directions_run

เกษตรปลูกผักและสมุนไพรปลอดสารเคมีไม่มีสารพิษใช้ชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง

assignment
บันทึกกิจกรรม
ปิดโครงการร่วมกับ สจรส.มอ.30 กันยายน 2556
30
กันยายน 2556รายงานจากพื้นที่ โดย nattikan
circle
วัตถุประสงค์

สจรส.มอ และพี่เลี้ยง ตรวจสอบโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

สจรส.มอ.ร่วมกับพี่เลี้ยงตรวจสอบรายงานเอกสารโครงการ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

รับการตรวจเอกสาร หลักฐานการเงิน 

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ไปร่วมเวที สจรส.มอ.28 กันยายน 2556
28
กันยายน 2556รายงานจากพื้นที่ โดย nattikan
circle
วัตถุประสงค์

ร่วมเวทีการขับเคลื่อนชุมชนท้องถิิ่นน่าอยู่สู่วิถีการจัดการตนเอง

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เข้าร่วมเวทีและรับฟังการเสวนาและปาฐกถาเรื่องพลังชุมชน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ร่วมเวทีการขับเคลื่อนชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่สู่วิถีการจัดการตนเอง

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

--

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
--
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

--

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

--

จ่ายค่าประชุมทีมงาน (ย้อนหลัง 15 ก.พ. 56)16 กันยายน 2556
16
กันยายน 2556รายงานจากพื้นที่ โดย nattikan
circle
วัตถุประสงค์

จ่ายค่าจัดกิจกรรมประชุมทีมงานย้อนหลัง วันที่ 15 ก.พ. 2556

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

คณะกรรมการดำเนินการร่วมกันพูดคุยและวางแผนการดำเนินงานในการทำกิจกรรมครั้งต่อไป

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะกรรมการร่วมกันวางแผนการดำเนินกิจกรรมในครั้งต่อไป และร่วมกันหาวิธีการแก้ไขปัญหาในการดำเนินโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

จ่ายค่ารุปถ่ายตลอดโครงการ15 กันยายน 2556
15
กันยายน 2556รายงานจากพื้นที่ โดย nattikan
circle
วัตถุประสงค์

บันทึกงบประมาณหมวดอื่นๆได้แก่ รูปถ่าย ป้ายไวนิล ค่าจ้างพิมพ์รายงาน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

บันทึกค่าใช้จ่าย ค่าป้ายไวนิล 1000 บาท ค่าอัดรูป 1000 บาท ค่าจ้างพิมพ์รายงาน 1000 บาท

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

บันทึกค่าใช้จ่าย

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

จ่ายค่าจัดกิจกรรมวันที่ 10-20 ก.พ. 255615 กันยายน 2556
15
กันยายน 2556รายงานจากพื้นที่ โดย nattikan
circle
วัตถุประสงค์

จ่ายค่าจัดกิจกรรมวันที่ 10 - 20 ก.พ. 56 ซึ่งเป็นวันจัดกิจกรรมการร่วมกันจัดทำแปลงผักในแต่ละกลุ่ม และเป็นวันประชุมคณะกรรมการดำเนินการ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

10 - 14 ก.พ.56 ร่วมกันทำแปลงผักครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ 15 ก.พ. 56 ประชุมคณะกรรมการ จำนวน 15 คน เพื่อวางแผนการดำเนินกิจกรรมในครั้งต่อไป 16 - 20 ก.พ. 56 ร่วมกันทำแปลงผักในแต่ละครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ร่วมกันทำแปลงผัก จนได้แปลงผักครบทุกครัวเรือนที่เข้าร่วมกิจกรรม โดยวิธีการเวียนกันทุกจนครบทุกบ้านที่เข้าร่วมโครงการ เพื่อส่งเสริมการทำกิจกรรมร่วมกันของครัวเรือนในชุมชน

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

--

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
--
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

--

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

--

จ่ายค่าเดินทางไปร่วมเวทีกับ สจรส.มอ. 20 มกราคม 255615 กันยายน 2556
15
กันยายน 2556รายงานจากพื้นที่ โดย nattikan
circle
วัตถุประสงค์

บันทึกกิจกรรมย้อนหลัง

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ร่วมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดทำโครงการกับ สจรส. ณ โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ร่วมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การดำเนินกิจกรรมของโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

(0)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข
circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
circle
ข้อเสนอแนะต่อ
circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่
จัดทำเอกสารเพื่อเผยแพร่และสรุปโครงการ15 กันยายน 2556
15
กันยายน 2556รายงานจากพื้นที่ โดย nattikan
circle
วัตถุประสงค์

สรุปผลการดำเนินงานและเอกสารฉบับสมบูรณ์

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

      จัดทำเอกสารเพื่อเผยแพร่ สรุปผลการดำเนินการ และเอกสารสรุปโครงการฉบับสมบูรณ์

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

      จัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์ที่มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

รายงานละเอียดและยากมากเกินความสามารถที่ชาวบ้านจะทำได้ เช่นการคีย์รายงานเข้าเวปไซด์ ทำให้การทำกิจกรรมในแต่ละกิจกรรมเกิดความยุ่งยากเนื่องจากบางโครงการทำกิจกรรมแล้วแต่ยังไม่ได้คย์รายงานเข้าเวปไซด์เพื่อส่งงาน ทำให้เกิดการค้างส่งรายงาน ชาวบ้านมีความถนัดในการทำกิจกรรมมากกว่า การทำรายงานผ่านคอมพิวเตอร์

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
--
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

อยากให้ สสส. ตรวจแต่เอกสาร ไม่ต้องทำรายงานเป็นรูปเล่ม เพราะแต่ละกิจกรรมที่ทำไปแล้วก็ส่งรายงานไปแล้ว จะต้องมาสรุปงานใหม่อีก ทำให้ยุ่งยากมากในระดับชาวบ้าน

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

--

ถอดบทเรียนการดำเนินโครงการ13 กันยายน 2556
13
กันยายน 2556รายงานจากพื้นที่ โดย nattikan
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อร่วมกันสรุปผลการดำเนิน โครงการ โดยมีตัวแทนผู้เข้าร่วมโครงการ 20 คน คณะกรรมการ 15 คน อบต. เจ้าหน้าที่ รพ.สต.

