stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ (09)ส่งเสริมการจัดการสุขภาพบ้านห้วยไทร
ภายใต้องค์กร Node Flagship จังหวัดชุมพร
รหัสโครงการ 65-00240-0009
วันที่อนุมัติ 30 เมษายน 2022
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2022 - 30 เมษายน 2023
งบประมาณ 80,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กรรมการหมู่บ้านห้วยไทร
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางจำรัส วงษ์พล
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 0991747194
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ ่่่jomrus228@gmail.com
พี่เลี้ยงโครงการ นางพัลลภา ระสุโส๊ะ
พื้นที่ดำเนินการ บ้านห้วยไทร อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร
ละติจูด-ลองจิจูด 10.098587,98.984507place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 พ.ค. 2022 30 ก.ย. 2022 1 พ.ค. 2022 30 ก.ย. 2022 32,000.00
2 1 ต.ค. 2022 28 ก.พ. 2023 1 ต.ค. 2022 28 ก.พ. 2023 44,000.00
3 1 มี.ค. 2023 30 เม.ย. 2023 1 มี.ค. 2023 30 เม.ย. 2023 4,000.00
รวมงบประมาณ 80,000.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานบุหรี่และปัจจัยเสี่ยง , แผนงานสารเสพติด
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

1.1 ข้อมูลพื้นฐาน   บ้านห้วยไทร ตั้งอยู่ ตำบลช่องไม้แก้ว อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร มีอาณาเขต ทิศเหนือ ติดต่อกับ หมู่ที่ 8 ตำบลช่องไม้แก้ว , ตำบลนาสัก อำเภอสวี ทิศใต้ติดต่อกับ หมู่ที่ 14 และหมู่ที่ 10 ตำบลตะโก ทิศตะวันออกติดต่อกับ หมู่ที่ 5 ตำบลช่องไม้แก้ว ทิศตะวักตกติดต่อกับ ตำบลนาสัก อำเภอสวี มีเนื้อที่ 13,390 ไร่ ลักษณะภูมิประเทศ เป็นพื้นที่ลาดเชิงเขา มีฝนตกชุก ภูมิอากาศร้อนชื้น มีแหล่งน้ำกลางหมู่บ้าน สภาพพื้นที่เหมาะแก่การทำการเกษตร มีจำนวนประชากรทั้งสิ้น 835 คน เพศชาย 433 คน เพศหญิง 402 คน มีจำนวนครัวเรือน 375 ครัวเรือน มีทรัพยากรธรรมชาติ ป่าไม้/ป่าสงวน/อุทยานแห่งชาติ 8 แห่ง และแหล่งน้ำธรรมชาติ ชาวบ้านที่อาศัยอยู่ในบ้านห้วยไทร อพยพมาจากหลายจังหวัดของประเทศไทย โดยประกอบอาชีพการเกษตรเป็นส่วนใหญ่ เช่น ปลูกทุเรียน ยางพารา ปาล์มน้ำมัน กาแฟ เงาะ มังคุด ลองกอง ส้มโอ ปลูกข้าว(หนำข้าว) ปลูกพริกไร่ ปลูกขิง   อาณาเขต ทิศเหนือ ติดต่อกับ หมู่ที่ 8 ตำบลช่องไม้แก้ว , ตำบลนาสัก อำเภอสวี ทิศใต้ ติดต่อกับ หมู่ที่ 14 และ หมู่ที่ 10 ตำบลตะโก ทิศตะวันออก ติดต่อกับ หมู่ที่ 5 ทิศตะวักตก ติดต่อกับ ตำบลนาสัก อำเภอสวี
    ปฏิทินฤดูกาล เดือน      เรื่อง สภาพที่เกิด/ผลกระทบ มกราคม 1. วันปีใหม่ 1. ทำบุญตักบาตร 2. ประชาชนในหมู่บ้านบางรายป่วย กุมภาพันธ์ 1. วันมาฆบูชา 2. ภัยแล้ง 1. ทำบุญตักบาตร 2. น้ำในแหล่งน้ำแห้ง มีนาคม 1. อุจจาระร่วง 2. ปัญหาความแห้งแล้ง 1. ประชาชนล้มป่วย 2. ขาดแคลนน้ำในการเกษตร เมษายน 1. ปัญหาความแห้งแล้ง 2. วันสงกรานต์ 1. ขาดแคลนน้ำในการเกษตร 2. ทำบุญตักบาตร/รดน้ำผู้ใหญ่ พฤษภาคม 1. ไข้เลือดออก 2. วันวิสาขบูชา 1. ประชาชนในหมู่บ้านบางรายป่วย 2. ทำบุญตักบาตร และประกอบพิธีเวียนเทียน มิถุนายน 1. โรคชิคุณกุนยา 1. ประชาชนในหมู่บ้านบางรายป่วย กรกฎาคม 1. วันอาสาฬหบูชา และวันเข้าพรรษา 1. ทำบุญตักบาตร และประกอบพิธีเวียนเทียน สิงหาคม 1.โรคไข้มาลาเรีย 2.ทอดผ้าป่ากองทุนแม่ของแผ่นดิน 1. ประชาชนในหมู่บ้านบางรายป่วย

