stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลนาตาล่วง
ภายใต้องค์กร Node Flagship จังหวัดตรัง
รหัสโครงการ 63001740021
วันที่อนุมัติ 29 กรกฎาคม 2020
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 30 กรกฎาคม 2020 - 10 ตุลาคม 2021
งบประมาณ 117,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมสูงวัยตำบลนาตาล่วง
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสุกัญญา ขุนทอง
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นางโสภา คงมา
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลนาตาล่วง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 30 ก.ค. 2020 29 พ.ย. 2020 30 ก.ค. 2020 29 พ.ย. 2020 46,800.00
2 30 พ.ย. 2020 29 เม.ย. 2021 30 พ.ย. 2020 10 ต.ค. 2021 58,500.00
3 30 เม.ย. 2021 10 ต.ค. 2021 30 เม.ย. 2021 1 ม.ค. 1970 11,700.00
4 0.00
รวมงบประมาณ 117,000.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากสถานการณ์สูงวัยของประเทศไทยที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว และคาดว่าประเทศไทยจะเป็นสังคมสูงวัยโดยสมบูรณ์ (Complete Aged Society) ในปี 2564 ประเทศไทยมีประชากรสูงอายุมากกว่าประชากรวัยเด็ก คาดว่าจะมีประชากรเข้าสู่วัยสูงวัย60 ปีขึ้นไปปีละประมาณ 1 ล้านคน และที่น่าเป็นห่วงคือ ประชากรไทยก่อนวัยสูงอายุ กว่าร้อยละ 30% ยังคงไม่ได้มีการเตรียมพร้อมเพื่อเป็นสูงวัยที่มีคุณภาพในอนาคต โดยเฉพาะในมิติด้านสุขภาพ ด้านเศรษฐกิจ ความมั่นคงทางรายได้ ด้านสังคม และด้านสิ่งแวดล้อม

โครงสร้างประชากรไทยกำลังเข้าสู่สังคมสูงวัย ส่งผลกระทบ ในหลายด้าน โดยจากข้อมูลวิชาการระบุว่าประเทศไทยยังมีช่องว่างด้านการเตรียมความพร้อมของประชากรและการพัฒนาระบบเพื่อรองรับสังคมสูงวัย เช่น ข้อมูลสุขภาพ พบว่าสูงวัยส่วนใหญ่ร้อยละ 95 มีโรคประจำตัวแต่ยังคงสามารถดำเนินชีวิตประวันได้ตามปกติ โดยส่วนใหญ่ ยังคงเป็นโรคความดันโลหิตสูง และเบาหวาน และสูงวัยวัยปลายมีอัตรามีโรคประจำตัวสูงขึ้น ด้านเศรษฐกิจ สูงวัยถึงร้อยละ 34.3 มีรายได้ต่ำกว่าเส้นความยาก ทั้งนี้มีคนไทยเพียง 15 ล้านคนที่อยู่ในระบบการออมเพื่อเป็นหลักประกันรายได้ยามเกษียณ เมื่อเทียบกับประชากร วัยทำงานมากกว่า 40 ล้านคนด้านสังคม พบว่าสูงวัยที่ต้องอยู่เพียงลำพังคนเดียว หรืออยู่ตามลำพังกับคู่สมรสมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น รวมถึงคนรุ่นใหม่ยังมีทัศนคติเชิงลบต่อวัยสูงอายุ ฯลฯ สถานการณ์ปัญหาดังกล่าวมีสาเหตุจากหลายปัจจัย รวมถึงการที่ประเทศไทยเข้าสู่สังคมสูงวัย อย่างรวดเร็ว และมีเวลาเตรียมการน้อยกว่าประเทศพัฒนาแล้วที่เข้าสู่สังคมสูงวัยส่งผลให้ประเทศไทยต้องเผชิญผลกระทบต่ำงๆ จากสังคมสูงวัยหลีกเลี่ยงไม่ได้ จึงจำเป็นต้องพัฒนาระบบเพื่อรองรับสังคมสูงวัยโดยการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆ อย่างจริงจังและ มีประสิทธิภาพ

