directions_run

โครงการส่งเสริมการผลิตและบริโภคอาหารปลอดภัยเพื่อความมั่นคงทางอาหารในเขตเมืองชุมชนควนขัน

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการผลิตและบริโภคอาหารปลอดภัยเพื่อความมั่นคงทางอาหารในเขตเมืองชุมชนควนขัน
ภายใต้โครงการ โครงการการฟื้นฟูคุณภาพชีวิต และพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากแก่ผู้ได้รับผลกระทบจาก COVID-19 เพื่อการสร้างเสริมสุขภาวะจังหวัดภาคใต้
ภายใต้องค์กร Node โควิค ภาคใต้
รหัสโครงการ 65-10018-04
วันที่อนุมัติ 7 กันยายน 2022
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กันยายน 2022 - 31 สิงหาคม 2023
งบประมาณ 79,950.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชุมชนควนขัน
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายเชวง รักใหม่
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 0836342712
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ Chawenglove99@gmail.com
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวเทพยุดา เฝื่อคง
พื้นที่ดำเนินการ ชุมชนควนขัน ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.553995,99.617436place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ก.ย. 2022 28 ก.พ. 2023 1 ก.ย. 2022 28 ก.พ. 2023 50,000.00
2 1 มี.ค. 2023 31 ก.ค. 2023 1 มี.ค. 2023 31 ส.ค. 2023 25,000.00
3 1 ส.ค. 2023 31 ส.ค. 2023 4,950.00
รวมงบประมาณ 79,950.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ​จังหวัดตรัง เป็นจังหวัดหนึ่งที่มีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ค่อนข้างรุนแรงในระยะที่ผ่านมา ส่งผลกระทบทางเศรษฐกิจ และสังคมอย่างต่อเนื่องยาวนาน โดยผลกระทบนั้นแผ่กระจายในวงกว้างกับคนทุกกลุ่ม ทุกอาชีพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มพ่อค้าแม่
4.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ครัวเรือนเป้าหมายมีความรอบรู้ทางสุขภาพและการเงิน
  1. ครัวเรือนเป้าหมายมีความรอบรู้ทางสุขภาพและการเงินเพิ่มขึ้น 1.1) ครัวเรือนเป้าหมาย 30 ครัวเรือน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาพและการเงินเพิ่มขึ้น 1.2) ครัวเรือนเป้าหมายอย่างน้อย 80% สามารถนำความรู้ไปใช้แก้ไขปัญหาทางการเงินและสุขภาพได้
2 เพื่อส่งเสริมการผลิตและบริโภคอาหารปลอดภัยเพื่อความมั่นคงทางอาหารในชุมชนเมือง
  1. เกิดกลไกคณะทำงานที่มีความรู้ความเข้าใจและมีความสามารถในการดำเนินโครงการ 1.1) เกิดคณะทำงาน 8-12 คน ที่มาจากกรรมการชุมชน ปราชญ์ชุมชน และตัวแทนเทศบาลนครตรังและหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ 1.2) เกิดการกำหนดบทบาทหน้าที่ของคณะทำงาน 1.3) มีแผนการปฏิบัติงาน 1.4) มีการติดตามผลการดำเนินงานและเก็บข้อมูลเพื่อนำมาประเมินและปรับปรุงการทำงานอย่างต่อเนื่อง เดือนละ 1 ครั้ง 1.5) ชุมชนมีข้อมูลสถานการณ์ด้านพฤติกรรมการปลูกและบริโภคผัก (ระบุ ชนิด พันธุ์ จำนวน การใช้ประโยชน์จากผัก ข้อมูลผักที่ซื้อมาบริโภค) การใช้สารเคมีในชุมชน และนำข้อมูลไปใช้รวมถึงคืนข้อมูลให้ชุมชนอย่างต่อเนื่อง 1.6) มีการกำหนดกติกาหรือข้อตกลงเรื่องการปลูกและการบริโภคผักปลอดสารเคมี และเกิดการปฏิบัติตามกติกาหรือข้อตกลงที่กำหนดไว้

  2. ครัวเรือนมีการปลูกและบริโภคผักปลอดสารเคมีในครัวเรือน 2.1) ครัวเรือนจำนวน 30 ครัวเรือน ปลูกผักปลอดสารเคมีไว้บริโภคเองที่บ้าน เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 5 ชนิด (ระบุชื่อผักพื้นบ้าน ผักตามฤดูกาล ที่เหมาะสมสอดคล้องกับความต้องการของครัวเรือน) 2.2) ครัวเรือนจำนวน 30 ครัวเรือน บริโภคผักที่ปลูกโดยไม่ใช้สารเคมี อย่างน้อย 3 ครั้งต่อสัปดาห์ (ต่อเนื่องอย่างน้อย 4 เดือน) 2.3) เกิดครัวเรือนต้นแบบจำนวน 10 ครัวเรือน