กันยายน 1. โรคไข้เลือดออก 2. อุทกภัย 1. ประชาชนในหมู่บ้านบางรายป่วย 2. น้ำกัดเซาะถนน/ถนน/ท่อระบายน้ำชำรุดเสียหาย ตุลาคม 1. วันออกพรรษา 1. ทำบุญตักบาตร พฤศจิกายน - - ธันวาคม 1. วันพ่อแห่งชาติ 1. ทำบุญตักบาตรและพัฒนาหมู่บ้าน

      การวิเคราะห์ศักยภาพของหมู่บ้าน(SWOT)       จุดแข็ง จุดอ่อน 1. ประชาชนให้ความร่วมมือ/มีส่วนร่วมในกิจกรรม ของหมู่บ้าน 2. ผู้นำหมู่บ้านเข้มแข็ง 3. มีศาสนสถาน(วัด/สำนักสงฆ์) จำนวน 2 แห่ง 4. มีงานประเพณีประจำหมู่บ้าน 5. มีป่าที่อุดมสมบูรณ์ 6. ชุมชนให้ความร่วมมือดี ประชาชนมีการรวมกลุ่มในหมู่บ้าน 1. สภาพพื้นที่เชิงภูเขาเสี่ยงต่อการเกิดภัยธรรมชาติ 2. งบประมาณของหมู่บ้านมีน้อย 3. พื้นที่กว้าง ยากต่อการดูแล 4. ลำคลองมีมาก แต่น้ำไม่เพียงพอ แหล่งน้ำไม่สามารถกักเก็บน้ำไว้ใช้ในฤดูแล้ง 5. ถนนไม่ได้มาตรฐาน มีฝุ่นละออง 6. ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม เกิดปัญหาน้ำเสียจากพฤติกรรมทางการเกษตร โอกาส อุปสรรค 1.หน่วยงานภาครัฐให้ความสนใจในการพัฒนาหมู่บ้าน 1.การติดต่อสื่อสารไม่สะดวก สัญญานโทรศัพท์ไม่ทั่วถึง

ทิศทางการพัฒนาท้องถิ่น วิสัยทัศน์หมู่บ้าน “คุณภาพชีวิตเด่น เน้นโครงสร้างพื้นฐาน สืบสานงานประเพณี มีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์” มีเป้าประสงค์ เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนป้องกัน ดูแลรักษา เห็นคุณค่าของน้ำ ดิน ป่า ระบบนิเวศ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้มีอุดมสมบูรณ์ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและเส้นทางการคมนาคม ป้องกันและควบคุมโรค รวมทั้งส่งเสริมสุขภาพอนามัย ส่งเสริมการศาสนาและวัฒนธรรม ส่งเสริมความสามัคคี และการมีส่วนร่วมของประชาชน และป้องกันปัญหายาเสพติด มติของคณะกรรมการหมู่บ้าน โดยได้รับฉันทามติจากชาวบ้านห้วยไทร มีหลักการพัฒนาหมู่บ้านดังนี้ คือ หลักการบริหารพัฒนาหมู่บ้านทำประชาคมตามลำดับที่เหมือนเดิม แต่ถ้าที่ใดเดือดร้อนมาก ก็ให้พัฒนาก่อนได้ แต่ต้องหารือเจ้าของประชาคมที่ชนะที่ 1 โดยเรียกผู้นำหมู่บ้าน และคณะกรรมการหมู่บ้านมารับรู้แล้วบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร 1.2 สภาวการณ์สุขภาวะบ้านห้วยไทร พบว่า ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพ มีดังนี้   ด้านสุขภาพ ผลด้านบวก มีเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพ รพ.สต.บ้านช่องไม้แก้ว มีการรวมกลุ่มกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ มีชมรม อสม. ที่มีความเข้มแข็ง โดยผ่านกลไกลคณะกรรมการส่งเสริมสุขภาพ รพ.