directions_run

โครงการส่งเสริมการเรียนรู้สร้างพื้นที่สวนยางพาราให้เป็นแหล่งอาหารปลอดภัยชุมชนบ้านทางเกวียน

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
ชื่อกิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงานโครงการ( กลุ่มเป้าหมายจำนวน10คน) 1 พ.ค. 2022 27 พ.ค. 2022

 

  • มีคณะทำงานร่วมระหว่างคณะกรรมการสวนยางแปลงใหญ่กับสหกรณ์ชาวสวนยางที่สามารถชักชวนเกษตรกรมาร่วมดำเนินการและสามารถเชื่อมโยงการทำงานร่วมกับ กยท.ได้
  • มีสมาชิกกลุ่มที่ร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 30 รายและมีพื้นที่ร่วมดำเนินการในโครงการไม่น้อยกว่ารายละ 2 ไร่
  • มีกติกาของกลุ่มที่เกิดจากการมีส่วนร่วม

 

มีคณะทำงานเข้าร่วมระหว่างคณะกรรมการสวนยางแปลงใหญ่กับสหกรณ์ชาวสวนยางที่สามารถชักชวนเกษตรกรมาร่วมดำเนินการและสามารถเชื่อมโยงการทำงานร่วมกับ กยท.สาขาบางแก้ว รวม 10 คน มีสมาชิกกลุ่มที่ร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 30 รายและมีพื้นที่ร่วมดำเนินการในโครงการไม่น้อยกว่ารายละ 2 ไร่ ต่อคน มีกติกาของกลุ่มที่เกิดจากการมีส่วนร่วม ในการดำเนินโครงการร่วมกัน ประชุมร่วมกันไม่น้อยกว่า 6 คร้้ง

 

ค่าเปิดบัญชีธนาคาร 6 พ.ค. 2022 6 พ.ค. 2022

 

ผู้รับผิดชอบโครงการ ได้จ่ายเงินสำรองจ่ายค่าเปิดบัญชีธนาคาร จำนวน 500 บาท เพื่อเปิดบัญชีธนาคารรับเงินสนับสนุนจาก สสส.

 

ผู้รับผิดชอบโครงการ ได้เปิดบัญชีธนาคารโครงการย่อยเรียบร้อยแล้วและได้เบิกเงินสำรองจ่ายค่าเปิดบัญชี จำนวน 500 บาทคืน

 

ชื่อกิจกรรมที่ 3.ศึกษาดูงาน (กลุ่มเป้าหมายคือสมาชิกจำนวน32คน) 9 พ.ค. 2022 22 มิ.ย. 2022

 

คณะทำงานและสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการ 32 คนร่วมศึกษาดูงานตามแผนกิจกรรมที่วางแผนไว้
1.ประชุมสมาชิกที่ไปศึกษาดูงาน ให้แต่ละคนนำเสนอผลการศึกษาดูงานรวมถึงความรู้ที่ได้ 2. สมาชิกแต่ละรายเขียนแผนการปลูกพืชร่วมยางตามความต้องการและความเหมาะสมของแปลงตนเองเช่นปลูกพืชชนิดไหนให้เหมาะสมกับพื้นที่และความต้องการในการบริโภคและการสร้างรายได้ของตนเอง 3.วิเคราะห์ความเป็นไปได้ตามแผนการปลูกรายแปลง 4.ใช้เวลาในการจัดกิจกรรม1วัน 1. นำสมาชิกที่ร่วมโครงการทั้งหมดศึกษาดูงานจากพื้นที่ประสบความสำเร็จ 2. กำหนดประเด็น ที่ต้องศึกษา และให้การบ้านแก่ผู้ร่วมกิจกรรม 3. ใช้เวลาในการจัดกิจกรรม1วัน

 

คณะทำงานพร้อมด้วยสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการจำนวน 32 คนและทีมพี่เลี้ยง 3 คน ได้เดินทางร่วมศึกษาดูงาน ณ.พื้นที่บ้านขามโดยมีคุณสหจรเป็นผู้ให้ความรู้ด้านการปลูกพืชร่วมยางที่ส่งผลดีต่อรายได้และแหล่งอาหารของชุมชน 1. นำสมาชิกที่ร่วมโครงการทั้งหมดศึกษาดูงานจากพื้นที่ประสบความสำเร็จ 2. กำหนดประเด็น ที่ต้องศึกษา และให้การบ้านแก่ผู้ร่วมกิจกรรม 3. ใช้เวลาในการจัดกิจกรรม1วัน

