directions_run

ศูนย์เรียนรู้นาอินทรีย์ที่บ้านโคกแย้ม (ต่อเนื่อง)

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ศูนย์เรียนรู้นาอินทรีย์ที่บ้านโคกแย้ม (ต่อเนื่อง)
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 58-03820
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 กันยายน 2015 - 15 ตุลาคม 2016
งบประมาณ 183,425.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นาง ไพเราะ เกตุชู
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 0824378190,0824378190
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นายสมนึก นุ่นด้วง
พื้นที่ดำเนินการ ชุมชนบ้านโคกแย้ม หมู่ที่2 ต. นาท่อม อ.เมืองพัทลุงจ. พัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.5639920055331,99.922285079956place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 ก.ย. 2015 15 ก.พ. 2016 15 ก.ย. 2015 21 ก.พ. 2016 73,370.00
2 16 ก.พ. 2016 15 ส.ค. 2016 22 ก.พ. 2016 15 ต.ค. 2016 91,720.00
3 16 ส.ค. 2016 15 ต.ค. 2016 18,335.00
รวมงบประมาณ 183,425.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพสภาผู้นำชุมชน

1.มีสภาผู้นำเดิม 20 คนและคัดเลือกเพิ่มจากผู้ทรงคุณวุฒิในชุมชน จากภาครัฐ และท่องถิ่นให้ได้ไม่น้อยกว่า 25 คน

2.มีการประชุมอย่างเดือนละ 1 ครั้ง

3.แต่ละครั้งมีผู้เข้าร่วมประชุมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

4.การประชุมแต่ครั้งมีการปรึกษาหารือเรื่องโครงการและรื่องอื่นๆของ ชุมชน

5.มีการพัฒนาสภาผู้น้ำให้รู้และเข้าใจการจัดการชุมชนเข้มแข็ง

2 เพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู้สู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการผลิตข้าวอินทรีย์ชีวภาพครบวงจร
  1. จำนวนสมาชิกสภาผู้นำที่มาจากกรรมการหมู่บ้าน และสมาชิก อบต. และตัวแทนชาวนา ร้อยละ 80
  2. จำนวนหลักสูตรการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นเพื่อใช้ในการจัดกระบวนการถ่ายทอดความรู้ไม่น้อยกว่า 3 หลักสูตร
  3. จำนวนครัวเรือนในชุมชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ปรับพฤติกรรมโดยใช้สารเคมมีในการเกษตร (ประเมินโดยการสังเกตโดยคณะทำงานโครงการ ร่วมกับการสำรวจปริมาณการขายสารเคมีเพื่อการเกษตรของร้านค้าในชุมชน)
3 เพื่อปรับสภาพแวดล้อนในชุมชนให้เอื้อต่อการส่งเสริมการผลิตและการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากการแปรรูปข้าวอินทรีย์ชีวภาพ
  1. เกิดพื้นที่การผลิตข้าวอินทรีย์รวมของชุมชนเพื่อใช้เป็ยฐานในการสร้างธนาคารเมล็ดพันธุ์และการส่งเสริมการบริโภค ไม่น้อยกว่า 4 ไร่
  2. มีการจัดให้ร้านค้าในชุมชนจำหน่ายผลผลิตที่แปรรูปเป็นข้าวกล้อง ข้าวขาวอินทรีย์ อย่างน้อย 3 ร้าน
  3. เกิดศูนย์เรียนรู้การผลิตข้าวอินทรย์ชีวภาพครบวงจร 1 ศูนย์
4 เพื่อส่งเสริมและผลักดันให้เกิดกลไกการขับเคลื่อนศูนย์การเรียนรู้และกระบวนการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนอย่างต่อเนื่อง
  1. เกิดสภาผู้นำร่วม 3 ฝ่ายประกอบด้วยภาครัฐภาคท้องถิ่น และตัวแทนจากหมู่บ้าน ในการบริหารจัดการศูนย์เรียนรู้และพื้นที่สาธารณะเพื่อการผลิตเมล็ดพันธ์
  2. เกิดข้อตกลงร่วมภายในหมู่บ้านเกี่ยวกับการร่วมกลุ่มการผลิตและการจำหน่ายข้าวอินทรียชีวภาพ
5 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ
  1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด
  2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม
  3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม
  4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 22 มิ.ย. 2015 12:41 น.