สถานการณ์ จังหวัดตรังประชากรที่มีอายุมากกว่า 60 ปีขึ้นไปมีจำนวน 85,828 คิดเป็นร้อยละ 16.63 และประชากรอายุ50-60 ปีจำนวนมากถึง 72,380 คน และภายในปี 2572 จะมีประชากรกลุ่มนี้กลายเป็นสูงวัยมากกว่าร้อยละ30ของประชากรจังหวัดตรังพบว่า สูงวัยส่วนใหญ่สามารถดูแลตัวเองได้โดยไม่ต้องพึ่งผู้อื่น (กลุ่มติดสังคม) คิดเป็นร้อยละ 96.29 ของจำนวนสูงวัยทั้งหมดอีกประมาณร้อยละ4 เป็นสูงวัยที่ต้องพึ่งผู้อื่นบ้างในการประกอบกิจวัตรประจำวัน (กลุ่มติดบ้าน) ร้อยละ 2.87 และติดเตียง ร้อยละ 84 ด้านสุขภาพ (โรคไม่ติดต่อ) ประชากรกลุ่มอายุ 50-59 ปี ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 22.22 และโรคเบาหวาน ร้อยละ 10.30 ประชากรกลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไปป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 48 และโรคเบาหวาน ร้อยละ 17.24 การเตรียมพร้อมเพื่อรองรับสังคมสูงวัยจึงมีความสำคัญในอนาคต

ตำบลนาตาล่วง อำเภอเมืองตรังจังหวัดตรังมีพื้นที่ 14.8ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 9,230 ไร่ มี 6 หมู่บ้าน มีประชากรทั้งหมด 7,381คน แยกเป็นชาย 3,520 คน , หญิง 3,861 คนมี 3,549 ครัวเรือน , สถานศึกษาโรงเรียนระดับประถมศึกษาจำนวน3แห่ง,โรงเรียนอาชีวศึกษา 1แห่งศูนย์อินเตอร์เน็ตชุมชนตำบลนาตาล่วง 1 แห่ง ,ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 1ศูนย์,สถานที่ปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนา (วัด) จำนวน 3แห่ง,ชมรมสูงวัย 1 ชมรม,ศูนย์บริการคนพิการทั่วไป 1 ศูนย์,โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 1 แห่ง,ศูนย์กู้ชีพตำบลนาตาล่วง 1 แห่ง, ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 1 แห่ง และมีธรรมนูญสุขภาพตำบลนาตาล่วงเตรียมรองรับสังคมสูงวัย,หน่วยงานภาครัฐในพื้นที่ประกอบด้วย เทศบาลตำบลนาตาล่วงประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม และอาชีพรองคือรับจ้างตำบลนาตาล่วงมีสูงวัย อายุ 60 ปี ขึ้นไป จำนวน1,134คน/อายุ 40-59 จำนวน 1,239 คน , มีคนพิการจำนวน177 คน