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

คณะกรรมการ 15 คน ตัวแทนผู้เข้าร่วมโครงการ 20 คน เครือข่ายผู้ร่วมโครงการ 5 คน ได้แก่ อบต. เจ้าหน้าที่ รพ.สต.บ้านท่าช้าง คณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน เกษตรตำบลช้างซ้าย ครูบัญชีอาสา และเจ้าหน้าที่สำนักงานพัฒนาที่ดิน นอกจากนี้ก็ยังมีผู้เข้าร่วมอีกคือ ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 5 ตำบลช้างซ้ายคณะกรรมการสหกรณ์การเกษตรพระพรหม จำกัด ร่วมกันถอดบทเรียน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะกรรมการมีความภาคภูมิใจที่สามารถรวบรวมคนภายในหมู่บ้าน เข้ามาร่วมในการจัดกิจกรรมแต่ละครั้ง ไม่ว่าจะเป็นกิจกรรมการเสวนาให้ความรู้เรื่องดิน การทำปุ๋ยหมัก (ชีวภาพ) การอบรมเรื่องการจัดทำบัญชีครัวเรือน และการทำการเกษตรแบบปลอดสารเคมี และการใช้ชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งผลจากการทำกิจกรรมในแต่ละครั้งชาวบ้านที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ และมีความประทับใจกิจกรรมที่คณะกรรมการโครงการได้ร่วมกันจัดขึ้น ทำให้ชาวบ้านได้รับความรู้เพิ่มจากการจัดกิจกรรมต่าง ๆ และสามารถจัดตั้งศูนย์การเรียนประจำหมู่บ้าน เพื่อเป็นแหล่งรวบรวมการทำกิจกรรมต่าง ๆ ในชุมชน และเป็นสถานที่ที่จะให้ชาวบ้านได้ร่วมกันแสดงความคิดเห็นและพูดคุยกันมากขึ้น ทำให้ชาวบ้านมีเวลาอยู่กันมากขึ้น ณ ศูนย์การเรียนรู้ และคนในชุมชนมีผลิตผลทางการเกษตรจากการทำโครงการเป็นผักและสมุนไพรที่ปลอดสารพิษ ทำให้สุขภาพของคนในชุมชนดีขึ้น อัตราการเจ็บป่วยลดลง เนื่องคนในชุมชนตระหนักถึงอันตรายของสารเคมี จากการทำโครงการทำให้คนในชุมชนเปลี่ยนวิถีชีวิตความเป็นอยุ จากเดิมต่างคนต่างอยู่ ไม่เคยอะไรร่วมกัน ก็หันมาช่วยเหลือแบ่งปันกัน มีอะไรก็นึกถึงเพื่อนบ้านเพิ่มขึ้น ทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างบ้านใกล้เรือนเคียงดีขึ้น และเป็นหูเป็นตาแทนกันได้ ไม่ใช้แบบคนในเมือง คือต่างคนต่างอยู่ และสภาพแวดล้อมในชุมชนก็เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีมาก ทุก ๆ บ้านจะมีหน้าเป็นสวนน้อย ๆ มีผักปลอดสารกินกันทุกบ้าน ทำให้สภาพแวดล้อมชุมชนดีขึ้น จากที่ที่เคยรกร้างก็กลายเป็นที่ของผักสวนครัว มีสมุนไพรปลูกกันทุกบ้าน ทำให้ชุมชนเกิดคำว่า "หน้าบ้าน น่ามอง" ด้านกลไกในการดำเนินชีวิตของคนในชุมชนก็เปลี่ยนไปโดยใช้วิธีการร่วมด้วยช่วยกัน เพื่อความสำเร็จร่วมกัน และเป็นการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างคนในหมู่บ้านดีขึ้นมีวิธีการแก้ไขปัญหาในหมู่บ้านเบื้องต้นได้ มีเกษตรกรตัวอย่างเกิดขึ้นในชุมชน ซึ่งทำให้คนในชุมชนรู้จักเปลี่ยนแปลงวิธีการดำเนินชีวิตตามครัวเรือนต้นแบบ เพื่อยกระดับครัวเรือนของตนเองให้เป็นครัวเรือนต้นแบบได้อีกครัวเรือนหนึ่งและสามารถเป็นตัวอย่างให้กับครัวเรือนที่ไม่เข้าร่วมโครงการ ครัวต้นแบบเป็นผู้มีความรู้และสามารถนำความที่ได้จากการทำโครงการไปพูดคุยให้คนในชุมชนได้เอาเป็นตัวอย่างได้

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 40 คน จากที่ตั้งไว้ 40 คน
ประกอบด้วย
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

--

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
--
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

--

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

--

ประชุมทีมงานเพื่อวางแผนการพิมพ์รายงานและสรุปโครงการ10 กันยายน 2556
10
กันยายน 2556รายงานจากพื้นที่ โดย nattikan
circle
วัตถุประสงค์

    เพื่อร่วมกันวางแผนการจัดทำรายงานส่ง สสส. และวางแผนการสรุปโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

      คณะกรรมการร่วมการวางแผนการจัดพิมพ์รายงานและการสรุปผลการดำเนินกิจกรรมตลอดโครงการ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

      คณะกรรมการ ร่วมกันสรุปผลการดำเนินกิจกรรมตลอดโครงการและกำหนดวันเปิดศูนย์การเรียนรู้ในหมู่บ้าน

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

จัดเสวนาใหญ่ เพื่อสรุปผลการติดตามเยี่ยม10 กันยายน 2556
10
กันยายน 2556รายงานจากพื้นที่ โดย nattikan
circle
วัตถุประสงค์

เพิ่อสรุปโครงการและเปิดศูนย์การเรียนรู้ประจำหมู่บ้าน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เวลา 08.30 น. ชาวบ้านมาพร้อมกัน ณ ศูนย์การเรียนรู้ประจำหมู่บ้าน เวลา 09.00 ประธานในพิธีเปิดศูนย์การเรียนรู้ประจำหมู่บ้าน โดยเชิญ หัวหน้าสาธารณสุข อ.พระพรหม มาเป็นประธานในพิธีเปิด และมอบเกียรติบัตรให้แก่ครัวเรือนต้นแบบ จำนวน 50 ครัวเรือน หัวหน้าโครงการกล่าวสรุปโครงการ และเชิญประธานในพิธีพบปะกับครัวเรือนเป้าหมาย และให้คำแนะนำในการดูแลสุขภาพ หลังจากนั้น เกษตรอำเภอพระพรหม ได้ให้ความรุ้แก่ชาวบ้านเกี่ยวกับเรื่องของสถานการณ์ยางพารา และวิธีการขึ้นทะเบียนยางพารา หลังจากนั้น ผจก.สกต.นครศรีฯ พร้อมเจ้าหน้าที่ สาธิตวิิธีการทำสบู่ให้แกชาวบ้าน เพื่อสนับสนุนการใช้ชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ชาวบ้านเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 80 ครัวเรือน สาธารณสุข อ.พระพรหม /ผอ. และ เจ้าหน้าที่ รพ.สต.บ้านท่าช้าง / ครูบัญชีอาสา/ ประธานกรรมการสหกรณ์การเกษตรพระพรหม และเลขานุการ อบต.ช้างซ้าย ผจก.และเจ้าหน้าที่จาก สกต.นครศรีฯ และกลุ่มเกษตรกรทำนาช้างซาย ร่วมสนับสนุนงบประมาณ 300.-บาท เพื่อซื้อวัสดุมอบให้กับครัวเรือนต้นแบบเพิ่มอีก 20 ครัวเรือน และคณะกลองยาวประจำหมู่บ้าน ได้เข้าร่วมในกิจกรรมนี้ โดยให้ความสนุกสนุนและความบันเทิงให้กับช้าวบ้านได้เป็นอย่างมาก

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 80 คน จากที่ตั้งไว้ 100 คน
ประกอบด้วย
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

--

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
--
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

--

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

--

ประชุมทีมทำงาน1 กันยายน 2556
1
กันยายน 2556รายงานจากพื้นที่ โดย nattikan
circle
วัตถุประสงค์

      เพื่อคัดเลือกครัวเรือนต้นแบบที่เข้าร่วมโครงการ พร้อมทั้งวางแผนเตรียมถอดบทเรียนในกิจกรรมครั้งต่อไป

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

    ร่วมประชุมและร่วมกันจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ที่เกิดขึ้น โดยความร่วมมือและความเสียสละของคนในชุมชนร่วมกันสร้างและบริจาคไม้เพื่อสร้างศูนย์การเรียนรู้ของชุมชน 

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

      เกิดศูนย์การเรียนรู้ในชุมชน เพื่อเป็นสถานที่ในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ในชุมชน พร้อมทั้งคัดเลือกครัวเรือนต้นแบบในการทำโครงการ มีครัวเรือนต้นแบบ 50 ครัวเรือน โดยคณะกรรมการยึดหลักที่ครัวเรือนที่ปลูกผักและไม่ใช้สารเคมีในการปลูกผักเลย 100% มาเป็นครัวเรือนต้นแบบของโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

--

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
--
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

--

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

--

ตรวจเยี่ยมแปลงผัก กลุ่มที่ 1030 สิงหาคม 2556
30
สิงหาคม 2556รายงานจากพื้นที่ โดย nattikan
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อสอบถามปัญหาในการปลูกผัก และสำรวจการใช้สารเคมี เช่นการใช้ปุ๋ยและยาฆ่าแมลง 

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

คณะกรรมการลงตรวจเยี่ยมแปลงผักกลุ่มที่ 9 และกลุ่มที่ 10 เพื่อสำรวจปัญหาในการปลูกผักของครัวเรือนกลุ่มเป้าหมาย และสำรวจการปลูกผักว่าหลังจากที่เข้าร่วมโครงการแล้วมีการใช้ปุ๋ยเคมีหรือใช้สารเคมีอีกหรือไม่ และสำรวจครัวเรือนต้นแบบในการปลูกผักฯ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะกรรมการลงตรวจเยี่ยมแปลงผัก กลุ่มที่ 9 และกลุ่มที่ 10 สอบถามปัญหา พร้อมทั้งสำรวจครัวเรือนต้นแบบ เพื่อคัดครัวเรือนที่ปลูกผักแบบไม่มีสารเคมี และการใช้ชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง 100%

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

--

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
--
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

--

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

--

เก็บตกกิจกรรมตรวจสารเคมีในเลือด25 สิงหาคม 2556
25
สิงหาคม 2556รายงานจากพื้นที่ โดย nattikan
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดให้กับกลุ่มครัวเรือนเป้าหมาย