 

กิจกรรมปฐมนิเทศผู้รับทุน 9 พ.ค. 2022 9 พ.ค. 2022

 

กำหนดการกิจกรรมปฐมนิเทศผู้รับทุน
ภายใต้หน่วยจัดการที่มีจุดเน้นสำคัญในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด (Node Flagship) จังหวัดพัทลุง วันเสาร์ที่ 9 พฤษภาคม 2565  ณ ห้องประชุมสำนักงานเทศบาลเมืองพัทลุง

08.30 - 09.00 น.        ลงทะเบียน  และคัดกรองผู้เข้าร่วมประชุมตามมาตรการป้องกันไวรัส โควิด19 09.30 - 09.15 น.        เตรียมความพร้อมกลุ่มเป้าหมาย/ แนะนำตัวทำความรู้จัก/สันทนาการ (ทีมสันทนาการ) 09.15 - 09.30 น.        ชี้แจงวัตถุประสงค์และเป้าหมายการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดสู่
Phattahlung  Green  City คนมีคุณภาพชีวิตที่ดี
โดย นายเสณี  จ่าวิสูตร ผู้ประสานงาน Node Flagship จังหวัดพัทลุง 09.30 - 10.30 น.        แนวทางการบริหารจัดการ การเงิน และการจัดการเอกสารที่เกี่ยวข้อง โดย นายไพฑูรย์ ทองสม  ผู้จัดการ Node Flagship จังหวัดพัทลุง 10.30 - 10.45 น.        การจัดทำรายงานผ่านระบบ Happy Network
โดย นายอรุณ  ศรีสุวรรณ 10.45 - 12.00 น.        ปฏิบัติการนำข้อมูลเข้าสู่ระบบ Happy Network  และทดลองจัดทำรายงานผ่านระบบ
Happy Network
12.00 - 13.00 น.        พัก รับประทานอาหารเที่ยง 13.00 - 13.30 น.        ความสำคัญของการออกแบบจัดเก็บข้อมูลตัวชี้วัดผลลัพธ์
โดย นางสาวเบญจวรรณ  เพ็งหนู ทีมสนับสนุนวิชาการ Node Flagship จังหวัดพัทลุง 13.30 - 14.30 น.        แบ่งกลุ่มย่อยพื้นที่โครงการย่อย/พี่เลี้ยง ออกแบบการเก็บข้อมูลตัวชี้วัด กลุ่มที่ 1 ประเด็นการจัดการขยะ
กลุ่มที่ 2 ประเด็นการจัดการน้ำเสีย กลุ่มที่ 3 ประเด็นการจัดการทรัพยากรชายฝั่ง กลุ่มที่ 4 ประเด็นการผลิตพืชอาหารปลอดภัยในสวนยางพารา กลุ่มที่ 5 ประเด็นนาปลอดภัย 14.30 - 15.00 น.        การลงนามสัญญาข้อรับทุน
15.00 - 15.30 น.        สรุปและประมวลผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
15.30 น. ปิดการประชุม

 

ผู้รับทุนเข้าร่วมพื้นที่ละ 3 คน
-รับทราบการชี้แจงวัตถุประสงค์และเป้าหมายการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดสู่
Phattahlung  Green  City คนมีคุณภาพชีวิตที่ดี -เรียนรู้แนวทางการบริหารจัดการ การเงิน และการจัดการเอกสารที่เกี่ยวข้องโดย นายไพฑูรย์ ทองสม  ผู้จัดการ Node Flagship จังหวัดพัทลุง -เรียนรู้ปฏิบัติการนำข้อมูลเข้าสู่ระบบ Happy Network  และทดลองจัดทำรายงานผ่านระบบ
Happy Network และกิจกรรมการเรียนรู้ตามแผนของหน่วยจัดการ สสส พัทลุง ของแต่ละประเด็นของผุ้รับทุน ทั้ง 5 ประเด็น -การลงนามสัญญาข้อรับทุน สรุปและประมวลผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้  ปิดการประชุม 15.30 น.