ตำบลนาตาล่วง เป็นชุมชนที่มีความเข้มแข็ง การทำงานแบบมีส่วนร่วม ของทุกภาคส่วน ประกอบกับ มีแหล่งน้ำที่อุดมสมบูรณ์ มีแหล่งเรียนรู้ทางประวิติศาสตร์ โบราณคดี มีแม่น้ำตรังไหลผ่าน มีโรงงานอุตสาหกรรมซึ่งในปัจจุบันมีความเจริญมากขึ้น และเปลี่ยนแปลงวิถีความเป็นอยู่ ส่งผลให้การใช้ชีวิตเปลี่ยนไป และจะมีปัญหาตามมาเรื่อยๆ ในหลายๆ ด้าน เช่น ปัญหาด้านสุขภาพ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ชมรมสูงวัยตำบลนาตาล่วงจึงมุ่งเน้นที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิตสูงวัยใน 4 ด้าน ๆ ประกอบด้วย ด้านสุขภาพมีการตรวจสุขภาพประจำปีให้แก่สูงวัย รวมทั้งสูงวัยที่ติดบ้าน ติดเตียง เพื่อให้มีสุขภาพดี ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา ให้มีการรวมกลุ่มออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ เนื่องจากสูงวัยส่วนมากยังมีโรคประจำตัว และมีโอกาสที่จะเจ็บป่วยจนไม่สามารถ ดูแลตนเองได้ หรือต้องมีผู้ดูแล จนกลายเป็นสูงวัยที่ติดบ้าน และอาจจะเป็นสูงวัยที่ติดเตียงได้ในโอกาสต่อไป จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ จะต้องให้ความสำคัญกับการเตรียมความพร้อมเพื่อเป็นสูงวัยที่มีคุณภาพ บริโภคอาหารตามหลักโภชนาการ ลดหวาน มัน เค็ม ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ สามารถลดการเกิดโรคได้ โดยเฉพาะโรคที่ไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ และโรคอื่น ๆ
ด้านสังคมให้สูงวัยมีการรวมกลุ่มกันจัดกิจกรรมไม่อยู่โดดเดี่ยว อันเป็นสาเหตุให้เกิดการเจ็บป่วย และซึมเศร้า ได้รับการยอมรับจากสังคมเพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีศักดิ์ศรี สูงวัยต้องการได้รับการคุ้มครองด้านสิทธิที่พึงได้รับ และต้องมีโอกาสเข้ามามีส่วนร่วมกับชุมชน ในการพัฒนาด้านต่างๆ และที่สำคัญสูงวัยต้องมีผู้ดูแลอย่างใกล้ชิด
ด้านเศรษฐกิจ มีอาชีพเสริม เพื่อสร้างหลักประกันรายได้ สร้างกลไกลการออม เนื่องจากรายได้ไม่พอกับรายจ่าย ด้านเศรษฐกิจ เช่น การออมเมื่อเข้าสู่วัยสูงวัยมีรายได้ไม่เพียงพอเนื่องจากไม่ได้เตรียมตัวในการเก็บออมเงินไว้ใช้ยามชราต้องทำงานหาเลี้ยงครอบครัวถูกทอดทิ้งเลี้ยงดูลูกหลานซึ่งเป็นภาระที่ต้องรับผิดชอบ เช่น การส่งเสริมการออม การประกอบอาชีพเสริม ด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อให้คุณภาพชีวิตของสูงวัยดีขึ้น สนับสนุนให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการสร้างชุมชนน่าอยู่ เช่น การซ่อมแซมบ้าน/ปรับสภาพแวดล้อมในบ้านให้สูงอายุ ตลอดจนการบริการสาธารณะ เพื่อให้สูงวัย มีที่อยู่ที่เหมาะสม และมั่นคง เนื่องจากบ้านเรือนที่อยู่อาศัยไม่เหมาะสมเช่นความแข็งแรงของบ้านเรือนห้องน้าบริเวณบ้านมีความเสี่ยงต่อการใช้ชีวิตในประจำวันของสูงวัย นอกจากนี้ยังป้องกันไม่ให้ กลุ่มติดสังคม เป็นกลุ่มติดบ้าน และกลุ่มติดบ้าน ไม่ให้เป็นกลุ่มติดเตียงจากการสำรวจพบว่าประชาชนมีปัญหาด้านสุขภาพโดยเฉพาะกลุ่มสูงวัยและวัยทำงานพบมีโรคประจำตัวเช่นเบาหวานความดันโรคหลอดเลือดหัวใจฯลฯมีอัตราการเป็นผู้ป่วยติดเตียงเพิ่มขึ้นทุกปีปัจจุบันมีผู้ป่วยติดเตียงจำนวน 18 คนผู้ป่วยติดบ้านจำนวน 59 คนสาเหตุจากการไม่ดูแลสุขภาพเช่นการออกกำลังกายไม่สม่ำเสมอการรับประทานอาหารประเภทหวานมันเค็มและอาหารประเภทรสจัดการบริโภคอาหารที่ไม่มีประโยชน์ต่อสุขภาพเช่น ดื่มชาเย็น ในปริมาณมากต่อวัน
