directions_run

โครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลนาหมื่นศรี

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลนาหมื่นศรี
ภายใต้องค์กร Node Flagship จังหวัดตรัง
รหัสโครงการ 63001740017
วันที่อนุมัติ 29 กรกฎาคม 2020
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 30 กรกฎาคม 2020 - 10 ตุลาคม 2021
งบประมาณ 117,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กลุ่มนาอินทรีย์บ้านสวนสันติสุข
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางมาดี ศรนรายณ์
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นายสำราญ สมาธิ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลนาหมื่นศรี อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 30 ก.ค. 2020 29 พ.ย. 2020 30 ก.ค. 2020 29 พ.ย. 2020 46,800.00
2 30 พ.ย. 2020 29 เม.ย. 2021 30 พ.ย. 2020 10 ต.ค. 2021 58,500.00
3 30 เม.ย. 2021 10 ต.ค. 2021 30 เม.ย. 2021 10 ต.ค. 2021 11,700.00
4 0.00
รวมงบประมาณ 117,000.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันจำนวนผู้สูงอายุในประเทศไทยมีตัวเลขเทียบเท่ากับประเทศที่มีการพัฒนาแล้วหลายประเทศซึ่งถือว่ามีอัตราเติบโตเป็นอันดับ 3 ในทวีปเอเชียรองจากประเทศเกาหลีใต้และประเทศญี่ปุ่นประเทศไทยนั้นได้เข้าใกล้สังคมผู้สูงวัยตั้งแต่ปีพ.ศ. 2548 สํานักงานสถิติแห่งชาติได้คาดการณ์ในปีพ.ศ. 2559 จำนวนผู้สูงอายุในประเทศไทยจะมีมากถึง 11.3 ล้านคนประชากรสูงวัยและแนวโน้มในอนาคตภาพรวมและแนวโน้มประชากรผู้สูงอายุระดับโลกและระดับภูมิภาคมีการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างทางสำคัญของสังคมในศตวรรษที่ 21 คือการมีการเพิ่มของประชากรผู้สูงอายุหลายประเทศทั่วโลกกำลังเผชิญกับการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วของจำนวนผู้สูงอายุซึ่งเกิดจากหลายปัจจัยเช่นอัตราการเกิดของประชากรทั่วโลกมีแนวโน้มลดลงประชากรที่อายุยืนขึ้นเนื่องจากการรักษาพยาบาลมีประสิทธิภาพมากขึ้นและประชากรที่เกิดในยุค baby boomers ได้เข้าสู่วัยผู้สูงอายุโดยเฉพาะประเทศที่มีการพัฒนาแล้วอย่างเช่นประเทศฝรั่งเศสสวีเดนญี่ปุ่นสิงคโปร์จากข้อมูลองค์กรอนามัยโลกได้มีการคาดการณ์ว่าจำนวนประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 3 ต่อปีซึ่งในปีพ.ศ. 2560 จำนวนผู้สูงอายุทั่วโลกมีจำนวนประมาณ 963 ล้านคนซึ่งคิดเป็นร้อยละ 12 ต่อปีของประชากรทั่วโลกโดยในปีพ.ศ 2573 คาดว่าจะมีจำนวนประชากรผู้สูงอายุมากถึงประมาณ 1.4 พันล้านคนและจะเพิ่มขึ้นมากถึง 2 พันล้านคนในปีพ.