directions_run

โครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ หมู่บ้านท่าเรือใหม่ (การเคหะแห่งชาติ) ม.7 ต.รัษฎา อ.เมือง จ.ภูเก็ต โครงการเยาวชนต้นกล้า

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ หมู่บ้านท่าเรือใหม่ (การเคหะแห่งชาติ) ม.7 ต.รัษฎา อ.เมือง จ.ภูเก็ต โครงการเยาวชนต้นกล้า
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 54-01499
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 สิงหาคม 2554 - 31 สิงหาคม 2555
งบประมาณ 199,125.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางประภาศรี เตชะสิพันธุ์
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ การเคหะแห่งชาติ โครงการ1 (หมู่บ้านท่าเรือใหม่ ต.รัษฎา อ.เมือง จ.ภูเก็ต)
ละติจูด-ลองจิจูด 7.884255,98.410249place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. จัดประชุมชี้แจงโครงการ ประชุมผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง และมีการจัดประชุมเพื่อติดตามความคืบหน้าโครงการอย่างสม่ำเสมอ เดือนละ 1 ครั้ง
  2. ตั้งคณะทำงานที่มาจากเยาวชน และคนในชุมชนเพื่อช่วยกันดำเนินโครงการ
  3. กิจจกรม “ปรับหน้าบ้านให้น่าอยู่” จำนวน 2 ซอย อย่างน้อยซอยละ 5 หลังคาเรือนและจะมีการขยายผลไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของจำนวนหลังคาเรือนใน2 ซอยนี้ เข้าร่วมกิจกรรมโดยจะมีการให้แต่ละบ้านปรับปรุงทัศนียภาพหน้าบ้านและในบ้านเพื่อสุขอนามัยที่ดี มีการคัดแยกขยะ และมีการใช้น้ำ E.M. อย่างสม่ำเสมอ
  4. กิจกรรม “เก็บขยะเดือนละซอย” เพื่อเป็นการรู้จักชุมชนให้ดียิ่งขึ้น ทำแผนที่ชุมชนอย่างคร่าวๆ และในขณะเดียวกันก็สร้างจิตสำนึกเรื่องสิ่งแวดล้อม การรักษาความสะอาดให้ชุมชน ส่งเสริมสุขอนามัยและให้ความรู้ประชาชนเรื่องประโยชน์ของ E.M.
  5. กิจกรรม “ธนาคารขวดพลาสติก” ให้เยาวชนต้นกล้าได้นำขวดพลาสติดที่ทำความสะอาดแล้ว ส่วนหนึ่งนำมาจำหน่ายให้กับร้านรับซื้อของเก่าเพื่อนำเงินที่ได้เข้ามาสบทบกองทุน และอีกส่วนนำมาใช้สำหรับบรรจุน้ำ E.M. เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนต้นกล้ารักษาสิ่งแวดล้อมทั้งด้านการคัดแยกขยะ การนำกลับมาใช้ใหม่และการใช้ E.M. บำบัดสิ่งแวดล้อม
  6. เยาวชนต้นกล้า และผู้ที่สนใจรวมตัวกันเพื่อผลิตน้ำ E.M. ส่วนหนึ่งเพื่อใช้สำหรับประโยชน์ส่วนรวมของชุมชน และอีกส่วนหนึ่งเพื่อขายนำรายได้เข้าสู่กองทุนเยาวชนต้นกล้า สำหรับนำไปใช้ประโยชน์ในอนาคตต่อไป
  7. จัด “เวทีเยาวชนต้นกล้า” ให้เหล่าต้นกล้าได้คิดและนำเสนอโครงการที่จะทำเพื่อแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมด้วยตนเอง เป็นการสร้างการมีส่วนร่วม กล้าคิดกล้าแสดงออกให้กับเยาวชนในชุมชน ในการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมด้วยตัวเองโดยโครงการที่เสนอต้องเป็นโครงการที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม จำนวน 5 กลุ่ม ๆ ละ 4,000 บาท
  8. มอบเกียรติบัตรให้เยาวชนต้นกล้าที่มีส่วนร่วมในการดำเนินงานอย่างสม่ำเสมอ โดยให้ทางเทศบาลตำบลรัษฎา และ สสส. เป็นผู้มอบเกียรติบัตรให้กับเยาวชนต้นกล้า
  9. ประชาสัมพันธ์กิจกรรมผ่านงานต่างๆ ภายในหมู่บ้าน สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนเคหะรัษฎาภูเก็ต จำกัด และสื่อวิทยุ เพื่อสร้างการรับรู้ในโครงการ สร้างกำลังใจให้กับเยาวชนต้นกล้า และส่งเสริมให้บุคคลทั่วไปเข้ามามีส่วนร่วม
  10. จัดเวทีสรุปบทเรียนในชุมชน ร่วมกับหน่วยงานต่างๆ
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 ส.ค. 2554 14:21 น.