 

ชื่อกิจกรรมที่ 2.เวทีเปิดโครงการและเรียนรู้ข้อมูลและสถานการณ์( กลุ่มเป้าหมายจำนวน 34คน) 11 พ.ค. 2022 9 มิ.ย. 2022

 

1.เชิญสมาชิกกลุ่มแปลงใหญ่ทั้งหมด 34 คนร่วมประชุม 2.ให้ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ เพื่อให้เกิดแรงจูงใจในการร่วมเรียนรู้สร้างป่าร่วมยาง รวมถึงการสร้างเงื่อนไขข้อตกลงร่วมในการดำเนินงานโครงการ 3.เชิญผู้รู้ผู้มีประสบการณ์และประสบความสำเร็จในการจัดการสวนยางแบบผสมผสานมาให้ความรู้
4.รับสมัครสมาชิกร่วมโครงการและจัดทำฐานข้อมูล 5.ใช้เวลาในการจัดกิจกรรมครึ่งวัน

 

1.เชิญสมาชิกกลุ่มแปลงใหญ่ทั้งหมด 34 คนร่วมประชุม 2.ให้ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ เพื่อให้เกิดแรงจูงใจในการร่วมเรียนรู้สร้างป่าร่วมยาง รวมถึงการสร้างเงื่อนไขข้อตกลงร่วมในการดำเนินงานโครงการ 3.เชิญผู้รู้ผู้มีประสบการณ์และประสบความสำเร็จในการจัดการสวนยางแบบผสมผสานมาให้ความรู้
4.รับสมัครสมาชิกร่วมโครงการและจัดทำฐานข้อมูล 5.ใช้เวลาในการจัดกิจกรรมครึ่งวัน

 

ค่าจัดทำป้ายรณรงค์พื้นที่ปลอดบุหรี่ 24 พ.ค. 2022 24 พ.ค. 2022

 

ผู้รับผิดชอบโครงการได้จัดทำป้ายรณรงค์พื้นที่ปลอดบุหรี่ จำนวน 2 ป้าย

 

ผู้รับผิดชอบโครงการ ได้นำป้ายรณรงค์พื้นที่ปลอดบุหรี่ จำนวน 2 ป้ายปิดประกาศในสถานที่ประชุมและจัดกิจกรรมของโครงการ

 

กิจกรรมที่ 4 เวทีสรุปผลการศึกษาดูงานและวางแผนการปลูกรายแปลง(กลุ่มเป้าหมายคือสมาชิกจำนวน32 คน) 10 มิ.ย. 2022 28 มิ.ย. 2022

 

คณะทำงานและสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการ 32 คนร่วมศึกษาดูงานตามแผนกิจกรรมที่วางแผนไว้
1.ประชุมสมาชิกที่ไปศึกษาดูงาน ให้แต่ละคนนำเสนอผลการศึกษาดูงานรวมถึงความรู้ที่ได้ 2. สมาชิกแต่ละรายเขียนแผนการปลูกพืชร่วมยางตามความต้องการและความเหมาะสมของแปลงตนเองเช่นปลูกพืชชนิดไหนให้เหมาะสมกับพื้นที่และความต้องการในการบริโภคและการสร้างรายได้ของตนเอง 3.วิเคราะห์ความเป็นไปได้ตามแผนการปลูกรายแปลง 4.ใช้เวลาในการจัดกิจกรรม1วัน

 

คณะทำงานพร้อมด้วยสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการจำนวน 32 คนและทีมพี่เลี้ยง 3 คน ได้เดินทางร่วมศึกษาดูงาน ณ.พื้นที่บ้านขามโดยมีคุณสหจรเป็นผู้ให้ความรู้ด้านการปลูกพืชร่วมยางที่ส่งผลดีต่อรายได้และแหล่งอาหารของชุมชน

 

ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 2 20 มิ.ย. 2022 20 มิ.ย. 2022

 

ประชุมคณะทำงานโครงการ 10 คน -ติดตามการดำเนินงานที่ผ่านมา -การกำหนดกิจกรรมในการดำเนินงานต่อ

 

ประชุมคณะทำงานโครงการ 10 คน เข้าร่วมการประชุม -ติดตามการดำเนินงานตามแผนโครงการ การจัดการการรายงานในระบบและเอกสารการเงิน
-ว่างแผ่นการดำเนินงานขับเคลื่อนโครงการ เกิดความล่าช้าเนื่องจากปัญหาเรื่องงานที่มอบหมายไม่เป็นไปตามที่วางแผนไว้ -การปลูกพืชตามแผนงานที่ร่วมกับ กยท ให้สมาชิกดำเนินการได้ตามความเหมาะสม ปรับสภาพให้เือ้ือต่อการปลูกด้วย