ศ 2593 ทวีปเอเชียจะมีประชากรสูงวัยมากที่สุดในโลกคาดว่าสัดส่วนผู้ที่สูงอายุ 60 ปีขึ้นไปในทวีปเอเชียจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วโดยเฉพาะประเทศญี่ปุ่นซึ่งถือเป็นประเทศที่มีประชากรสูงไวมากที่สุดในโลกและถือเป็นประเทศแรกของโลกที่เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างเต็มตัว (super-aged society)โดยสัดส่วนของประชากรที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไปมากกว่าร้อยละ 20 ของประชากรของประชากรทั้งหมดในประเทศและในปี 2573 ประชากรสูงวัยในประเทศไทยเติบโตเป็นอันดับ 3 ในทวีปเอเชียจำนวนผู้สูงอายุในประเทศไทยมีตัวเลขเทียบเท่ากับประเทศที่มีการพัฒนาแล้วและประเทศเกิดโตเป็นอันดับ 3 ของเอเชียรองมาจากเกาหลีใต้และญี่ปุ่นโดยประเทศไทยนั้นได้เข้าใกล้สังคมสูงวัยมาตั้งแต่ปี 2548 สำนักงานสถิติแห่งชาติได้คาดการณ์ว่าปีพ.ศ. 2559 จำนวนผู้สูงอายุในประเทศไทยจะมีมากถึง 11.30 คนจำนวนประชากร 67 ล้านคนหรือคิดเป็นร้อยละ 16.7 ของประชากรทั้งหมดและจะเข้าสู่ผู้สูงอายุแบบเต็มตัวในปีพ.ศ. 2555 และในปีพ.ศ 2543 ประเทศไทยจะมีสัดส่วนประชากรสูงวัยเพิ่มขึ้นอยู่ที่ร้อยละ 26.9 ของประชากรไทย เศรษฐกิจสูงวัย silver economy กลุ่มผู้บริโภคสูงวัยถือเป็นกลุ่มที่มีกำลังซื้อสูงสุดอันดับต้นๆการเพิ่มขึ้นของประชากรผู้สูงอายุทั่วโลกทำให้เกิดระบบเศรษฐกิจใหม่ซึ่งเรียกกันว่าเศรษฐกิจสูงวัยหรือ silver economy ซึ่งถือเป็นระบบเศรษฐกิจที่เกี่ยวกับกิจกรรมที่ตอบสนองความต้องการและความจำเป็นสำหรับผู้สูงอายุในหลัก silver economy ถือเป็นตลาดใหม่ซึ่งจะนำมาสู่รายได้มหาศาลต่อเศรษฐกิจโลกในอีกไม่กี่ปีข้างหน้าเนื่องจากผู้บริโภคจะเป็นผู้สูงอายุแผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับที่ 2 (2545-2564)เพื่อสนองปริญญาผู้สูงอยู่ได้ซึ่งอยู่ในข้อที่ 7 กำหนดให้รัฐโดยมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนต้องกำหนดนโยบายและแผนหลักด้านผู้สูงอายุแห่งชาติได้กำหนดยุทธศาสตร์ด้านต่างๆหรือยุทธศาสตร์ด้านการเตรียมความพร้อมของประชากรเพื่อผู้สูงอายุที่มีคุณภาพยุทธศาสตร์ของผู้สูงอายุวิทยาศาสตร์ของการบริหารจัดการเพื่อพัฒนาด้านผู้สูงอายุระดับชาติและการพัฒนาบุคลากรด้านผู้สูงอายุวิทยาศาสตร์ด้านการประมวลและพัฒนาองค์ความรู้ด้านผู้สูงอายุและติดตามประเมินผลการดำเนินงานแผนการดำเนินงานผู้สูงอายุแห่งชาติกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่สำคัญของผู้สูงอายุที่ทำงานเมื่อพิจารณาลักษณะกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่สำคัญของผู้สูงอายุที่ทำงานสามารถจำแนกได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่ได้แก่กลุ่มเกษตรกรรมกลุ่มการค้าและบริการและกลุ่มการผลิตข้อมูลในช่วงพ.ศ.2555-2558 พบว่าผู้สูงอายุในประเทศไทยส่วนใหญ่ประกอบด้วยกลุ่มอาชีพเกษตรกรรมคิดเป็นร้อยละ 50 7.6 ของกลุ่มผู้สูงอายุทั้งหมดลดลงจากพ.ศ. 2555 ที่มีผู้สูงอายุที่ทำงานเกษตรกรรมสูงถึงร้อยละ 60 หรือลดลงร้อยละ 3.4 ใช้ระยะเวลา 4 ปีในขณะที่สัดส่วนของผู้สูงอายุในกลุ่มการค้าและบริการมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเล็กน้อยกล่าวคือในปีพ.ศ. 2555 มีผู้สูงอายุในกลุ่มดังกล่าวคิดเป็นร้อยละ 22.5 เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.8 นอกจากนั้นในปีพ.