directions_run

แหล่งเรียนรู้ ปลูกข้าวพันธ์พื้นเมือง ตามแนวทางชีววิถี บ้านคลองหมาก (ต่อยอด ปี 2)

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ แหล่งเรียนรู้ ปลูกข้าวพันธ์พื้นเมือง ตามแนวทางชีววิถี บ้านคลองหมาก (ต่อยอด ปี 2)
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 58-03849
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 กันยายน 2015 - 15 ตุลาคม 2016
งบประมาณ 199,090.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นาย สุเมศ บินระหีม
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 0815411373
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ ทวีชัย อ่อนนวน
พื้นที่ดำเนินการ บ้านคลองหมาก หมู่ที่3 ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่ 81130
ละติจูด-ลองจิจูด 7.9852026875737,98.997201919587place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 ก.ย. 2015 15 ก.พ. 2016 15 ก.ย. 2015 24 ก.พ. 2016 79,630.00
2 16 ก.พ. 2016 15 ส.ค. 2016 25 ก.พ. 2016 15 ต.ค. 2016 99,551.00
3 16 ส.ค. 2016 15 ต.ค. 2016 19,909.00
รวมงบประมาณ 199,090.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้สภาผู้นำชุมชนขับเคลื่อนแก้ไขปัญหาชุมชนในเรื่องเกษตรอินทรีย์ ปลอดสารเคมี

• มีสภาผู้นำชุมชน
• มีการประชุมสภาผู้นำชุมชนเป็นประจำทุกเดือน
• มีข้อตกลงการทำนาข้าวแบบปลอดสารเคมี

2 เพื่อสร้างแหล่งเรียนรู้ อนุรักษ์ และเพาะปลูกข้าวพันธุ์พื้นเมืองปลอดสารเคมี

• จำนวนสมาชิกครัวเรือนทำนาและทำการเกษตรในชุมชนจากเดิม 36 ครัวเรือน เพิ่มเป็น 60 ครัวเรือน
• มีข้อมูลเกี่ยวกับพันธ์ข้าวประจำถิ่น 1ชุด
• เกิดความรู้การทำนาการคัดพันธ์ข้าว การเพาะกล้าข้าว การโยนกล้า การเก็บเกี่ยวข้าว วิธีการบำรุงรักษา การป้องกันและกำจัดศัตรูพืช
• เกษตรกรมีความเข้าใจในการทำนาอินทรีย์การทำปุ๋ยชีวภาพ การทำนาลดต้นทุน เกิดการพึ่งตนเองในการทำนาที่เอื้อต่อสุขภาวะของชุมชน
• มีแหล่งเรียนรู้การทำนาปลอดสารเคมี เช่นการเพาะกล้าข้าว แก่เยาวชนและผู้ที่สนใจ กิจกรรมการโยนกล้ากิจกรรมเกี่ยวข้าว แก่เยาวชนและผู้ที่สนใจให้ได้ลงมือปฏิบัติจริง
• เกิดศูนย์การเรียนรู้และอนุรักษ์พันธ์ข้าวพื้นเมือง กองทุนพันธ์ข้าวพื้นเมืองในชุมชน
• มีข้อตกลงในการทำนาข้าวปลอดสารพิษของกลุ่มสมาชิกกองทุนพันธ์ข้าวพื้นเมือง บ้านคลองหมาก
• มีแปลงข้าวสาธิตการทำนาแบบลดต้นทุนในพื้นที่
• มีชุดข้อมูลพันธ์ ไม้ พันธ์พืช สมุนไพร สัตว์บก สัตว์น้ำ บริเวณเกาะท่าไร่
• มีฐานข้อมูลเป็นชุดความรู้เพื่อถ่ายทอด ประชาสัมพันธ์ รักษาความสมบูรณ์ของเกาะท่าไร่ให้คงอยู่และเพิ่มจำนวนขึ้น
• เกิดมาตรการทางสังคม กติกา ข้อตกลงร่วมกันของคนในชุมชนสู่สาธารณะ
• ได้รับการพัฒนาความร่วมมือขององค์กร เครือข่าย และกลุ่มต่างๆ ในการแบ่งปันทรัพยากรต่างๆ ที่มีอยู่เพื่อให้เกิดประโยชน์ร่วมกัน
• มีระบบการสื่อสารสู่สังคมทั้งภายในและภายนอกชุมชนที่หลากหลายรูปแบบ

3 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ
  1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด
  2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม
  3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม
  4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด
4

 

5

 

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 28 มิ.ย. 2015 12:15 น.