 

กิจกรรมที่ 10 หนุนเสริมการปลูก 10 ส.ค. 2022 10 ส.ค. 2022

 

1.สมาชิกร่วมโครงการปลูกพืชในแปลงพื้นที่ของตนเองตามแผนการปลูกและการออกแบบแปลง 2.ปลูกชนิดพันธ์พืชที่สามารถหาได้ในชุมชนโยไม่ต้องรอกระบวนการเพาะชำก็ลงมือปลูกได้ตามความเหมาะสม
3.แบ่งปันกล้าไม้ที่เพาะเลี้ยงในเรือนเพาะชำตามแผนการปลูก

 

1.สมาชิกร่วมโครงการปลูกพืชในแปลงพื้นที่ของตนเองตามแผนการปลูกและการออกแบบแปลง สมาชิกมีการปลูกพืชหลากหลายชนิดในแปลงของตนเองมีการแบ่งปันกล้าไม้ที่เพาะเลี้ยงในเรือนเพาะชำตามแผนการปลูก

 

กิจกรรม งานสมัชชา"พัทลุงมหานครแห่งความสุข" 12 ก.ย. 2022 12 ก.ย. 2022

 

เรียนรู้กระบวนการแนวทางสร้างการมีส่วนร่วมในการสร้างพัทลุงให้เป็น มหานครแห่งความสุข
-เรียนรู้8 ประเด็น 1.ประเด็น ออกแบบระบบการศึกษาเพื่อเสริมสร้างศักยภาพของผู้เรียนเพื่อสร้างพลเมืองตื่นรู้ 2.ประเด็น สร้างเศรษฐกิจเกื้อกูล 3.ประเด็น ออกแบบระบบการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อสร้างระบบนิเวศที่ยั่งยืน 4.ประเด็น จังหวัดอาหารปลอดภัยและรักษาพันธุ์พืช สร้างจุดเด่นด้านสมุนไพรและการดูแลสุขภาพชุมชน 5.ประเด็น การสร้างความมั่นคงของชุมชน(สวัสดิการชุมชนและที่อยูอาศัย 6.ประเด็น ประวัฒศาสตร์ ภูมิปัญญา ประเพณีวัฒนธรรม 7.ประเด็น ออกแบบพื้นที่พิเศษของจังหวัดพัทลุง 8.ประเด็น สร้างการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน โดยมีนายวิสุทธิ์ ธรรมเพชร นายกอง๕ืการบริหารส่วนจังหวัดพัทลุงเป็นประธานและมีหน่วยงานราชการและองค์กรเอกชนพร้อมด้วยประชนชนจากพื้นที่ต่างๆของจังหวัดพัทลุง

 

ตัวแทนจากพื้นที่ 5 คน มีการร่วมกระบวนการการพัฒนาสร้างการเรียนรู้ร่วมกันจากพื้นที่ต้นแบบ 8 ประเด็นเพื่อการพัฒนาพื้นที่สู่มหานครแห่งความสุข เห็นความเป็นป่าร่วมยางที่สามารถสร้างแหล่งอาหารที่ปลอดภัยของจังหวัดพัทลุง ที่ส่งเสริมทั้งด้านเศรษฐกิจชุมชนให้ดีขึ้นสร้างความมั่นคงและยั่งยืนด้านอาหารจองจังหวัดอีกทาง

 

ประชุมคณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 3 1 ต.ค. 2022 1 ต.ค. 2022

 

ประชุมคณะทำงานโครงการ 10 คน -ติดตามการดำเนินงานที่ผ่านมา -การกำหนดกิจกรรมในการดำเนินงานต่อ

 

-ติดตามการดำเนินงานตามแผนโครงการ การจัดการการรายงานในระบบและเอกสารการเงิน -การปลูกพืชตามแผนงานที่ร่วมกับ กยท ให้สมาชิกดำเนินการได้ตามความเหมาะสม ปรับสภาพให้เือ้ือต่อการปลูกด้วย

 

กิจกรรมที่ 9 ประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE)(กลุ่มเป้าหมายจำนวน 15 คน) 1 พ.ย. 2022 1 พ.ย. 2022

 