ในด้านสุขภาพ พบว่า สูงวัยส่วนมากยังมีโรคประจำตัว และมีโอกาสที่จะเจ็บป่วยจนไม่สามารถ ดูแลตนเองได้ หรือต้องมีผู้ดูแล จนกลายเป็นสูงวัยที่ติดบ้าน และอาจจะเป็นสูงวัยที่ติดเตียงได้ในโอกาสต่อไป จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่สังคมไทย จะต้องให้ความสำคัญกับการเตรียมความพร้อมเพื่อเป็นสูงวัยที่มีคุณภาพ บริโภคอาหารตามหลักโภชนาการ ลดหวาน มัน เค็ม ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ สามารถลดการเกิดโรคได้ โดยเฉพาะโรคที่ไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ และโรคอื่น ๆ การรักษาความสมบูรณ์แข็งแรงของร่างกาย เป็นปัจจัยของเศรษฐกิจที่ดีและสังคมที่มั่นคง เพราะร่างกายที่แข็งแรงนั้น โดยปกติจะอำนวยผลให้สุขภาพจิตใจสมบูรณ์และเมื่อสุขภาพสมบูรณ์ดี พร้อมทั้งร่างกาย และจิตใจแล้ว ย่อมมีกำลังทำประโยชน์สร้างสรรค์เศรษฐกิจ และสังคมของบ้านเมืองได้เต็มที่ ทั้งไม่เป็นภาระแก่สังคมด้วย
ตำบลนาตาล่วง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง เป็นชุมชนที่มีความเข้มแข็ง การทำงานแบบมีส่วนร่วม ของทุกภาคส่วน ประกอบกับ มีแหล่งน้ำที่อุดมสมบูรณ์ มีแหล่งเรียนรู้ทางประวิติศาสตร์ โบราณคดี มีแม่น้ำตรังไหลผ่าน มีโรงงานอุตสาหกรรมซึ่งในปัจจุบันมีความเจริญมากขึ้น และเปลี่ยนแปลงวิถีความเป็นอยู่ ส่งผลให้การใช้ชีวิตเปลี่ยนไป และจะมีปัญหาตามมาเรื่อยๆ ในหลายๆ ด้าน เช่น ปัญหาด้านสุขภาพ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม โครงสร้างพื้นฐาน และด้านสิ่งแวดล้อม ภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ระดับพื้นที่ ตำบล หมู่บ้าน ชุมชน โดยเฉพาะกลุ่ม/ชมรมสูงวัยที่มีความเข้มแข็ง การขับเคลื่อนการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยของตำบลนาตาล่วงมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพชีวิตสูงวัยที่มีอายุตั้งแต่ 40ปีขึ้นไปเป็นหลักดำเนินการร่วมกันในหลายภาคส่วนทั้งหน่วยงานภาครัฐ เช่น เทศบาลตำบลนาตาล่วง, โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาตาล่วงและภาคประชาชนได้แก่กลุ่มสตรี , กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาตาล่วง , ชมรมสูงวัย ดังนั้น ชมรมสูงวัยตำบลนาตาล่วง จึงได้จัดทำโครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยของตำบลนาตาล่วงเพื่อเป็นกระบวนการสร้างการเรียนรู้ให้ผู้นำและประชาชนในชุมชนกลุ่มเป้าหมายตั้งแต่อายุ 40ปีขึ้นไปได้รับรู้ถึงสถานการณ์ของการเปลี่ยนแปลงและรับรู้ถึงการเข้าสู่สังคมสูงวัยสภาพปัญหาด้านต่างๆได้แก่ด้านสุขภาพด้านสังคมด้านสภาพแวดล้อมและด้านเศรษฐกิจว่าจะมีการเตรียมตัวเข้าสู่สังคมผู้วัยอย่างไรให้มีความสุขไม่มีโรคภัยมีเพื่อนบ้านที่ดีมีลูกหลานคอยดูแลมีเงินเก็บออมไว้จ่ายยามชราบ้านเรือนหรือที่อยู่อาศัยห้องน้าที่เหมาะสมปลอดภัยกับการดำรงชีพของสูงวัยเพราะฉะนั้นทุกฝ่ายต้องมาร่วมขับเคลื่อนการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลนาตาล่วง ร่วมกันขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพในการ “ร่วมคิด ร่วมมือ ร่วมตัดสินใจ ร่วมทำ ร่วมแก้ไขปรับปรุง ร่วมประโยชน์” ถือปฏิบัติเพื่อให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดีต่อตนเอง ครอบครัว ชุนชนและสังคม อันจะนำไปสู่การพัฒนาและขับเคลื่อนการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลนาตาล่วงต่อไป

