directions_run

เมื่อเด็กกล้วยเถื่อนสร้างธนาคารฯที่บ้านทุ่งยูง(ต่อเนื่อง)

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ เมื่อเด็กกล้วยเถื่อนสร้างธนาคารฯที่บ้านทุ่งยูง(ต่อเนื่อง)
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 58-03837
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 กันยายน 2015 - 15 ตุลาคม 2016
งบประมาณ 194,700.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นาย สมศักดิ์ สุขยูง
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 0872906164
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ senee,Churee
พื้นที่ดำเนินการ บ้านทุ่งยูง หมู่ที่ 4 ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง 93190
ละติจูด-ลองจิจูด 7.6075527230175,99.851882457733place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 ก.ย. 2015 15 ก.พ. 2016 15 ก.ย. 2015 21 ก.พ. 2016 77,880.00
2 16 ก.พ. 2016 15 ส.ค. 2016 22 ก.พ. 2016 15 ต.ค. 2016 97,350.00
3 16 ส.ค. 2016 15 ต.ค. 2016 19,470.00
รวมงบประมาณ 194,700.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มความความมั่นคงทางอาหารด้วยการเพิ่มพืชอาหารท้องถิ่นในชุมชนโดยมีกลุ่มเด็กและมีเยาวชนเข้ามาร่วมรับผิดชอบ
  1. มีพืชผักพื้นบ้าน พืชอาหาร เพิ่มขึ้นในหมู่บ้านไม่ต่ำกว่า15 ชนิด ในเนื้อที่ป่าไม้ ไม่ต่ำกว่า 3 ไร่
  2. มีกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์เพื่อให้เด็กและเยาวชนในชุมชนดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
  3. มีแผนในการจัดการเพิ่มพื่้นที่อาหาร
  4. มีเด็กและเยาวชนเข้าร่วมกิจกรรมไม่ต่ำกว่า 40 คน
  5. คณะทำงานที่มีตัวแทนระหว่างโรงเรียนและชุมชนร่วมกันรับผิดชอบการดำเนินงานตามโครงการ จำนวน 15 คน
2 เพื่อจัดทำหลักสูตรท้องถิ่นและจัดทำแผนในการบริหารจัดการธนาคารอาหารชุมชน (ธนาคารพันธ์ไม้)
  1. มีหลักสูตรท้องถิ่นที่ใช้ในโรงเรียนชุณหวัณ ที่เกิดจากการมีส่วนร่วมคิดร่วมกำหนดระหว่างตัวแทนชุมชน โรงเรียน จำนวน 1 หลักสูตร
  2. มีแผนในการจัดการเพิ่มพื่้นที่อาหาร
3 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ
  1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด
  2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม
  3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม
  4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด
4 เพื่อหนุนเสริมให้เกิดการปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเพิ่มพื้นที่ผลิตอาหารของชุมชน
  1. มีโรงเรือนอนุบาลพันธ์ไม้และระบบการให้น้ำ 1 โรง
  2. มีพันธ์ไม้ใช้สอย/พืชอาหารและสมุนไพรเพิ่มขึ้นไม่ต่ำกว่า 1500ต้น ไม่ต่ำกว่า 15 ชนิด มีเนื้อที่ในการปลูก 3 ไร่
  3. มีกฏกติกาในการจัดการและดูแลพันธ์ไม้
  4. มีฝายแม้วเพื่อกักเก็บน้ำเพิ่มขึ้น 12 ฝาย
5 เพื่อพัฒนาศักยภาพกลไกสภาหมู่บ้านในการบริหารจัดการหมู่บ้าน
  1. สภาหมู่บ้านมีการประชุมทุกเดือน
  2. ในการประชุมแต่ละครั้งมีผู้เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละแปดสิบ
  3. ในการประชุมแต่ละครั้ง มีการปรึกษาหารือเรื่องโครงการและเรื่องอื่นๆของชุมชน
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 25 มิ.ย. 2015 12:26 น.