ศ 2558 จะมีสัดส่วนผู้สูงอายุคิดเป็นร้อยละ 15.6 ของประเทศโดยคาดการณ์ว่าจะเพิ่มขึ้นร้อยละ 25 ในปี 2576 ทำให้ต้องเตรียมความพร้อมเพื่อรับรองการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายจิตใจและสังคมผู้สูงอายุข้อมูลสถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุกรรมการแพทย์กระทรวงสาธารณสุขและสำคัญของผู้สูงอายุคือปัญหาสุขภาพที่เปลี่ยนแปลงไปจากการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดเชื้อที่เป็นเรื้อรังที่มีผลจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสมเช่นโรคอ้วนความดันโลหิตสูงไขมันในเลือดสูง ไขข้ออักเสบเบาหวานเป็นต้น ตำบลนาหมื่นศรีเป็นทำเลทอง ทั้งด้านการท่องเที่ยว วัฒนธรรมที่สืบทอดมารุ่นต่อรุ่น การเกษตรกรรม ตำบลที่มีพื้นที่ 12,500 ไร่มีประชากรทั้งหมด 6,336 คนมีสภาพความเปลี่ยนแปลงในบทบาททางสังคมและสิ่งแวดล้อม สถานประกอบการณ์ เพราะตำบลนาหมื่นศรีมีสิ่งแวดล้อมที่สวยงามและทรัพยากรที่อุดมสมบูรณ์ส่งผลให้นายทุนเริ่มเข้ามาลงทุนโดยไม่สามารถหยุดยั้งได้เช่นเดียวกับสภาพสังคมของผู้สูงอายุและผู้สูงวัยมีจำนวนที่สูงมากซึ่งในปัจจุบันผู้สูงอายุคิดเป็นร้อยละ 40 ของประชากรทั้งหมดของตำบลนาหมื่นศรีตำบลนาหมื่นศรีเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ completely aged society และในปัจจุบันผู้สูงวัยระหว่าง 50-59 ปี มีจำนวน 1,898 คนคิดเป็นร้อยละ 35.4 จะเห็นได้ว่าในอีก 10 ปีข้างหน้าตำบลนาหมื่นศรีจะเข้าสู่สังคมผู้สูงวัยอย่างเต็มตัวโดยมีผู้สูงอายุเป็นสัดส่วนร้อยละ 40.71 จากสภาพปัจจุบันตำบลนาหมื่นศรียังไม่มีแผนรองรับที่กำลังจะเกิดขึ้นในอีก 5-10 ปีข้างหน้าที่จะมีการเปลี่ยนแปลงในมิติทางสังคมเศรษฐกิจวัฒนธรรมและสภาพสิ่งแวดล้อมจากสภาพปัจจุบันนั้นข้อมูลของสุขภาพผู้สูงวัยและผู้สูงอายุ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง 593 คน โรคหัวใจ 4 คน โรคมะเร็ง 4 คน โรคเบาหวาน 221 คน โรคอัมพาต 5 คนโรคไทรอยด์ 5 คนซึ่งคิดเป็นร้อยละ 25 ของประชากรทั้งหมด(ข้อมูลจากโรงพยาบาลส่งเสริมตำบลนาหมื่นศรี) ส่วนทางด้านเศรษฐกิจผู้สูงอายุส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมทำสวนยาง ทำนา ซึ่งมีรายได้ต่ำมากไม่เพียงพอต่อการดำรงชีพในสภาพปัจจุบันดังนั้นกลุ่มนาอินทรีย์บ้านสวนสันติสุขจึงได้จัดโครงการจากข้อมูลการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุและสภาพความเป็นอยู่ของผู้สูงอายุ  การถูกทอดทิ้งให้อยู่เดียวดายในชนบทนักจิตวิทยานักวิชาการออกมาเตือนเรื่องผลกระทบของสังคมผู้สูงอายุต่อเศรษฐกิจสังคมของประเทศรัฐออกนโยบายทางสังคมหลายอย่างที่มีเป้าหมายรองรับสังคมผู้สูงอายุทั้งภาครัฐและเอกชนทั้งประเทศ โดยมีกลยุทธ์เพื่อปฏิวัติรองรับจากการที่ประชากรแก่ตัวลงเมื่อทุกภาคส่วนตื่นตัวที่ควรจะมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวข้องกับสังคมผู้สูงอายุแล้วสถานการณ์ผู้สูงอายุเพื่อจะได้มองเห็นสภาพสถานการณ์และผลกระทบได้ตรงกันอันนำไปสู่คนละยุคเพื่อการอยู่รอดเติบโตอย่างยั่งยืน