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อพัฒนากลไกการทำงานเตรียมรองรับสังคมสูงวัย

1.1 คณะทำงานมีความรู้ความเข้าใจการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย 1.2 มีฐานข้อมูลสูงวัยเตรียมรองรับสังคมสูงวัย 1.3 มีการขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพเตรียมรองรับสังคมสูงวัย 1.4 มีนโยบาย/แผนงาน/โครงการขับเคลื่อนเตรียมรองรับสังคมสูงวัยที่บรรจุในแผนพัฒนาท้องถิ่นและหรือกองทุนสุขภาพตำบล

1.00
2 2.เพื่อส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตเตรียมรองรับสังคมสูงวัย

1 กลุ่มเป้าหมายเตรียมรองรับสังคมสูงวัยและสูงวัยมีการความ เข้าใจการเตรียมรองรับสังคมร้อยละ 80 2.2กลุ่มเป้าหมายเตรียมรองรับสังคมสูงวัยและสูงวัยมีคุณภาพชีวิตดีขึ้นร้อยละ 20 2.3มีการปรับสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยปลอดภัยของสูงวัย อย่างน้อยจำนวน 6  หลัง 2.3 มีร้านค้าร้านน้ำชาร่วมกิจกรรมนาตาล่วงอ่อนหวานอย่างน้อย 2 ร้าน 2.3 กลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะเสี่ยงเบาหวาน ความดันโลหิตสูงมีจำนวนลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 20
2.4 มีสมาชิกกองทุนสวัสดิการชุมชนตำบลนาตาล่วง เพิ่มขึ้นร้อย 20 2.5 กลุ่มเตรียมรองรับสังคมสูงวัยมีการออมเพิ่มมากขึ้นร้อยละ 30 2.6 มีกลุ่มเตรียมรองรับสังคมสูงวัยอายุน้อยกว่า 60 ปีสมัครเป็นสมาชิกชมรมสูงวัยเพิ่มขึ้นร้อยละ 20