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงาน ร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อการพัฒนา ARE ครั้งที่ 1 1.จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยมีทีมพี่เลี้ยงโครงการร่วมเรียนรู้ในเวที 2.ใช้กระบวนการเรียนรู้ตามกระบวนการAREภายใช้การใช้ข้อมูลผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดผลลัพธ์ 3.จัดกิจกรรมจำวนครั้ง2 ครั้งละ1วัน

 

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงาน 15 คน ร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อการพัฒนา ARE ครั้งที่ 1 1.จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยมีทีมพี่เลี้ยงโครงการร่วมเรียนรู้ในเวที
นายณัฐพงฐ์ คงสง พี่เลี้ยงโครงการเข้าร่วมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อการพัฒนา ARE ครั้งที่ 1 พื้นที่ได้พูดคุยถึงกิจกรรมที่ได้ทำไปแล้ว ยังขาดความเข้าใจเรื่องของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อการพัฒนา เรื่องผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการทำกิจกรรม ขาดความเข้าใจเรื่องการเก็บข้อมูลเพื่อตอบตัวชี้วัดของบันไดผลลัพธ์ พี่เลี้ยงได้คลี่บันไดผลลัพธ์ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเห็นว่าการกำหนดผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นจากการดำเนินโครงการตามแผนนั้น จะได้ผลลัพธ์ที่วางไว้ต่อเมื่อกิจกรรมที่ทำนั้นตอบตัวชี้วัดและตอบด้วยข้อมูลตามแผนกิจกรรมเช่นการเซ็นชื่อเข้าร่วมกิจกรรมการถ่ายภาพ
2.ใช้กระบวนการเรียนรู้ตามกระบวนการ ARE ใช้การใช้ข้อมูลผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.1การติดตามข้อมูลจากบันไดผลลัพธ์พบว่า -อยู่บันไดข้้นที่ 2 มีความล่าช้านด้านการดำเนินการ -มีการประชุมร่วมกันทุกๆ2เดือน มีคณะทำงานร่วมกัน 15 คน -สมาชิกเข้าร่วมโครงการ 30 คนและได้ปลูกพืชร่วมยางไปแล้วรายละ 2 ไร่ รวม 60 ไร่
-สมาชิกได้เข้าร่วมโครงการกับการยางแห่งประเทศไทยสาขาบางแก้ว จากการส่งเอกสารร่วมโครงการจำนวน 30 ราย
-ข้อมูลชนิดของพืชที่ปลูก ยังขาดการเก็บข้อมูล 2.2 บันไดข้นที่2 ได้ดำเนินการไปบ้างแล้ว แต่ยังตอบได้ไม่ชัดเนื่องจากกิจกรรมได้ดำเนินการไปไม่มาก แต่ก็มีผลลัพธ์จากกิจกรรมอื่นเช่น -กติกา 2 ข้อ 1.การประชุมร่วมกันทุกๆ2เดือน 2.การไม่ใช้สารเคมีในแปลงปลูก -มีความรู้จากบทเรียนของการปลูก -เกิดแปลงต้นแบบในพื้นที่ แต่ขาดข้อมูลจำนวนรายที่เป็นแปลงต้นแบบ 3.จัดกิจกรรมจำวนครั้ง2 ครั้งละ1วัน ครั้งที่ 1 วันที่ 1พย 65 ณ.สกย บ้านทาง

 

กิจกรรมที่ 5 ออกแบบการปลูกรายแปลง (กลุ่มเป้าหมาย 32 ) 9 ธ.ค. 2022 2 ก.พ. 2023

 

เชิญสมาชิกร่วมกิจกรรมในรูปกรณ์ประชุมเชิงกระบวนการ ให้สมาชิกช่วยกันออกแบบแปลงของตนเองตามที่ต้องการเช่นปลูกอย่างไร วางผังการปลูกอย่างไร ตามความเหมาะสมของชนิดพืชและสภาพพื้นที่
ร่วมกันวิเคราะห์และคาดการณ์ความเป็นไปและโอกาสที่จะเอื้อต่อความสำเร็จ

 

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงาน 32 คนร่วมทำกิจกรรม วิทยากรให้ความรุ้การจัดการแปลงปลูก การวางแผนการปลูกเพื่อให้เหมาะสมกับแปลงของสมาชิก

 