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อจัดทำธรรมนูญสุขภาพเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลนาหมื่นศรี

1.1 มีธรรมนูญสุขภาพเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลนาหมื่นศรี

1.00
2 2.เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงวัยมีคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพกาย สุขภาพจิตและเศรษฐกิจดีขึ้น

2.1ผู้สูงวัยมีคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพกาย สุขภาพจิตและเศรษฐกิจดีขึ้นร้อยละ 20 2.2มีกิจกรรมต้นแบบเพื่อส่งเสริมศักยภาพด้านคลังอาหารสนับสนุนการขับเคลื่อนมิติด้านเศรษฐกิจของผู้สูงวัย 2.3 ผู้สูงวัยมีการออมเพิ่มขึ้นร้อยละ 20

0.00
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายรอง ได้แก่กลุ่มประชากรอายุ 60 ปีเป็นต 40 40
กลุ่มเป้าหมายหลัก ได้แก่กลุ่มประชากรอายุ 40-59ปี 50 50
กลุ่มเยาวชนอายุ 15-20 ปี 30 30
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
1 ส่วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่มเติม (เบิกจ่ายตามจริง และเมื่อเหลือจะต้องคืนให้กับ สสส. เมื่อสิ้นสุดโครงการ) กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 7 13,000.00 5 3,708.00
30 ก.ค. 63 เวทีปฐมนิเทศคณะทำงานโครงการเตรียมรองรัลสังคมสูงวัยแบบมีส่วนร่วม ณ ภูผายอดรีสอร์ท 3 2,000.00 840.00
21 ต.ค. 63 ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำรายงาน ส.1 ง.1 ผ่านระบบ www.happynetwork.org 0 2,000.00 400.00
29 พ.ย. 63 ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์ งวด 1 (เดือนสิงหาคม กันยายน ตุลาคม) 1 600.00 400.00
16 ธ.ค. 63 การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความก้าวหน้าการดำเนินงานครั้งที่ 1 ประเด็นเตรียมรองรับสังคมสูงวัย 3 2,000.00 400.00
10 ม.ค. 64 ค่าจัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และป้ายชื่อโครงการ สสส. สำหรับติดในสถานที่จัดกิจกรรม 0 1,000.00 -
11 ก.พ. 64 ค่าจัดทำชุดนิทรรศการแสดงผลการดำเนินงานในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการ 0 2,000.00 -
30 - 31 มี.ค. 64 เวทีถอดบทเรียนประเด็นการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยเพื่อพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพผ่านกระบวนการสมัชชาสุขภาพจังหวัดตรัง 0 0.00 1,668.00
15 เม.ย. 64 การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความก้าวหน้าการดำเนินงานครั้งที่ 2 ประเด็นเตรียมรองรับสังคมสูงวัย 0 2,000.00 -
29 เม.ย. 64 ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์ งวด 2 (เดือนพฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม) 0 1,000.00 -
30 พ.ค. 64 ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์ งวด 3 (เดือนเมษายน พฤษภาคม) 0 400.00 -
2 กิจกรรมที่ 1ประชุมคณะทำงาน 10 ครั้ง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 150 24,000.00 10 24,000.00
21 ต.ค. 63 การประชุมครั้งที่ 1 เพื่อจัดตั้งคณะทำงาน ทำความเข้าใจในการดำเนินกิจกรรมโครงการ 15 2,400.00 2,400.00