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เริ่มกิจกรรม เวลา 09.00 น. โดยเจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าช้างเข้าร่วมในกิจกรรมตรวจสารเคมีฯ และได้เชิญเจ้าหน้าที่จาก รพ.สต.บ้านห้วยยูง  คุณหมอสุวรรณี คุณโอษฐ์ มาให้ความรู้แก่กลุ่มครัวเรือนเป้าหมาย โดยคุณหมอสุวรรณี ได้อธิบายถึงสารเคมีที่เกี่ยวข้องกับชีวิตของเกษตรกรโดยทั่วไป มีหลายชนิด เช่นสารบอแรกซ์ จะปนเปื้อนในอาหารจำพวก ลูกชิ้น ใส้กรอก หมูบดหรือในขนมหวานที่มีความกรอบ ถ้าเรากินเข้าไปมาก ๆ ก็จะมีอันตราย ทำให้อาเจียน 2. สารกันรา ปนเปื้อนอยู่ในอาหารจำพวกหมักดอง  ถ้ากินเข้าไปมาก ๆ จะทำให้มีอาการหูอิ้อ ไม่ไข้สูง 3. สารฟอกขาว อยู่ในอาหารจำพวกถั่วงอก  และอาหารที่มีความขาวมาก ๆ  4. สารฟอร์มาลิน ปนเปื้อนอยู่ในอาหารจำพวกอาหารทะเล และผักสด เพื่อต้องการให้อาหารเหล่านั้นมีความสดอยู่เสมอ ขณะที่คุณหมอให้ความรู้ทางเจ้าจาก รพ.สต.บ้านท่าช้าง ก็เริ่มตรวจสารเคมีให้กับครัวเรือนกลุ่มเป้าหมายฯในโครงการ หลังจากคุณหมอให้ความรู้แล้วก็มีกิจกรรมสันทนาการโดยให้ชาวบ้านมีส่วนร่วมกิจกรรม เช่นการทำท่าประกอบเพลง เพื่อเป็นการเพิ่มบรรยากาศในการทำกิจกรรมให้มีความสนุกสนาน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จัดกิจกรรมตรวจสารเคมีในเลือด วันที่ 25 ส.ค. 56 โดยมีครัวเรือนเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 90 คน ผลการตรวจสารเคมีฯส่วนใหญ่จะมีสารเคมีตกค้างในเลือดอยู่ในระดับ 3และ4 คืออยู่ในภาวะเสี่ยงและไม่ปลอดภัย และครัวเรือนที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้เรื่องสารเคมีที่ปนเปื้อนอยู่ในอาหาร ทำให้ชาวบ้านรู้จักเลือกอาหารที่จะรับประทานเข้าไปได้เพิ่มมากขึ้น

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 90 คน จากที่ตั้งไว้ 120 คน
ประกอบด้วย
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

--

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
--
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

--

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

--

ประชุมทีมทำงาน15 สิงหาคม 2556
15
สิงหาคม 2556รายงานจากพื้นที่ โดย nattikan
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อเตรียมความพร้อมในการเสวนาครั้งใหญ่ และสรุปผลการตรวจเยี่ยมแปลงผัก

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

คณะกรรมการร่วมกันรวบรวมปัญหาที่พอในการปลูกผักและสมุนไพร ของครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ และร่วมกันปรึกษาหารือ แก้ไขปัญหาในการปลูกผักและสมุนไพรให้แก่ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ศึกษาปัญหาที่พบ และร่วมกันศึกษาค้นคว้า เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว และนำวิธีการที่ได้ไปบอกกล่าวแก่ครัวเรือนที่ประสบปัญหา 

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 15 คน จากที่ตั้งไว้ 15 คน
ประกอบด้วย
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

--

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
--
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

--

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

--

ตรวจเยี่ยมแปลงผัก กลุ่มที่ 710 สิงหาคม 2556
10
สิงหาคม 2556รายงานจากพื้นที่ โดย nattikan
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อสอบถามปัญหาและสำรวจครัวเรือนต้นแบบ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

คณะกรรมการลงเยี่ยมแปลงผัก กลุ่มที่ 7และ 8 พร้อมสอบถามถึงปัญหาและให้คำแนะนำเบื้องต้น และรวบรวมปัญหาเพื่อจะขอคำแนะนำจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พร้อมสำรวจครัวเรือนต้นแบบ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

      สำรวจครัวเรือนต้นแบบเพื่อคัดเลือกและรวบรวมปัญหาที่เกิดขึ้นทั้งหมด เพื่อประสานขอคำแนะนำจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 15 คน จากที่ตั้งไว้ 15 คน
ประกอบด้วย
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

--

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
--
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

--

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

--

นัดพบคณะกรรมพูดคุยเพื่อติดตามความก้าวหน้าโครงการ1 สิงหาคม 2556
1
สิงหาคม 2556รายงานจากพื้นที่ โดย nattikan
circle
วัตถุประสงค์

 

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

(0)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข
circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
circle
ข้อเสนอแนะต่อ
circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่
นัดพบคณะกรรมพูดคุยเพื่อติดตามความก้าวหน้าโครงการ1 สิงหาคม 2556
1
สิงหาคม 2556รายงานจากพี่เลี้ยง โดย สิทธิพรรณ เรือนจันทร์
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อกระตุ้นการจัดกิจกรรมที่ล่าช้า

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. เสริมพลังการทำงานให้คณะกรรมการโดยให้เห็นถึงความสำคัญ หน้าตาของหมู่บ้านให้ร่วมมือกันดำเนินการโดยไม่ตกเป็นภาระอยู่ที่คนใดคนหนึ่ง แบ่งบทบาทหน้าที่ให้ชัดเจน
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สร้างความตระหนัก และชี้แจงเรื่องความล่าช้าของโครงการและเตรียม ทำเอกสานขยายเวลาไปยัง สสส.

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

ได้น้อยกว่าเป้าหมายมาก (1)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

คณะกรรมการต้องประชุมกันทุกครั้งก่อนจัดกิจกรรมทุกกิจกรรมและแจ้งวันเวลาให้พี่เลี้ยงลงมาร่วมอย่างใกล้ชิด

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

อยากให้จอยช่วยโทรเร่งรัดการดำเนินกิจกรรมที่ล่าช้าด้วย

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

พูดคุยตกลงกันซ้ำเกี่ยวกับวัตถุประสงค์โครงการและงบประมาณของโครงการเพื่อป้องกันเรื่องความไม่เข้าใจกันของคณะกรรมด้านความโปร่งใสและหมวดของการใช้งบประมาณของสสส. ที่ห้ามซื้อวัสดุอุปกรณ์

ประชุมทีมทำงาน15 กรกฎาคม 2556
15
กรกฎาคม 2556รายงานจากพื้นที่ โดย nattikan
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อทบทวนแผนการดำเนินกิจกรรมที่ผ่านมา และร่วมกันวางแผนดำเนินงานในกิจกรรมต่อไป

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

  คณะกรรมการร่วมกันปรึกษาหารือเรื่องของการคัดเลือกครัวเรือนต้นแบบในการทำโครงการฯ จำนวน 30 ครัวเรือน เพื่อเป็นต้นแบบในการดำเนินโครงการฯ และมอบเกียรติบัตรเพื่อเป็นกำลังใจให้กับเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการฯ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คัดเลือกครัวเรือนต้นแบบ จำนวน 50 ครัวเรือน เพื่อคัดเลือกเป็นต้นแบบในการทำการเกษตรแบบปลอดสารเคมีฯ และการใช้ชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง มีน้ำใจต่อเพื่อนบ้าน และร่วมช่วยเหลือสังคมเป็นอย่างดี

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 15 คน จากที่ตั้งไว้ 15 คน
ประกอบด้วย
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

--

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
--
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

--

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

--

ตรวจเยี่ยมแปลงผัก กลุ่มที่ 510 กรกฎาคม 2556
10
กรกฎาคม 2556รายงานจากพื้นที่ โดย nattikan
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อสำรวจแปลงผักและปัญหาในการปลูกผัก พร้อมทั้งสำรวจครัวเรือนต้นแบบ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ตรวจเยี่ยมแปลงผักกลุ่มที่ 5และ6 เพื่อสอบถามปัญหาและสำรวจครัวเรือนต้นแบบในการทำโครงการ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

รวบรวมปัญหา เพื่อประสานหน่วยงานที่เกียวข้องในการให้คำแนะนำในการแก้ปัญหา และรวบรวมครัวเรือนต้นแบบเพื่อทำการคัดเลือกในขั้นตอนต่อไป