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงานโครงการ( กลุ่มเป้าหมายจำนวน10คน) ครั้งที่ 4 12 ธ.ค. 2022 12 ธ.ค. 2022

 

ประชุมคณะทำงานโครงการ 10 คน เข้าร่วมการประชุม

 

ประชุมคณะทำงานโครงการ 10 คน เข้าร่วมการประชุม -ติดตามการดำเนินงานตามแผนโครงการ การจัดการการรายงานในระบบและเอกสารการเงิน
-การปลูกพืชตามแผนงานที่ร่วมกับ กยท ให้สมาชิกดำเนินการได้ตามความเหมาะสม ปรับสภาพให้เือ้ือต่อการปลูกด้วย

 

กิจกรรมที่ 11 ส่งเสริมให้สมาชิกทำปุ๋ยใช้เอง(กลุ่มเป้าหมายคือคณะทำงานโครงการจำนวน 32 คน) 16 ม.ค. 2023 16 ม.ค. 2023

 

จัดหาวัสดุที่ใช้ในการเรียนรู้ ถ่ายทอดความรู้โดยผู้มีประสบการ แบ่งปันปุ๋ย/สารทดแทนที่ได้จากการลงมือทำจริงให้กับสมาชิกไปใช้ในแปลงปลูก ทำกิจกรรมวันที่ 16 ม.ค 66

 

ผู้รับผิดชอบโครงการสมาชิก 32 คน ร่วมกันทำกิจกรรม มีวิทยากรมาถ่ายถอดประสบการณ์การทำปุ๋ยหมักและลงมือร่วมกันทำปุ๋ยหมักเพื่อนำไปใช้ในแปลงของสมาชิก ลดต้นทุนการผลิตปริมาณการใช้สารเคมีในสวนยางพาราลดลง

 

กิจกรรมที่ 7 เยี่ยมเยียนติดตามแปลงของสมาชิก(กลุ่มเป้าหมายคือคณะทำงานโครงการจำนวน 5 คน) ครั้งที่ 1 30 ม.ค. 2023 30 ม.ค. 2023

 

คณะทำงานโครงการแบ่งความรับผิดชอบดูแลติดตามสมาชิกโดยแบ่งช่วงเวลาในการเยี่ยมเยียนติดตาม นำผลการเยี่ยมเยียนติดตาม รายงานต่อการประชุมคณะทำงาน

 

เยี่ยมเยียนติดตามความก้าวหน้าในการดำเนินงานของสมาชิกตามหัวข้อที่กำหนดพร้อมให้คำแนะนำ
บันทึกผลการติดตามสมาชิกตามที่ออกแบบและกำหนด

 

กิจกรรมที่ 6 จัดทำเรือนเพาะชำ(กลุ่มเป้าหมายคือสมาชิกร่วมโครงการ 30 คน) 7 มี.ค. 2023 7 มี.ค. 2023

 

จัดหาและจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์แล้วสร้างเรือนเพาะชำขนาด 60 ตารางเมตร จัดสร้างในพื้นที่ของ สกย.

 

ให้สมาชิกที่ร่วมโครงการช่วยกันหาพืชพันธ์ที่ต้องการปลูกตามแผนการปลูกและช่วยกันเพาะชำกล้าไม้ ให้สมาชิกแบ่งหน้าที่รับผิดชอบในการดูแล จัดการเรือนเพาะชำร่วมกัน

 

กิจกรรมที่ 7 เยี่ยมเยียนติดตามแปลงของสมาชิก(กลุ่มเป้าหมายคือคณะทำงานโครงการจำนวน 5 คน) ครั้งที่2 27 มี.ค. 2023 27 มี.ค. 2023

 

คณะทำงานโครงการแบ่งความรับผิดชอบดูแลติดตามสมาชิกโดยแบ่งช่วงเวลาในการเยี่ยมเยียนติดตาม นำผลการเยี่ยมเยียนติดตาม รายงานต่อการประชุมคณะทำงาน

 

เยี่ยมเยียนติดตามความก้าวหน้าในการดำเนินงานของสมาชิกตามหัวข้อที่กำหนดพร้อมให้คำแนะนำ
บันทึกผลการติดตามสมาชิกตามที่ออกแบบและกำหนด

 

ประชุมคณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 5 30 พ.ค. 2023 30 พ.ค. 2023

 