10 ธ.ค. 63 การประชุมครั้งที่ 2 เพื่อวางแผนการดำเนินกิจกรรมโครงการ 15 2,400.00 2,400.00
10 ธ.ค. 63 การประชุมครั้งที่ 3 เพื่อสรุปผลการดำเนินงานและวางแผนการดำเนินกิจกรรมโครงการ 15 2,400.00 2,400.00
11 ธ.ค. 63 การประชุมครั้งที่ 4 เพื่อสรุปผลการดำเนินงานและวางแผนการดำเนินกิจกรรมโครงการ 15 2,400.00 2,400.00
27 ธ.ค. 63 การประชุมครั้งที่ 5 เพื่อประเมินผลการดำเนินงาน สร้างการเรียนรู้ร่วม 15 2,400.00 2,400.00
2 ม.ค. 64 การประชุมครั้งที่ 6 เพื่อสรุปผลการดำเนินงานและวางแผนการดำเนินกิจกรรมโครงการ 15 2,400.00 2,400.00
6 มี.ค. 64 การประชุมครั้งที่ 7 เพื่อสรุปผลการดำเนินงานและวางแผนการดำเนินกิจกรรมโครงการ 15 2,400.00 2,400.00
17 เม.ย. 64 การประชุมครั้งที่ 8 เพื่อสรุปผลการดำเนินงานและวางแผนการดำเนินกิจกรรมโครงการ 15 2,400.00 2,400.00
14 พ.ค. 64 การประชุมครั้งที่ 9 เพื่อสรุปผลการดำเนินงานและวางแผนการดำเนินกิจกรรมโครงการ 15 2,400.00 2,400.00
13 มิ.ย. 64 การประชุมครั้งที่ 10 เพื่อประเมินผลการดำเนินงาน สร้างการเรียนรู้ร่วมสรุปผลการดำเนินกิจกรรมโครงการทั้งหมด 15 2,400.00 2,400.00
3 กิจกรรมที่ 3 รับฟังความคิดเห็นต่อร่างธรรมนูญเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ตำบลนาหมื่นศรี กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 120 20,000.00 1 20,000.00
31 ก.ค. 63 กิจกรรมที่ 3 รับฟังความคิดเห็นต่อร่างธรรมนูญเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ตำบลนาหมื่นศรี 120 20,000.00 20,000.00
4 กิจกรรมที่ 5 พฤติกรรมบริโภคปลอดภัย “กินอยู่อย่างฉลาด พิฆาตโรค” กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 240 23,400.00 2 23,400.00
7 ธ.ค. 63 กิจกรรมย่อยที่ 5.1 พฤติกรรมบริโภคปลอดภัย “กินอยู่อย่างฉลาด พิฆาตโรค” 120 11,700.00 13,200.00
9 ก.พ. 64 กิจกรรมย่อยที่ 5.2 พฤติกรรมบริโภคปลอดภัย “กินอยู่อย่างฉลาด พิฆาตโรค” 120 11,700.00 10,200.00
5 กิจกรรมที่ 4กิจกรรม เติมบุญสร้างพลัง สร้างคลังสุขภาพจิต กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 180 24,600.00 2 24,600.00
18 ต.ค. 63 กิจกรรมย่อยที่ 4.1 กิจกรรม เติมบุญสร้างพลัง สร้างคลังสุขภาพจิต 60 12,300.00 13,800.00
12 มี.ค. 64 กิจกรรมย่อยที่ 4.2 กิจกรรม เติมบุญสร้างพลัง สร้างคลังสุขภาพจิต 120 12,300.00 10,800.00
6 กิจกรรมที่ 2จัดทำฉบับธรรมนูญผู้สูงอายุตำบลนาหมื่นศรี กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 40 8,000.00 1 8,000.00
15 ธ.ค. 63 กิจกรรมที่ 2จัดทำฉบับธรรมนูญผู้สูงอายุตำบลนาหมื่นศรี 40 8,000.00 8,000.00
7 กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมสื่อสารสาธารณะ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 4,000.00 1 4,000.00
1 เม.ย. 64 กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมสื่อสารสาธารณะ 0 4,000.00 4,000.00
8 บัญชีธนาคาร กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0.00 1 500.00
10 ต.ค. 64 ค่าเปิดบัญชีธนาคาร 0 0.00 500.00

 

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 2 ต.ค. 2020 16:31 น.