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 15 คน จากที่ตั้งไว้ 15 คน
ประกอบด้วย
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

--

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
--
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

--

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

--

ประชุมทีมทำงาน20 มิถุนายน 2556
20
มิถุนายน 2556รายงานจากพื้นที่ โดย nattikan
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อติดตามและประมาณผลการดำเนินโครงการ และเตรียมแผนการดำเนินงานในกิจกรรมต่อไป

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

คณะทำงานโครงการฯ ร่วมกันพิจารณาคัดเลือกครัวเรือนต้นแบบในการดำเนินโครงการฯ โดยคัดเลือกจากครัวเรือนที่ปลูกผักและสมุนไพรแบบไร้สารเคมีฯ และการใช้ชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง โดยการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันให้มากที่สุด 

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะกรรมการคัดเลือกครัวเรือนต้นแบบในการทำการเกษตรแบบปลอดสารเคมีฯ จำนวน 50 ครัวเรือน เพื่อมอบเกียรติบัตร และยกให้เป็นครัวเรือนต้นแบบประจำหมู่บ้านต่อไป และถ้าครัวเรือนใดสามารถทำการเกษตรแบบปลอดสารเคมีฯได้เพิ่ม ทางหมู่บ้านก็จะมอบเกียรติบัตรให้ครัวเรือนดังกล่าวเพิ่มเติมอีก จนครบทุกครัวเรือน แม้ว่าโครงการจะปิดไปแล้วก็ตาม ทางหมู่บ้านก็จะดำเนินกิจกรรมการปลูกผักฯ แบบปลอดสารเคมีต่อไปอีก

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 15 คน จากที่ตั้งไว้ 15 คน
ประกอบด้วย
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

--

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
--
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

--

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

--

ลงติดตามในครัวเรือนกลุ่มเป้าหมาย15 มิถุนายน 2556
15
มิถุนายน 2556รายงานจากพี่เลี้ยง โดย สิทธิพรรณ เรือนจันทร์
circle
วัตถุประสงค์

ติดตามดูการดำเนินกิจกรรมในครัวเรือนกลุ่มเป้าหมาย

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เดินดูครัวเรือนรอบศาลา ธนาคารหมู่บ้าน 13 ครัวเรือน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เพิ่งเริ่มปลูกผักในปล้องบ่อ

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

ได้น้อยกว่าเป้าหมายมาก (1)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

เร่งให้คณะกรรมการประชุมพูดคุยเพื่อดำเนินการต่อเนื่อง

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

คณะกรรมการต้องคุยกันมากกว่านี้

ตรวจเยี่ยมแปลงผัก กลุ่มที่ 310 มิถุนายน 2556
10
มิถุนายน 2556รายงานจากพื้นที่ โดย nattikan
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อสอบถามปัญหาและสำรวจครัวเรือนต้นแบบในโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

คณะกรรมการตรวจเยี่ยมแปลงผักกลุ่มที่ 3 และ 4 สอบถามถึงปัญหาและให้คำแนะนำในการทำการเกษตรแบบปลอดสารเคมี พร้อมทั้งสำรวจครัวเรือนต้นแบบในโครงการ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

รวบรวมครัวเรือนต้นแบบ และรวบรวมปัญหาที่ได้จากการลงตรวจแปลง เพื่อประสานและขอคำแนะนำในการแก้ไขปัญหาที่ถูกต้องจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 15 คน จากที่ตั้งไว้ 15 คน
ประกอบด้วย
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

--

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
--
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

--

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

--

ประชุมทีมทำงาน15 พฤษภาคม 2556
15
พฤษภาคม 2556รายงานจากพื้นที่ โดย nattikan
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อเตรียมความพร้อมในการทำกิจกรรมครัั้งต่อไป

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

คณะกรรมการร่วมกันปรึกษาหารือเรื่องของการจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ประจำหมู้่บ้าน เพราะตอนแรกตกลงกันว่าจะใช้ธนาคารหมู่บ้านจัดตั้งเป็นศูนย์ ฯ แต่เนื่องจาก รอบศูนย์ฯจะต้องมีพืชสมุนไพร และจะต้องได้รับการดูแลรักษา แต่ทางธนาคารไม่มีคนเข้ามาดูแลกรักษา จึงขอเลื่อนการจัดตั้งศูนย์ฯไปเป็นที่อื่น

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

นายศักดิ์อนันต์ อากาศโชติ ประธานกรรมการกลุ่มเกษตรกรทำนาช้างซ้าย เสนอให้จัดตั้งศูนย์เรียนรู้ประจำหมู่บ้าน ณ ที่ทำการกลุ่มเกษตกรฯ เพราะบริเวณดังกล่าว จะมีเกษตรกรเข้ามาใช้บริการในการทำธุรกรรมกับกลุ่มฯ จึงเหมาะที่จะจัดตั้งเป็นศูนย์การเรียนรู้ประจำหมู่บ้าน เพราะทางกลุ่มเกษตรกรฯ ก็เน้นเรื่องของการทำการเกษตรแบบอินทรีย์อยู่แล้วด้วย

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 15 คน จากที่ตั้งไว้ 15 คน
ประกอบด้วย
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

--

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
--
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

--

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

--

ร่วมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรุ้กับ สจรส.13 พฤษภาคม 2556
13
พฤษภาคม 2556รายงานจากพื้นที่ โดย nattikan
circle
วัตถุประสงค์

ร่วมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้รับผิดชอบโครงการของจังหวัดนครศรีธรรมราช

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ร่วมเวทีและรับฟังสิ่งที่ดี ๆ ของแต่ละโครงการในจังหวัดนครศรีธรรมราช

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ร่วมรับฟังสิ่งดี ๆ จากแต่ละโครงการในจังหวัดนครศรีธรรมราช

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

(0)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข
circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
circle
ข้อเสนอแนะต่อ
circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่
ติดตามเยี่ยมเพื่อค้นหาสิ่งดีๆในโครงการ12 พฤษภาคม 2556
12
พฤษภาคม 2556รายงานจากพี่เลี้ยง โดย สิทธิพรรณ เรือนจันทร์
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อค้นหาสิ่งดี

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

พบคณะกรรมการและชาวบ้าน 

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ชวนชาวบ้านและกรรการทบทวนกิจกรรมที่ดำเนินการไปแล้ว

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

ได้น้อยกว่าเป้าหมายมาก (1)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ประชุมคณะกรรมการก่อนจัดกิจกรรมทุกครั้งและสรุปผลของกิจกรรมร่วมกันทุกครั้งเมื่อเสร็จ

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

เหมือนปัญหา

ตรวจเยี่ยมแปลงผัก กลุ่มที่ 110 พฤษภาคม 2556
10
พฤษภาคม 2556รายงานจากพื้นที่ โดย nattikan
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อตรวจเยี่ยมแปลงผัก และสอบถามปัญหาของครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

คณะกรรมการได้ลงตรวจเยี่ยมแปลงผักกลุ่มที่ 1 และกลุ่มที่ 2 ตามข้อตกลงของคณะกรรมการที่ได้ตกลงกันว่าจะลงเยี่ยมครั้งละ 2 แปลง เพื่อย่นระยะเวลาในการทำกิจกรรม สอบถามปัญหาและพูดคุยให้คำแนะนำในการใช้น้ำหมักแทนการใช้ปุ๋ยเคมีให้กับครัวเรือนต้นแบบ พร้อมกับสอบถามปัญหา เพื่อจะหาวิธีการแก้ไขปัญหาให้กับครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

แนะนำให้ครัวเรือนเข้าร่วมโครงการรู้จักวิธีการใช้น้ำหมักแทนการใช้ปุ๋ยเคมีและสำรวจว่าครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการยังมีการใช้ปุ๋ยเคมีหรือสารเคมีในการไล่แมลงอยู่อีกหรือไม่ พร้อมกันสอบถามปัญหา และให้คำแนะนำต่าง ๆ ในการปลูกผัก

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 15 คน จากที่ตั้งไว้ 15 คน
ประกอบด้วย
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

--

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
--
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

--

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

--

ประชุมทีมทำงาน25 เมษายน 2556
25
เมษายน 2556รายงานจากพื้นที่ โดย nattikan
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อกำหนดแผนการดำเนินกิจกรรมในครั้งต่อไป