ประชุมคณะทำงานโครงการ 10 คน -ติดตามการดำเนินงานที่ผ่านมา -การกำหนดกิจกรรมในการดำเนินงานต่อ

 

-ติดตามการดำเนินงานตามแผนโครงการ การปลูกพืชตามแผนงาน วิเคราะห์ปัญหา

 

กิจกรรมที่ 8 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างสมาชิก(กลุ่มเป้าหมายจำนวน 32 คน) 6 มิ.ย. 2023 6 มิ.ย. 2023

 

จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยมีทีมพี่เลี้ยงโครงการร่วมเรียนรู้ในเวที ให้สมาชิกแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันเองตามกลุ่มและรูปแบบการปลูก

 

จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยมีทีมพี่เลี้ยงโครงการร่วมเรียนรู้ในเวทีพร้อมถ่ายทดความรู้จากวิทยากร แลกเปลียนความรู้ การจัดกิจกรรมมีการล้าช้าจัดกิจกรรมวันที่ 6/06ุุ/66

 

กิจกรรมที่ 9.กิจกรรมประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE) (กลุ่มเป้าหมายจำนวน15คน) ครั้งที่2 13 มิ.ย. 2023 13 มิ.ย. 2023

 

จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยมีทีมพี่เลี้ยงโครงการร่วมเรียนรู้ในเวที ใช้กระบวนการเรียนรู้ตามกระบวนการAREภายใช้การใช้ข้อมูลผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดผลลัพธ์ ทำกิจกรรมวันที่ 13 มิ.ย 66

 

2.ใช้กระบวนการเรียนรู้ตามกระบวนการ ARE ใช้การใช้ข้อมูลผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.1การติดตามข้อมูลจากบันไดผลลัพธ์พบว่า -อยู่บันไดข้้นที่ 2 มีความล่าช้านด้านการดำเนินการ -มีการประชุมร่วมกันทุกๆ2เดือน มีคณะทำงานร่วมกัน 15 คน -สมาชิกเข้าร่วมโครงการ 30 คนและได้ปลูกพืชร่วมยางไปแล้วรายละ 2 ไร่ รวม 60 ไร่
-สมาชิกได้เข้าร่วมโครงการกับการยางแห่งประเทศไทยสาขาบางแก้ว จากการส่งเอกสารร่วมโครงการจำนวน 30 ราย
-ข้อมูลชนิดของพืชที่ปลูก ยังขาดการเก็บข้อมูล 2.2 บันไดข้นที่2 ได้ดำเนินการไปบ้างแล้ว แต่ยังตอบได้ไม่ชัดเนื่องจากกิจกรรมได้ดำเนินการไปไม่มาก แต่ก็มีผลลัพธ์จากกิจกรรมอื่นเช่น -กติกา 2 ข้อ 1.การประชุมร่วมกันทุกๆ2เดือน 2.การไม่ใช้สารเคมีในแปลงปลูก -มีความรู้จากบทเรียนของการปลูก -เกิดแปลงต้นแบบในพื้นที่ แต่ขาดข้อมูลจำนวนรายที่เป็นแปลงต้นแบบ จัดกิจกรรมล่าช้า 13/06/66

 

กิจกรรมที่ 12 ให้ความรู้การขายยพัยธุ์พืชและการเลี้ยงดูต้นกล้า(กลุ่มเป้าหมายคือสมาชิกจำนวน32 คน) 30 มิ.ย. 2023 30 มิ.ย. 2023

 

เชิญสมาชิกร่วมโครงการรับการอบรมให้ความรู้การขยายพันธ์พืชและการเลี้ยงดูต้นกล้า ถ่ายทอดความรู้โดยผู้มีประสบการด้วยการลงมือทำจริง แบ่งปันพันธ์พืชที่ได้จากการลงมือทำจริง ใช้เวลาในการทำกิจกรรม 1 วัน

 

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงาน 32 คนร่วมทำกิจกรรม วิทยากรให้ความรุ้การจัดการการขยายพันธ์ุ ลงมือทำร่วมกัน การจัดกิจกรรมล่าช้า 30/มิ.ย/66

 

ประชุมคณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 6 20 ก.ค. 2023 20 ก.ค. 2023

 

ประชุมคณะทำงานโครงการ 10 คน -ติดตามการดำเนินงานที่ผ่านมา -การกำหนดกิจกรรมในการดำเนินงานต่อ ทำกิจกรรมวันที่ 20 ก.ค. 66

