบัติตามกติกาและนโยบายสาธารณะในการจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม ที่จัดทำขึ้น
  2. ได้รับการสนับสนุนทรัพยากรจากหน่วยงานอื่น
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 15 มิ.ย. 2015 17:20 น.