  3. กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการสามารถลดค่าใช้จ่ายจากการปลูกผักไว้บริโภคเอง 3.1) ค่าใช้จ่ายในการซื้อผักบริโภคต่อครัวเรือนต่อสัปดาห์ลดลงเฉลี่ย 50% (จากก่อนเข้าร่วมโครงการ)

  4. เกิดศูนย์เรียนรู้การปลูกผักปลอดสารและการจัดการเมล็ดพันธุ์ชุมชน (Agri Center) 4.1) มีกลไกคณะทำงานประจำศูนย์ฯ 4.2) มีแผนการปฏิบัติงาน 4.3) มีการดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง ตามภารกิจของศูนย์ฯ

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณก.ย. 65ต.ค. 65พ.ย. 65ธ.ค. 65ม.ค. 66ก.พ. 66มี.ค. 66เม.ย. 66พ.ค. 66มิ.ย. 66ก.ค. 66ส.ค. 66
1 คืนเงินเปิดบัญชี(1 ก.ย. 2022-1 ก.ย. 2022) 500.00                        
2 กิจกรรมที่ 8 กิจกรรมร่วมกับหน่วยจัดการและ สสส.(18 ก.ย. 2022-18 ก.ย. 2022) 16,520.00                        
3 กิจกรรมที่ 7 ประชุมเพื่อติดตามความก้าวหน้าและเตรียมความพร้อมการดำเนินกิจกรรมของศูนย์ Agri Center(1 ต.ค. 2022-1 ต.ค. 2022) 10,080.00                        
4 กิจกรรมที่ 5 เยี่ยมแปลงผักชุมชน-เสริมพลังการทำงาน(6 ส.ค. 2023-6 ส.ค. 2023) 6,720.00                        
5 กิจกรรมที่ 1 การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน จัดทำแผนปฏิบัติการ และสรุปบทเรียนการดำเนินงานโครงการ(7 ส.ค. 2023-7 ส.ค. 2023) 9,200.00                        
6 กิจกรรมที่ 6 เยี่ยมแปลงผักเพื่อนบ้าน-แลกเปลี่ยนเรียนรู้สู่การพัฒนา(7 ส.ค. 2023-7 ส.ค. 2023) 4,800.00                        
รวม 47,820.00
1 คืนเงินเปิดบัญชี กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 1 500.00 1 500.00
1 ก.ย. 65 คืนเงินเปิดบัญชี 1 500.00 500.00
2 กิจกรรมที่ 8 กิจกรรมร่วมกับหน่วยจัดการและ สสส. กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 19 16,520.00 11 10,897.00
17 - 18 ก.ย. 65 การเข้าร่วมกิขกรรมปฐมนิเทศ การแลกเปลี่ยนความรอบรู้สุขภาวะทางสุขภาพและการเงิน 2 2,290.00 2,285.00
27 ก.ย. 65 - 28 ก.พ. 66 การจัดทำเอกสารประกอบการอบรมและการจัดทำรายงาน 0 1,000.00 0.00
12 พ.ย. 65 ป้ายไวนิลโครงการ ป้ายไวนิลบันไดผลลัพธ์ ตรายางชุมชนควนขัน 0 1,000.00 1,082.00
15 - 16 ธ.ค. 65 การเข้าร่วมการอบรมความรอบรู้ทางการเงินและสุขภาพ ณ เขาพับผ้ารีสอร์ท อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง 2 1,000.00 0.00
11 - 12 ก.พ. 66 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลลัพธ์และบทเรียนการดำเนินงานโครงการรายย่อยกับหน่วยจัดการ ครั้งที่ 1/2 (ARE ครั้งที่ 1) 1 2,000.00 1,475.00
18 ก.พ. 66 การแลกเปลี่ยนข้อมูลกับพี่เลี้ยงหน่วยจัดการ ครั้งที่ 1/2 1 170.00 170.00
30 เม.ย. 66 การแลกเปลี่ยนข้อมูลกับพี่เลี้ยงหน่วยจัดการ ครั้งที่ 2/2 1 170.00 170.00
15 พ.ค. 66 การถ่ายเอกสารจัดทำโครงการ 1 250.00 -
15 พ.ค. 66 ค่าจัดซื้ออุปกรณ์สำนักงานในการจัดทำโครงการ 2 500.00 -
20 - 21 พ.ค. 66 การเข้าร่วมการอบรมการจัดทำสื่อ (Online) โปรแกรม CANVA TIKTOK 2 0.00 -
14 - 16 ก.ค. 66 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลลัพธ์และบทเรียนการดำเนินงานโครงการรายย่อยกับหน่วยจัดการ ครั้งที่ 2/2 (ARE ครั้งที่ 2) 3 3,600.00 1,585.00
28 ก.ค. 66 การจัดทำป้ายศูนย์การเรียนรู้ของชุมชนควนขัน (Agri center) 0 600.00 500.00
4 ส.ค. 66 จัดทำไวนิลศูนย์การเรียนรู้การปลูกผักปลอดและการจัดการเมล็ดพันธุ์ชุมชน (Agi center) 0 310.00 -