 

ติดตามการดำเนินงานตามแผนโครงการ สรุปผลนัดวันทำกิจกรรมสรุปผลโครงการ

 

กิจกรรมที่ 7 เยี่ยมเยียนติดตามแปลงของสมาชิก(กลุ่มเป้าหมายคือคณะทำงานโครงการจำนวน 5 คน) ครั้งที่3 22 ก.ค. 2023 22 ก.ค. 2023

 

คณะทำงานโครงการแบ่งความรับผิดชอบดูแลติดตามสมาชิกโดยแบ่งช่วงเวลาในการเยี่ยมเยียนติดตาม นำผลการเยี่ยมเยียนติดตาม รายงานต่อการประชุมคณะทำงาน ทำกิจกรรมวันที่  22 ก.ค. 66

 

เยี่ยมเยียนติดตามความก้าวหน้าในการดำเนินงานของสมาชิกตามหัวข้อที่กำหนดพร้อมให้คำแนะนำ บันทึกผลการติดตามสมาชิกตามที่ออกแบบและกำหนด

 

กิจกรรมที่ 8.กิจกรรมแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างสมาชิก(กลุ่มเป้าหมายจำนวน 32 คน) ครั้งที่2 24 ก.ค. 2023 24 ก.ค. 2023

 

จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยมีทีมพี่เลี้ยงโครงการร่วมเรียนรู้ในเวที ให้สมาชิกแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันเองตามกลุ่มและรูปแบบการปลูก ทำกิจกรรมวันที่ 24 ก.ค.66

 

จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยมีทีมพี่เลี้ยงโครงการร่วมเรียนรู้ในเวทีพร้อมถ่ายทดความรู้จากวิทยากร แลกเปลียนความรู้ความคืบหน้าและปัญหาที่เกิดขึ้น หาทางแก้ไข การจัดกิจกรรมมีการล้าช้าจัดกิจกรรมวันที่ 24/07/66

 

กิจกรรมที่ 13 สรุปผลการดำเนินงานและจัดนิทรรศการโชว์ผลงานโครงการ(กลุ่มเป้าหมายจำนวน 40 คน ) 30 ก.ค. 2023 30 ก.ค. 2023

 

จัดนิทรรศการในรูปแบบต่างๆ เชิญภาคีและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมกิจกรรม นำเสนอผลลัพธ์โครงการต่อผู้ร่วมกิจกรรมในรูปแบบต่างๆ

 

ผู้รับผิดชอบโครงการสมาชิก 32 คน พี่เลี้ยง 3 คน ภาคีเครือข่ายร่วมกันทำกิจกรรม จัดนิทัศกรรนำเสนอผลงานสรุปกิจกรรมการดำเนินโครงการที่ผ่านมาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ทำกิจกรรมวันที่ 30 ก.ค.66

 

เข้าร่วมกิจกรรม พัทลุงมหานครแห่งความสุข ครั้งที่2 15 ส.ค. 2023 15 ส.ค. 2023

 

เข้าร่วมกิจกรรมจัดบูธงาน  พัทลุงมหานครแห่งความสุข

 

เดินทางไปร่วมจัดบูธนำผลที่ได้จากการไปจัดจำหน่ายและแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ในงาน
ตัวแทนจากพื้นที่ 5 คน มีการร่วมกระบวนการการพัฒนาสร้างการเรียนรู้ร่วมกันจากพื้นที่ต้นแบบ 8 ประเด็นเพื่อการพัฒนาพื้นที่สู่มหานครแห่งความสุข เห็นความเป็นป่าร่วมยางที่สามารถสร้างแหล่งอาหารที่ปลอดภัยของจังหวัดพัทลุง ที่ส่งเสริมทั้งด้านเศรษฐกิจชุมชนให้ดีขึ้นสร้างความมั่นคงและยั่งยืนด้านอาหารจองจังหวัดอีกทาง

 

รายงานกิจกรรมลงระบบ 31 ส.ค. 2023 31 ส.ค. 2023

 

รวบรวมการกิจกรรมลงระบบออนไลน์

 

รวบรวมการกิจกรรมลงระบบออนไลน์ในเว็ปไซต์ คนสร้างสุข รายละเอียดกิจกรรมรูปภาพผลการดำเนินงาน