1.00
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายรอง ได้แก่ผู้มีอายุตั้งแต่60 ปีขึ้นไป 20 -
กลุ่มเป้าหมายหลัก ได้แก่ผู้มีอายุ 40-59 ปี 80 -
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
1 กิจกรรมส่งเสริมการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 100 56,800.00 3 50,394.00
6 มี.ค. 64 กิจกรรมที่ 3.1ส่งเสริมพัฒนาให้ความรู้เตรียมตัวรองรับสังคมสูงวัยตำบลนาตาล่วง (กลุ่มที่1) 50 15,500.00 19,600.00
7 มี.ค. 64 กิจกรรมที่ 3.1ส่งเสริมพัฒนาให้ความรู้เตรียมตัวรองรับสังคมสูงวัยตำบลนาตาล่วง (กลุ่มที่2) 50 15,500.00 10,600.00
21 มี.ค. 64 กิจกรรมที่ 3.2เตรียมรองรับสังคมสูงวัยด้านสุขภาพ :นาตาล่วงอ่อนหวาน 0 25,800.00 20,194.00
2 กิจกรรมที่ 2 สำรวจ/รวบรวม/วิเคราะห์ข้อมูลเตรียมรองรับสังคมสูงวัย 2 ครั้ง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 11,175.00 1 6,805.00
13 ต.ค. 63 กิจกรรมย่อยที่ 2.1 สำรวจ/รวบรวม/วิเคราะห์ข้อมูลเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ครั้งที่ 1 0 11,175.00 6,805.00
17 ต.ค. 63 กิจกรรมย่อยที่ 2.2 สำรวจ/รวบรวม/วิเคราะห์ข้อมูลเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ครั้งที่ 2 0 0.00 -
3 กิจกรรมที่ 1เพิ่มศักยภาพและสร้างความเข้มแข็งให้คณะทำงานในการขับเคลื่อนรองรับสังคมสูงวัยตำบลนาตาล่วง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 98 12,655.00 7 13,526.00
5 ต.ค. 63 ประชุมคณะทำงานครั้งที่1 0 2,620.00 1,100.00
5 พ.ย. 63 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2 20 2,620.00 960.00
13 ธ.ค. 63 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3 0 2,620.00 3,671.00
14 มี.ค. 64 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 4 30 1,050.00 2,250.00
29 พ.ค. 64 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 5 19 1,995.00 2,595.00
5 ก.ย. 64 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 6 19 700.00 1,900.00
12 ก.ย. 64 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 7 10 1,050.00 1,050.00
4 ส่วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่มเติม (เบิกจ่ายตามจริง และเมื่อเหลือจะต้องคืนให้กับ สสส. เมื่อสิ้นสุดโครงการ) กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 12 11,620.00 10 7,700.00
30 ก.ค. 63 เวทีปฐมนิเทศคณะทำงานโครงการการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ณ ภูผายอดรีสอร์ท อ.ห้วยยอด จ.ตรัง 3 2,000.00 600.00
15 ต.ค. 63 ค่าจัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และป้ายชื่อโครงการ สสส. สำหรับติดในสถานที่จัดกิจกรรม 0 1,000.00 200.00
21 ต.ค. 63 ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำรายงาน ส.1 ง.1 ผ่านระบบ www.happynetwork.org 3 2,000.00 600.00
29 พ.ย. 63 ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์ งวด 1 (เดือนสิงหาคม กันยายน ตุลาคม) 1 600.00 600.00
16 ธ.ค. 63 ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความก้าวหน้าจากการดำเนินงานครั้งที่ 1 เตรียมรองรับสังคมสูงวัย 3 2,000.00 600.00
10 ม.ค. 64 ถอดบทเรียนประเด็นการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย 0 0.00 -
29 มี.ค. 64 ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์ งวด 2 (เดือนพฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม) 1 1,000.00 1,000.00
30 - 31 มี.ค. 64 เวทีถอดบทเรียนประเด็นการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยเพื่อพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพผ่านกระบวนการสมัชชาสุขภาพ จ.ตรัง 0 0.00 1,100.00
30 พ.ค. 64 ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์ งวด 3 (เดือนเมษายน พฤษภาคม) 1 400.00 400.00
1 ต.ค. 64 ค่าจัดทำชุดนิทรรศการแสดงผลการดำเนินงานในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการ 0 2,000.00 2,000.00
9 ต.ค. 64 ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลลัพธ์และบทเรียนการดำเนินงานครั้งที่ 2 0 620.00 600.00
5 กิจกรรมที่ 4 สรุปบทเรียนการดำเนินโครงการ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 3,750.00 3 1,925.00
12 ต.ค. 63 กิจกรรมที่ 4 สรุปบทเรียนการดำเนินโครงการ ครั้งที่ 1 0 1,250.00 665.00
7 ส.ค. 64 กิจกรรมที่ 4 สรุปบทเรียนการดำเนินโครงการ ครั้งที่ 2 0 1,250.00 560.00
26 ก.ย. 64 กิจกรรมที่ 4 สรุปบทเรียนการดำเนินโครงการ ครั้งที่ 3 0 1,250.00 700.00
6 กิจกรรมที่ 6 ปรับสภาพแวดล้อมสำหรับผู้สูงอายุ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 17,000.00 2 19,000.00
5 ต.ค. 64 กิจกรรมที่ 6 ปรับสภาพแวดล้อมสำหรับผู้สูงอายุ ครั้งที่ 1 0 10,000.00 10,000.00
7 ต.ค. 64 กิจกรรมที่ 6 ปรับสภาพแวดล้อมสำหรับผู้สูงอายุ ครั้งที่ 2 0 7,000.00 9,000.00
7 กิจกรรมที่ 5 ผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 4,000.00 1 4,000.00
30 ก.ย. 64 กิจกรรมที่ 5 ผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ 0 4,000.00 4,000.00
8 บัญชีธนาคาร กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0.00 1 500.00
10 ต.ค. 64 ค่าเปิดบัญชีธนาคาร 0 0.00 500.00

 

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 2 ต.ค. 2020 16:31 น.