สต. ผลด้านลบ มีผลการตรวจสารเคมีตกค้างในร่างกาย 30% มีภาวการณ์เจ็บป่วยโรคเรื้อรัง ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และโรคอื่นๆ ประมาณ 100 คน ด้านเศรษฐกิจ ผลด้านบวก มีกลุ่มครัวเรือนพอเพียงปลูกพืชผัก ผลไม้ ไว้สำหรับทานในครัวเรือน มีกลุ่มปุ๋ยอินทรีย์ มีกลุ่มออมทรัพย์/สัจจะ ผลด้านลบ มีค่าใช้จ่ายในการรักษาสุขภาพ มีภาระหนี้สินครัวเรือน ด้านสังคม ผลด้านบวก มีลานออกกำลังกาย มีวัด 3 วัด มีกลุ่มน้ำดื่มชุมชน มีโรงสีชุมชน ผลด้านลบ มีร้านขายเหล้า/บุหรี่ไม่รู้กฎหมาย ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ผลด้านบวก มีป่าต้นน้ำ มีฝายชะลอน้ำ ผลด้านลบ มีการใช้สารเคมีทำการเกษตร 70% น้ำเสียจากพฤติกรรมทางการเกษตร และสภาพอากาศที่ไม่ถูกต้องตามฤดูกาล สำหรับประเด็นปัญหาความต้องการในปัจจุบันของบ้านห้วยไทร ยังขาดความตระหนักรู้ไม่เห็นความสำคัญในการบริโภคอาหารสุขภาพ และการใช้สารเคมีในการทำการเกษตร เช่น สวนทุเรียน สวนมังคุด ฯลฯ ซึ่งแหล่านี้ส่งผลต่อสุขภาพร่างกายในระยะยาว ทำให้เกิดการเจ็บป่วยโรคเรื้อรังและโรคอื่นๆ
1.3 ผลการวิเคราะห์แรงเสริมแรงต้าน ของพื้นที่ พบว่า   มีปราชญ์ชาวบ้าน ยาสมุนไพร ประชาชนให้ความร่วมมือ มีส่วนร่วมในกิจกรรมของหมู่บ้าน ท้องถิ่น ท้องที่ผู้นำ หมู่บ้านมีความร่วมมือเข้มแข็ง มีหน่วยงานเข้ามาหนุนเสริม ชมรม อสม. มีความเข้มแข็ง มีศาสนสถาน(วัด/สำนักสงฆ์) จำนวน 3 แห่ง มีศิลปวัฒนธรรม งานประเพณีท้องถิ่นประจำหมู่บ้าน ได้แก่ แข่งเรือ 8 ฝีพาย ช่องไม้คั๊พ รดน้ำผู้สูงอายุ มีป่าที่อุดมสมบูรณ์ ประชาชนมีการรวมกลุ่มในหมู่บ้าน กลุ่มอาชีพ   โอกาส หน่วยงานภาครัฐให้ความสนใจในการพัฒนาหมู่บ้าน แรงต้าน ประชาชนในชุมชนให้ความสำคัญเรื่องสุขภาพเป็นลำดับสุดท้าย ความเคยชินแบบเดิมๆ ขาดกระบวนการขับเคลื่อนของกลุ่มอย่างต่อเนื่อง และสถานการณ์ระบาดของโควิด-19 น้ำเสียจากพฤติกรรมทางการเกษตร อุปสรรค ระบบการประชาสัมพันธ์ และการติดต่อสื่อสารไม่สะดวก สัญญาณโทรศัพท์ไม่ทั่วถึง จากการวิเคราะห์สภาพปัญหาของบ้านห้วยไทรจะเห็นว่าคนในชุมชนยังขาดความตระหนักในการดูแลสุขภาพดังนั้นเพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ได้มีสุขาภาวะที่ดีขึ้น คณะกรรมการได้ตกลงกันที่จะดำเนินโครงการส่งเสริมการจัดการสุขภาพบ้านห้วยไทร เพื่อให้ประชาชนมีความเข้าใจและเกิดการตระหนักรู้ในการบริโภคอาหารสุขภาพ เนื่องอาหารเป็นสิ่งสำคัญต่อร่างกาย การได้บริโภคอาหารที่ปลอดภัยเหมาะสมตามวัย ก็จะเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้สุขภาพร่างกายแข็งแรง นอกเหนือจากการออกกำลังกายแล้ว เป็นการลดอัตราการเจ็บป่วยโรคเรื้อรัง และโรคอื่นๆ ทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณพ.ค. 65มิ.ย. 65ก.ค. 65ส.ค. 65ก.ย. 65ต.ค. 65พ.ย. 65ธ.ค. 65ม.ค. 66ก.พ. 66มี.ค. 66เม.ย. 66
1 ส่วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่มเติม(1 พ.ค. 2022-30 เม.ย. 2023) 10,000.00                        
2 กิจกรรมที่เกิดความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายสุขภาพ(1 ก.ค. 2022-31 ธ.ค. 2022) 0.00                        