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

คณะกรรมการร่วมกันกำหนดหลักเกณฑ์ในการจัดหาครัวเรือนต้นแบบ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

กำหนดหลักเกณฑ์ในการคัดเลือกครัวเรือนต้นแบบ คือ  ทำการเกษตรแบบปลอดสารเคมีฯ ดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และเป็นคนมีน้ำใจเอื้อเฟื้อแบ่งบัน

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

--

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
--
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

--

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

--

ประชุมทีมทำงาน15 มีนาคม 2556
15
มีนาคม 2556รายงานจากพื้นที่ โดย nattikan
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อเตรียมการทำงานในกิจกรรมต่อไป

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

คณะกรรมการดำเนินโครงการร่วมกันปรึกษาหารือเกี่ยวกับการดำเนินโครงการ และทบทวนกิจกรรมที่ได้ดำเนินการไปแล้ว  และวางแผนการดำเนินงานในการทำกิจกรรมครั้งต่อไป โดยคณะกรรมการมีการตกลงกันใหม่ว่าคณะกรรมการจะร่วมกันลงตรวจแปลงผัก ครั้งละ 2 กลุ่ม เพื่อจะเป็นการเร่งการดำเนินการให้เสร็จเร็วและไม่ยืดยื้ิอ เพราะในแต่ละบ้านก็ได้เริ่มการทำกิจกรรมกันแล้วบางส่วน จำทำให้คณะกรรมการมีเวลาในการทำกิจกรรมอื่นได้สะดวกขึ้น

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะกรรมการทบทวนการทำกิจกรรมที่ผ่านมา และช่วยกันแก้ไขปัญหาให้กับผู้เข้าร่วมโครงการ คือการที่แปลงผักได้รับความเสียหายจากฝนตก ทำให้พืชผักได้รับความเสียหาย โดยนายพชรพล  สิงโหพลแจ้งว่า ทางหมู่บ้านได้ทำโครงการขอสนับสนุนปล้องซีเมนต์ จากโครงการ SML ของหมู่บ้าน โครงการดังกล่าวได้ผ่านการพิจารณาแล้ว จึงเป็นการดีที่ทางคณะกรรมการดำเนินโครงการจะจัดซื้อปล้องบ่อตามโครงการ SML มาให้ชาวบ้านปลูกผักแทนการทำแปลง เพื่อแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 15 คน จากที่ตั้งไว้ 15 คน
ประกอบด้วย
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

--

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
--
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

--

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

--

พี่เลี้ยงติดตามโครงการ12 มีนาคม 2556
12
มีนาคม 2556รายงานจากพี่เลี้ยง โดย กำไล
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานในโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

คณะกรรมการหมู่บ้าน ผู้ใหญ่ อสม. ชาวบ้าน แม่ค้าส้มตำ แม่ค้าขนมจีน รวม ๑๒ คน ให้สัมภาษณ์กิจกรรมการดำเนินงานและนำเสนอผลงาน เป็นข้อมูลการดำเนินงานโครงการ และพาไปดูพื้นที่บ้านต้นแบบ และจุดที่จะพัฒนาเป็นศูนย์เรียนรู้ตามตัวชี้วัดโครงการ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

พบว่ามีผลการดำเนินงานตามแผนที่วางไว้ จำนวนผู้เข้า่ร่วมโครงการได้ตามเป้าหมาย มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องเศรษฐกิจพอเพียงจากการปลูกผักปลอดสารพิษ มีเกษตรตำบลมาร่วมกิจกรรมและเป็นที่ปรึกษาในการดำเนินงาน
๑. คนในหมู่บ้านรับรู้การดำเนินงาน และเข้าร่วมกิจกรรมตามเป้าหมาย มีทุนด้านคนมาก เช่น เกษตรจังหวัดอยู่ในหมู่บ้าน มีปราชญ์ชุมชนหลายคนที่ไม่แสดงตัว เมื่อมีโครงการจึงเสนอตัวมาร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และนำไปเล่าต่อเพื่อนบ้านได้ ๒.เริ่มมีการขยายผลการปลูกผักปลอดสารพิษตามบ้านต้นแบบแล้ว ๓.มีกลไกการกระตุ้นโดยใช้เวทีการประชุมหมู่บ้านติดตามผล คณะกรรมการเดินสำรวจและชักชวนตามบ้าน มีกติกากลุ่มการปรับพื้นที่ให้เป็นจุดเรียนรู้ของหมู่บ้าน คือ ทุกคนต้องเอาต้นไม้จากบ้านตนเองไปปลูกไว้ที่จุดรวม และบอกคุณสมบัติต้นไม้นั้น ให้นักเรียนมาเรียนรู้เพิ่มเติมจากผู้สูงอายุ

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ให้กำหนดกติกาและคิดกลไกที่ช่วยกระตุ้นให้ทุกคนเข้ามามีส่วนร่วมในการทำจัดเรียนรู้

จัดทำไวนีล21 กุมภาพันธ์ 2556
21
กุมภาพันธ์ 2556รายงานจากพื้นที่ โดย Nongluk_R
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อจัดทำป้ายไวนีล

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

จัดทำไวนีล จำนวนเงิน 150 บาท

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จัดทำไวนีล จำนวนเงิน 150 บาท

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

คืนเงินค่าเปิดบัญชีจากโครงการฯ21 กุมภาพันธ์ 2556
21
กุมภาพันธ์ 2556รายงานจากพื้นที่ โดย Nongluk_R
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อคืนเงินค่าเปิดบัญชีโครงการฯ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

คืนเงินค่าเปิดบัญชีโครงการฯ จำนวนเงิน 500 บาท

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คืนเงินค่าเปิดบัญชีโครงการฯ จำนวนเงิน 500 บาท

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

จัดเสวนาให้ความรู้เรื่องการทำการเกษตรแบบปลอดสารเคมีฯ15 กุมภาพันธ์ 2556
15
กุมภาพันธ์ 2556รายงานจากพื้นที่ โดย nattikan
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อให้ชาวบ้านในชุมชน รู้จักการใช้ชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง และการทำการเกษตรแบบปลอดสารเคมีอย่างถูกต้อง

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เวลา 09.00 วิทยากร นายช่วง สิงโหพล ได้ให้ความรู้เรื่องการปลูกผักแบบปลอดสารเคมี โดยการทำปุ๋ย และสารไล่แมลงเอง ซึ่งนายช่วง สิงโหพล ได้ยกตัวอย่างของการทำสารไล่แมลงจากน้ำส้มควันไม้ ซึ่งเป็นผลพลอยจากการที่เราเผาถ่าน และสกัดน้ำมันจากการเผาถ่าน มาเป็นน้ำส้มควันไม้ ซึ่งคุณสมบัติของน้ำส้มควันไม้มีหลายอย่างมาก เช่น การใช้กำจัดปลวก โดยการนำไปราด โดยไม่ต้องผสมน้ำ ผลคือปลวกจะหาย และไม่กลับมาอยู่ในบริเวณนั้นอีกเลย และสามารถใช้ผสมน้ำแล้วนำไปเป็นสารไล่แมลงได้ด้วย สรรพคุณมีอีกหลายอย่าง
นายประจบ มุณี ได้สอบถามวิธีการทำ และ การหาไม้มาทำเป็นถ่านและสกัดน้ำส้มควันไม้ จำเป็นจะต้องจำกัดพันธ์ไม้ที่นำมาเผาหรือไม่ และไม้ชนิดไหนให้น้ำส้มควันไม้ได้เยอะที่สุด  และได้ผลดีที่สุด นายช่วง สิงโหพล ตอบคำถาม การทำน้ำส้มควันไม้ ไม่จำกัดเรื่องไม้ชนิดไหน แต่อยู่ทีวิธีการทำ ซึ่งจะต้องเร่ิมจากการเก็บน้ำส้มควันไม้ โดยเร่ิมจากการเผาไม้ จะต้องปล่อยให้ควันสีขาวที่ขึ้นจากเตาเผาถ่าน พุ่งออกจากท่อที่ทำไว้สำหรับเก็บน้ำส้มควันไม้ เมื่อควันสีขาวผ่านท่อ รอจนกว่าควันสีขาวจะกลายเป็นสีอ่อน ๆ จึงจะเริ่มการเก็บน้ำส้มควันไม้ได้
จากนั้น นายช่วง สิงโหพล ได้เล่าประสบการณ์ในการนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดำเนินชีวิตของครอบครัวตนเอง โดยการทำการเกษตรแบบพอเพียง และรู้จักเพียงพอ ก็สามารถอยู่ได้ กินทุกอย่างที่ปลูก และปลูกทุกอย่างที่กิน เท่านี้ชีวิตของคนเราก็๋สามารถอยู่ได้โดยไม่ต้องอาศัยการขึ้นลงของภาวะเศรษฐกิจของประเทศ ไม่ว่าเศรษฐกิจจะอยู่ในสภาวะใด เราก็สามารถดำเนินชีวิตของเราได้ เพราะเราไม่ต้องไปซื้อ เรามีทุกอย่าง เราเลี้ยงปลา เราเลี้ยงหมู เราทำนา เราปลูกผัก ถ้าทุกคนในชุมชนสามารถดำรงค์ชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงได้ หมู่บ้านของเราจะเป็นหมู่บ้านที่สามารถพึ่งตนเองได้