9 - 10 ส.ค. 66 การเข้าร่วมงานสร้างสุขภาคใต้ครั้งที่ 13 2 1,630.00 1,630.00
16 ส.ค. 66 ค่าจัดทำรายงานออนไลน์ 2 2,000.00 2,000.00
3 กิจกรรมที่ 7 ประชุมเพื่อติดตามความก้าวหน้าและเตรียมความพร้อมการดำเนินกิจกรรมของศูนย์ Agri Center กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 72 10,080.00 6 10,080.00
1 ต.ค. 65 ประชุมเพื่อติดตามความก้าวหน้า ครั้งที่ 1/6 12 1,680.00 1,680.00
1 ธ.ค. 65 ประชุมเพื่อติดตามความก้าวหน้า ครั้งที่ 2/6 12 1,680.00 1,680.00
1 ม.ค. 66 ประชุมเพื่อติดตามความก้าวหน้า ครั้งที่ 3/6 12 1,680.00 1,680.00
1 ก.พ. 66 ประชุมเพื่อติดตามความก้าวหน้า ครั้งที่ 4/6 12 1,680.00 1,680.00
1 มี.ค. 66 ประชุมเพื่อติดตามความก้าวหน้า ครั้งที่ 6/6 12 1,680.00 1,680.00
1 มิ.ย. 66 ประชุมเพื่อติดตามความก้าวหน้า ครั้งที่ 5/6 12 1,680.00 1,680.00
4 กิจกรรมที่ 5 เยี่ยมแปลงผักชุมชน-เสริมพลังการทำงาน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 48 6,720.00 4 6,720.00
5 มี.ค. 66 เยี่ยมแปลงผักชุมชน-เสริมพลังการทำงาน ครั้งที่ 1/4 12 1,680.00 1,680.00
5 เม.ย. 66 เยี่ยมแปลงผักชุมชน-เสริมพลังการทำงาน ครั้งที่ 2/4 12 1,680.00 1,680.00
1 พ.ค. 66 เยี่ยมแปลงผักชุมชน-เสริมพลังการทำงาน ครั้งที่ 3/4 12 1,680.00 1,680.00
1 มิ.ย. 66 เยี่ยมแปลงผักชุมชน-เสริมพลังการทำงาน ครั้งที่ 4/4 12 1,680.00 1,680.00
5 กิจกรรมที่ 1 การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน จัดทำแผนปฏิบัติการ และสรุปบทเรียนการดำเนินงานโครงการ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 40 9,200.00 2 9,200.00
17 ก.ย. 65 การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน ครั้งที่ 1/2 20 4,600.00 4,600.00
11 ม.ค. 66 การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน ครั้งที่ 2/2 20 4,600.00 4,600.00
6 กิจกรรมที่ 6 เยี่ยมแปลงผักเพื่อนบ้าน-แลกเปลี่ยนเรียนรู้สู่การพัฒนา กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 30 4,800.00 2 4,400.00
1 เม.ย. 66 เยี่ยมแปลงผักเพื่อนบ้าน-แลกเปลี่ยนเรียนรู้สู่การพัฒนา ครั้งที่ 1/2 15 2,550.00 2,200.00
2 พ.ค. 66 เยี่ยมแปลงผักเพื่อนบ้าน-แลกเปลี่ยนเรียนรู้สู่การพัฒนา ครั้งที่ 2/2 15 2,250.00 2,200.00
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 75 38,850.00 3 38,850.00
1 ก.พ. 66 กิจกรรมที่ 2 การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพครัวเรือนเป้าหมาย (ความรอบรู้ทางสุขภาพและการเงิน) 40 9,200.00 9,200.00
12 ก.พ. 66 กิจกรรมที่ 4 ส่งเสริมการปลูกและบริโภคผักปลอดสารเคมีในครัวเรือน 35 8,810.00 8,810.00
28 มี.ค. 66 กิจกรรมที่ 3 การพัฒนาศูนย์เรียนรู้การปลูกผักปลอดสารและการจัดการเมล็ดพันธุ์ชุมชน (Agri Center) 0 20,840.00 20,840.00

 

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เกิดคณะทำงานที่มีความเข้าใจและมีความสามารถในการดำเนินโครงการ
  2. เกิดกลไกสนับสนุน การปลูกและบริโภคผักปลอดสารเคมีในครัวเรือน
  3. ครัวเรือนเป้าหมายมมีความรอบรู้ทางสุขภาพและการเงินเพิ่มขึ้น
  4. ครัวเรือนมีการปลูกและบริโภคผักปลอดสารเคมีในครัวเรือน
  5. เกิดศูนย์เรียนรู้การปลูกผักปลอดสารและการจัดการเมล็ดพันธุ์ชุมชน (Agri Center)
  6. ประชาชนในเขตเทศบาลนครตรังมีสุขภาพที่ดีขึ้น
stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 ก.ย. 2022 07:49 น.