3 ติดตามประเมินผลลัพธ์และนำเสนอผลงาน(1 ม.ค. 2023-30 เม.ย. 2023) 0.00                        
4 ประชุมคณะกรรมการ/ทบทวน/แผนชุมชน(1 ก.พ. 2023-1 ก.พ. 2023) 18,400.00                        
5 กิจกรรมที่เกิดการปรับพฤติกรรมสุขภาพ(1 ก.พ. 2023-1 ก.พ. 2023) 51,700.00                        
รวม 80,100.00
1 ส่วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่มเติม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 2014 10,000.00 8 10,000.00
3 มิ.ย. 65 จัดทำป้ายไวนิลรรรงคืไม่ดื่ม/ไม่สูบ 1,000 1,000.00 1,000.00
4 - 5 มิ.ย. 65 ประชุมเชิงปฎิบัติการปฐมนิเทศโครงการย่อย 3 1,800.00 1,800.00
30 ก.ค. 65 อบรมพัฒนาศักยภาพการบันทึกข้อมูลโครงการระบบออนไลน์ 3 1,800.00 1,800.00
20 - 21 ส.ค. 65 นักสื่อสารสร้างสรรค์สังคมสุขภาวะ 3 1,200.00 1,200.00
26 ต.ค. 65 สมัชชาสุขภาพจังหวัดชุมพร 3 1,400.00 1,400.00
30 ต.ค. 65 รายงานผลดำเนินงานโครงการ 1 800.00 800.00
30 พ.ย. 65 ประสานจัดทำข้อมูลรายงานและการเงิน 1 1,000.00 1,000.00
30 เม.ย. 66 ประสานจัดทำข้อมูลรายงานและการเงิน 1,000 1,000.00 1,000.00
2 กิจกรรมที่เกิดความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายสุขภาพ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0.00 1 0.00
18 ส.ค. 65 ประชุมคณะกรรมการกองทุน สปสช. 0 0.00 0.00
3 ติดตามประเมินผลลัพธ์และนำเสนอผลงาน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
4 ประชุมคณะกรรมการ/ทบทวน/แผนชุมชน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 141 18,400.00 8 18,400.00
7 พ.ค. 65 ประชุมชี้แจ้งและจัดตั้งคณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 1 20 2,900.00 2,900.00
6 มิ.ย. 65 ประชุมคณะทำงานติดตาม ครั้งที่ 2 20 2,400.00 2,400.00
18 ก.ค. 65 ทบทวนสถานการณ์ สุขภาพ 20 2,900.00 2,900.00
7 พ.ย. 65 ประชุมคณะทำงานติดตาม ครั้งที่ 3 20 2,400.00 2,400.00
7 ธ.ค. 65 ประชุมคณะทำงานตืดตามการขับเคลื่อนงาน ครั้งที่ 4 20 2,900.00 2,900.00
7 ก.พ. 66 ประชุมคณะทำงานตืดตามการขับเคลื่อนงาน ครั้งที่ 5 20 2,400.00 2,400.00
8 มี.ค. 66 หักเงินยืมเปิดบัญชีโครงการ 1 100.00 100.00
27 เม.ย. 66 ประชุมคณะทำงานตืดตามการขับเคลื่อนงาน ครั้งที่ 6 20 2,400.00 2,400.00
5 กิจกรรมที่เกิดการปรับพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 379 51,700.00 5 51,700.00
6 - 7 ก.ย. 65 อบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยง คัดกรอง เบาหวาน ความดัน 120 14,400.00 14,400.00
20 ก.ย. 65 ตรวจสุขภาพ คัดกรองกลุ่มเสี่ยงเพิ่มเติม NCDและออกแบบกิจกรรม 3 อ 2 ส 60 5,700.00 5,700.00
20 พ.ย. 65 ส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้านศิลปะวัฒนธรรม 60 12,700.00 12,700.00
8 เม.ย. 66 ประกวดการจัดทำเมนูสุขภาพร่วมกับเชฟชุมชน 75 8,850.00 8,850.00
25 เม.ย. 66 เวทีนำเสนอผลงานและคืนข้อมูล 64 10,050.00 10,050.00

 

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 23 ก.ค. 2022 12:39 น.