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ครัวเรือนที่เข้าร่วมการเสวนา มีความเชื่อมั่นในการที่จะนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในชีวิตประจำวัน เพราะได้ฟังจากวิทยากรที่สามารถนำหลักปรัชญาฯไปใช้ในครอบครัวของตนเองอย่างได้ผลดี และการดำเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง ก็ไม่ได้แตกต่างจากการดำเนินชีวิตของคนเราในชุมชนทุกวันนี้ เพราะคนในชุมชนส่วนใหญ่ มีอาชีพทำการเกษตรสามารถเลี้ยงตนเองและเลี้ยงครอบครัวได้ด้วยการทำการเกษตร แต่เราต้องยึดหลักพอเพียง และรู้หลักในการดำเนินชีวิต รู้จักจัดทำบัญชีรายรับ รายจ่าย ทำให้รู้สภาวะการเงินของครอบครัวตนเอง ว่าสามารถใช้จ่ายอะไรได้แค่ไหน ไม่จ่ายมากจนเป็นหนี้ เป็นสิน ทำให้ตนเองออกจากไปรับจ้าง เพื่อนำเงินมาใช้หนี้ แต่ถ้าเรารู้จักใช้จ่าย ไม่ฟุ่มเฟือย เราก็สามารถดำรงค์ชีวิตอยู่ได้อย่างพออยู่ พอกิน ช่วยเหลือซึ่งกันและกันในชุมชนของตนเอง สามารถพึ่งตนเองได้ เครือข่ายที่เข้าร่วมในกิจกรรมนี้ คือ นางเรณู สุวรรณกำเนิด ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าช้าง

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

กิจกรรมการแบ่งกลุ่มครัวเรือนเพื่อร่วมกันทำแปลงผัก ไม่สามารถดำเนินการได้ เนื่องจากชาวบ้านส่วนใหญ่อยู่ในช่วงฤดูกาลเก็บเกี่ยว และขณะนี้ก็มีฝนตก ทำให้ไม่สามารถทำแปลงผักได้
แนวทางแก้ไข ทางหมู่บ้านได้รับงบประมาณสนับสนุนโครงการ หมู่บ้าน SML เป็นโครงการปลูกผักในปล้องซีเมนต์ ซึ่งทางหมู่บ้านจะจัดซื้อปล้องซีเมนต์ให้กับชาวบ้านในหมู่บ้านทุกครัวเรือน ทางคณะกรรมการจึงมีการปรึกษากันว่า จะใช้วิธีการปลูกผักในปล้องซีเมนต์แทนการทำแปลงผัก  ซึ่งการปลูกผักในปล้องซีเมนต์ จะง่ายกว่าการทำแปลงผัก เพราะปล้องซีเมนต์จะไม่ได้รับผลกระทบเลยถ้ามีฝนตก แต่ถ้าเป็นแปลงผัก เมื่อฝนตกติดต่อกันหลายวัน แปลงผักก็จะเสียหาย

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
--
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

--

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

--

อบรมครูบัญชีอาสาประจำหมู่บ้าน10 กุมภาพันธ์ 2556
10
กุมภาพันธ์ 2556รายงานจากพื้นที่ โดย nattikan
circle
วัตถุประสงค์

เพื่ออบรมให้ความรู้เรื่องการจัดทำบัญชีครัวเรือนแก่แกนนำในหมู่บ้าน เพื่อแกนนำที่มีความรู้สามารถสอนชาวบ้านในชุมชนจัดทำบัญชีครัวเรือนได้อย่างถูกต้องและต่อเนื่อง

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

จัดอบรมให้ความรุ้เรื่องการจัดทำบัญชีครัวเรือน โดยการคัดเลือกแกนนำการเรียนรู้เรื่องการจัดทำบัญชีครัวเรือน จำนวน 20 คน ซึ่งก็ได้ทำการจัด อสม.ในหมู่บ้าน จำนวน 20 คนมาทำการอบรมเรื่องการจัดทำบัญชีครัวเรือน เนื่องจาก อสม.มีพ้ืนฐานในการจัดทำบัญชีครัวเรือนมาแล้วบางส่วน เพราะ อสม.จะมีการผ่านการอบรมเรื่องการจัดทำบัญชีมาแล้วบ้าง ประมาณ 8 คน ส่วนที่เหลือก็นำมาเรียนรู้เรื่องการจัดทำบัญชีวครัวเรือนใหม่ เพราะการจัดทำบัญชีครัวเรือน รูปแบบในการจัดทำแต่ละปีจะไม่เหมือนกัน และก็จะไม่ข้อแตกต่างมากนัก  การจัดการอบรมเรื่องการจัดทำบัญชีครัวเรือน ใช้เวลา 1 วัน เริ่มตั้งแต่เวลา 09.00 น. - 16.30 น. ซึ่งตามแผนที่ตั้งไว้ จัดอบรมแกนนำ จำนวน 10 คน ใช้เวลา 2 วัน มีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจาก ถ้ามีแกนนำในการเรียนรู้เรื่องการจัดทำบัญชีมากคน ก็จะทำให้การให้ความรู้เร่ื่องการจัดทำบัญชีครัวเรือนง่ายและเข้าถึงชาวบ้านทุกครัวเรือน เพราะ อสม.ที่เข้าร่วมการอบรม จะต้องนำความรู้ที่ตนเองได้มากไปขยายให้ครัวเรือนในเขตรับผิดชอบของคนเองทำบัญชีครัวเรือน วิทยากร ชื่อนางสุพรรณิกา เชาวน์ชะตา เป็นครูบัญชีอาสาดีเด่นระดับภาค มาให้ความรู้ในเรื่องการจัดทำบัญชี โดยทุกคนจะต้องลงบัญชีรายรับ - รายจ่ายของตนเอง ตามความเป็นจริง ตามที่รับและจ่ายในแต่ละวัน โดยรายรับจะแยกการรับจากการประกอบอาชีพหลัก และรายรับอื่น ๆ ที่ได้มานอกเหนือจากการประกอบอาชีพ เมื่อรู้รายรับ ก็จะแยกการลงรายการรายจ่ายบ้าง รายจ่ายก็จะมีช่องให้ลงตามรายการที่มีในแบบสมุดบัญชีครัวเรือน โดยแยกเป็นช่อง ๆ และแยกรายจ่ายจากการลงทุน และรายจ่ายปลีกย่อย รายจ่ายย่อย เช่น ค่าอาหาร ค่าน้ำมัน ค่าโทรศัพท์ ส่วนรายจ่ายที่เป็นต้นทุนการผลิต เช่น น้ำมันที่ใช้ในการสูบน้ำเพื่อประกอบอาชีพ การซื้อเมล็ดพันธ์ หรือการซื้อพันธ์สัตว์ เพื่อการประกอบอาชีพ   นางเปี่ยม  อนุศิลป์ ได้ซักถาม รายจ่ายที่จ่ายเพื่อการศึกษาของลูกหรือหลานจะลงบัญชีอย่างไร
  วิทยากร ตอบ ให้ลงในช่องให้เงินลูก เพราะช่องรายการนี้จะรวมรายจ่ายที่จ่ายเกี่ยวกับศึกษาหรือการเรียนหนังสือ เช่น ให้เงินลูกไปโรงเรียนในแต่ละวัน หรือการจ่ายเป็นรายเดือนหรือรายสัปดาห์  ถ้าจ่ายทุกวันก็ให้ลงบัญชีทุกวัน แต่ถ้าจ่ายเป็นรายเดือนหรือรายสัปดาห์ก็ให้ลงตามวันที่จ่าย

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

อสม.ที่เข้าร่วมการอบรม มีความรู้และความเข้าใจในการจัดทำบัญชีครัวเรือน สามารถลงรายการรับ จ่าย ได้อย่างถูกต้อง และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปขยายให้กับครัวเรือนในเขตรับผิดชอบของตนเองได้อย่างถูกต้อง   การอบรมใช้เวลา 1 วัน ค่าเดินทางของวิทยากรจึงจ่ายเพียง 500 บาท  ทำให้มีเงินค่าเดินทางของวิทยากรเหลืออยู่อีก 500 บาท

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

โทรฯ ปรึกษาพี่เลี้ยง แนะนำให้เก็บเงินที่เหลือไว้ใช้ในกิจกรรมที่สนับสนุนให้การทำโครงการสมบูรณ์ยิ่งขึ้นในการทำงานครั้งต่อไป

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
--
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

--

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

--

ประชุมทีมทำงาน5 กุมภาพันธ์ 2556
5
กุมภาพันธ์ 2556รายงานจากพื้นที่ โดย nattikan
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อเตรียมความพร้อมในการทำงานครั้งต่อไป

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประชุมคณะทำงาน แบ่งแยกหน้าที่ในการทำงาน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะกรรมการมีการพูดคุย ปรึกษา และแบ่งหน้าที่กันทำ นายสมพงศ์  กลอนสม นายสุนทร ศรีรักษา มีหน้าที่สำรวจครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการและไม่สามารถร่วมกิจกรรมบางกิจกรรมได้ เนื่องจากต้องเกี่ยวเก็บผลผลิตข้าวที่ถึงฤดูการเก็บเกี่ยว นายพชรพล สิงโหพล และนายเคลื่อม กาญจนอำมร มีหน้าที่ประสานวิทยากรในการกิจกรรมครัั้งต่อไป นางอาภรณ์ จันทร์พร้อย และนางอารมย์ มณีสุวรรณ มีหน้าที่ประสานงานเรื่องอาหารกลางวัน และอาหารว่างในการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป นายจารึก อากาศโชติ และนายนิพนธ์ สิงโหพล มีหน้าที่จัดสถานที่ประชุม น.ส.ณัฐฐิกานต์ อ่อนแก้ว และนางพิยดา กุลประภา มีหน้าที่จัดเตรียมเอกสารในการทำกิจกรรมครั้งต่อไป
นายศักดิ์อนันต์ อากาศโชติ นายสุชีพ นครจิตต์ ดต.สมพงศ์ สมประดิษฐ์ นายจรูญ ดำเนินผล นายปรีชา ลังแท้กุล นายเชวง ลังแท้ และนางเรณู สุวรรณกำเนิด ทำหน้าที่ ที่ปรึกษาของโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

--

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
--
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

--

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

--

จัดเวทีให้ความรู้เรื่องปุ๋ยหมัก (ปุ๋ยน้ำ)16 มกราคม 2556
16
มกราคม 2556รายงานจากพื้นที่ โดย nattikan
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อให้เกษตรกรในชุมชนที่ทำการเกษตรมีความรู้ความเข้าในเรื่องการใช้ปุ๋ยหมักชีวภาพ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เวลา 09.00 น. วิทยากร นางละออ วงศ์สวัสดิ์ เจ้าพนักงานชำนาญงาน สถานีพัฒนาที่ดิน นครศรีธรรมราช ได้อธิบายถึงวิธีการทำปุ๋ยหมัก โดยการให้สาร พด.เป็นตัวช่วยในการทำปุ๋ยหมักแต่ละสูตร ซึ่งแต่ละสูตรก็จะใช้สาร พด. ไม่เหมือนกัน เช่นการทำน้ำหมักเพื่อเป็นปุ๋ยให้กับพืช เราก็จะใช้เศษผลไม้ กากน้ำตาล และใช้ พด.3 โดยการ พด.3 มาละลายกับน้ำและกากน้ำตาล ใช้ไม้คนให้ สาร พด.3 ละลาย จากนั้นจึงใส่เศษผลไม้ลงไปหมัก ใช้เวลาหมัก 15 วัน ก็สามารถนำน้ำหมักที่ได้ไปผสมน้ำแล้วนำไปรดพืชผักที่ปลูกได้  ถ้าจะทำน้ำหมักเพื่อกำจัดหนอน หรือแมลงที่กินพืชผัก ก็ให้ใช้สูตรซากสัตว์ ผสมกับกากน้ำตาล และสาร พด.7 จะสามารถกำจัดหนอนได้ ส่วนสารไล่แมลงก็ใช้วิธีการนำใบไม้ที่มีรสขม และมีกลิ่นเหม็น เช่น สะเดา นำมาตำแล้วคั้นเอาน้ำไปรดผัก ก็จะสามารถไล่แมลงได้เช่นเดียวกัน
นายประสงค์                ซึ่งเป็นผู้จำหน่วยหัวเชื้อ EM ในการทำน้ำหมัก ได้มาให้ความรู้ในเรื่องการใช้หัวเชื้อ EM ในการทำน้ำหมักสูตรต่าง ๆ เช่นการใช้หัวเชื้อ EM ผสมน้ำแล้วนำไปราดห้องน้ำ คุณสมบัติของหัวเชื้อ EM จะไปย่อยสลายสิ่งปฏิกูลต่าง ๆ ทำให้ห้องน้ำไม่เต็ม และไม่มีกลิ่นรบกวนเลย การใช้หัวเช้ือ EM ในการทำความสะอาดบ้าน ทำความสะอาดเสื้อผ้า หรือทำความสะอาดภาชนะต่าง ๆ ก็ได้
เวลา 13.00 น. ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ 100 ครัวเรือน ได้แบ่งหน้าที่กันทำ โดยบางส่วนก็ทำหน้าที่สับผักและผลไม้ อีกส่วนก็ช่วยทำละลายกากน้ำตาล และอีกส่วนก็ช่วยกันนำผักและผลไม้ที่สับเป็นชิ้นเล็ก ๆ ใส่ในถังหมัก ซึ่งจากการร่วมกันคนละไม้ละมือ ทำให้งานที่ทำเสร็จเร็วขึ้น ใช้เวลาไม่นานก็ได้น้ำหมักชีวภาพ จำนวน 3 ถัง และมีข้อตกลงกันว่าจะหมุนเวียนกันมาคนน้ำหมักทุกวัน เพราะการทำน้ำหมัก จะต้องมีการคนถังน้ำหมักวันละ 1 ครั้ง ทุกวัน ในการนี้มีอาสาสมัครมาทำหน้าที่ดังกล่าว จำนวน 5 คน คือ นายสอน อากาศโชติ, นายสมพร วิมลทรง, นางเปี่ยม อนุศิลป์, นางอาภรณ์ จันทร์พร้อย และนายประจวบ ชูราตรี ส่วนที่เหลือ ถ้าใครว่างก็จะมาช่วยกัน ในการนี้ได้มี นายวาสนา วิมลทรง ซึ่งเป็นเลขานุการขององค์การบริหารส่วนตำบลเข้ามาร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ด้วย

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ครัวเรือนที่เข้าร่วม จำนวน 100 ครัวเรือน มีความสนใจในการทำน้ำหมักชีวภาพ เพราะการใช้น้ำหมักฯ แทนการใช้ปุ๋ยเคมี ผลผลิตที่ออกมามีคุณภาพเหมือนกับการใช้สารเคมี แต่จะดีกว่ามาก เพราะในน้ำหมักฯ จะไม่มีสารตกค้าง ทำให้พืชผักที่ปลูกปลอดภัยจากสารเคมีตกค้าง สามารถนำมาบริโภคได้อย่างปลอดภัย และเมื่อผลผลิตเราได้ผลผลิตดี เราก็สามารถนำพืชผักที่ได้ไปจำหน่าย สามารถเพิ่มรายได้ให้กับครัวครอบอีกทางหนึ่ง การทำการเกษตรแบบปลอดสารเคมี ไม่ใช่เป็นเพียงการลดรายจ่าย แต่ถ้าเราทำอย่างจริงจัง ก็จะเป็นการเพ่ิมรายได้ให้กับชุมชนได้อย่างดีอีกทางหนึ่งด้วยเกษตรกรสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการทำการเกษตรของตนเองได้ เพื่อเป็นการลดค่าใช้จ่ายในการทำการเกษตรและสามารถลดสารเคมีตกค้างในพืชผัก ทำให้การบริโภคพืชผักมีความปลอดภัยมากขึ้น

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

--

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
--
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

--

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

--

จัดเสวนาให้ความรู้เรื่องดิน11 มกราคม 2556
11
มกราคม 2556รายงานจากพื้นที่ โดย nattikan
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อให้ความรู้เรื่องดิน ความเป็นกรดและเป็นด่างในดิน และวิธีการปรับสภาพดิน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.กลุ่มครัวเรือนที่ไม่ได้เข้าเสาวนาในครั้งแรก
    -คณะกรรมการของโครงการได้ชี้แจงวัรถุประสงค์ของโครงการ ให้ครัวเรือนที่ไม่ได้เข้าร่วมฟังการชี้แจงโครงการในครั้งแรก
2.วิทยากรจากสำนักงานพัฒนาที่ดิน ชื่อ นางละออ  วงศ์สวัสดิ์ เจ้าพนักงานการเกษตรชำนาญงาน สถานีพัฒนาที่ดินนครศรีธรรมราช ได้อธิบายการเก็บตัวอย่างดิน เพื่อทำการตรวจสอบคุณภาพดิน คือการนำดินในแปลงนา หรือแปลงที่เกษตรกรทำการเกษตร ให้ขุดดินในแปลง ไปผึ่งลม ห้ามตากแดด เพราะจะทำให้จุลินทรีย์ในดินตาย ให้ผึ่งลมไว้จนแห้ง ในขณะที่ผึ่งลม ก็ควรระวังไม่ให้ สัตว์มาถ่ายใส่กองดิน เพราะจะทำให้คุณภาพของดินที่จะนำไปตรวจผิดไป เมื่อดินที่เตรียมไว้แห้งดีแล้ว ก็ให้นำดินนั้นมาบดให้ละเอียด จนเป็นผง จึงจะสามารถนำดินไปตรวจได้ นายจรูญ ดำเนินผล ได้ซักถาม ดินที่นำไปตรวจ เราต้องขุดเอาดินที่สมบูรณ์ที่สุดในแปลง หรือดินทั่ว ๆ ไปในแปลงไปตรวจ
วิทยากร ตอบว่า ให้ขุดดินรอบ ๆ แปลงมาตรวจ เพราะถ้าเราขุดเฉพาะดินที่่สมบูรณ์ไปตรวจก็จะทำให้ค่าของดินรอบ ๆ ที่ไม่สมบูรณ์ก็จะผิดไปจากความเป็นจริง ทำให้ไม่สามารถปรับดินในแปลงให้ดีได้ เพราะไม่สามารถตรวจหาความเป็นกรด เป็นด่างของดินได้ และหมอดินอาสาประจำหมู่บ้าน นายศักดิ์อนันต์  อากาศโชติ  ซึ่งเป็นหมอดินอาสาประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 10 บ้านสาคูเหนือ ก็ได้เข้าร่วมให้ความรู้แก่เกษตรกรในเรื่องการเพิ่มคุณภาพดิน โดยการใช้ปุ๋ยพืชสด และการปรับสภาพดินโดยใช้กรดโดโลไมค์ ซึ่งการใช้สารทั้ง 2 ตัวนี้ปรับสภาพดิน จะทำให้ดินมีความอุดมสมบูรณ์เพิ่มมากขึ้น โดยหลังจากฤดูการเก็บเก็บแล้ว ให้เกษตรกรทำการไถกลบตอซัง และให้หว้่านเมล็ดพันธู์ปุ๋ยพืชสดลงไปในแปลงนาได้เลย ไม่ให้มีการเผาตอซัง เพราะจะทำให้หน้าดินถูกทำลาย และเป็นการทำลายจุลินทรีย์ในดินด้วย
  นายเฉลิม เทียมสานุจิตต์ ได้ซักถามว่า การใช้กรดโดโลไมค์ จะใช้ปรับสภาพดินที่เป็นกรดหรือเป็นด่าง
  หมอดินฯ ตอบ สารโดโลไมค์ ใช้ปรับสภาพดินที่เป็นด่าง เม่ื่อใช้แล้ว จะทำให้ดินร่วนซุย และมีธาตุอาหารเพิ่มขึ้น หลังจากนั้น ทางสำนักงานพัฒนาที่ดินก็ได้ให้ความรู้เรื่องคุณภาพดิน และการปรับสภาพดินให้เกษตรกร และในการนี้ สำนักงานพัฒนาที่ดินก็ได้สำรวจแปลงนาที่จะเข้าร่วมโครงการไถกลบตอซังและใช้ปุ๋ยพืชสดในการปรับสภาพดิน เข้าร่วมโครงการของสำนักงานพัฒนาที่ดินด้วย

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีครัวเรือนเข้าร่วมฟังการให้ความรู้เรื่องดิน จำนวน 113 ครัวเรือน ในจำนวนนี้ ก็มีเกษตรกรประมาณ 30 ครัวเรือนที่ทำการปรับสภาพดินโดยการใช้ปุ๋ยพืชสด และการใช้สารโดโลไมค์ในการปรับสภาพดินอยู่แล้ว เพราะทางหมอดินอาสาประจำหมู่บ้าน ได้นำปุ๋ยพืชสดและกรดโดโลไมค์จากสถานีพัฒนาที่ดินมาแจกให้แก่ครัวเรือนที่ร่วมโครงการฯ ส่วนเรือนที่เหลือส่วนใหญ่ที่ไม่ได้เข้าร่วมโครงการฯปรับสภาพดินกับปุ๋ยพืชสดฯ เพราะมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องนี้น้อยมาก คิดว่าก็เผาตอซังและการเพิ่มปุ๋ยตอนทำนาหรือทำการเกษตรอื่น ๆ เป็นการเพิ่มปุ๋ยให้ดินอยู่แล้ว
  เมื่อได้รับความรู้ในเรื่องการปรับสภาพดิน ทำให้เกษตรกรมีความมั่นใจและได้เห็นผลจากแปลงนาที่เข้าร่วมโครงการปรับสภาพดิน ของสถานีพัฒนาที่ดิน ซึ่ีงเห็นผลได้ชัดว่า การทำนาหรือการปลูกผักชนิดอื่น ๆ ได้ผลดี โดยไม่ต้องใส่ปุ๋ยในแปลงนาดังกล่าวเลย
วิธีการปรับสภาพดินและไม่ไถกลบตอซัง ทำให้เกษตรกรประหยัดค่าใช้จ่ายในการทำเกษตร
เกษตรกร อีก 50 ครัวเรือนเข้าร่วมโครงการปรับสภาพดินโดยการใช้ปุ๋ยพืชสดและการไถกลบตอซังกับสถานีพัฒนาที่ดิน สำหรับครัวเรือนที่เข้ารับฟังการชี้แจงโครงการเป็นครัั้งแรก ก็มีความเข้าใจในการทำโครงการมากยิ่งขึ้น เพราะส่วนมากก็จะเป็นครัวเรือนที่ทำการเกษตรแบบปลอดสารเคมี เพราะปลูกไว้กินเอง มีผลผลิตมีมากก็แบ่งขาย

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

เงินส่วนค่าคู่มือ ไม่ได้จ่าย เน่ืองจากกรมพัฒนาที่ดิน สนับสนุน

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
--
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

--

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

--

ประชุมทีมทำงาน เพื่อติดตามงานและเตรียมงาน15 ธันวาคม 2555
15
ธันวาคม 2555รายงานจากพื้นที่ โดย nattikan
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อเตรียมการทำงานในกิจกรรมต่อไป

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประชุมคณะกรรมการโครงการ เพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหา เนื่องจากขณะนี้ ถึงฤดูฝน ทำให้การทำโครงการล่าช้า เพราะไม่สามารถดำเนินการได้ตามกำหนดเวลา คณะกรรมการจึงมีความเห็นว่า สมควรจะทำกิจกรรมในร่ม เช่นการประชุม หรือการอบรมให้ความรู้ไปก่อน เมื่อสิ้นฝนเราก็สามารถทำกิจกรรมกลางแจ้งได้ คณะกรรมการทั้งหมดก็มีความคิดเห็นตรงกันว่าให้เลื่อนการทำกิจกรรมกลางแจ้ง เช่นการทำแปลงผักไปก่อน เพราะหลีกเลี่ยงความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้น

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะกรรมการมีข้อสรุปในการทำโครงการในช่วงฤดูฝน ให้ทำการอบรมให้ความรู้ และการประชุมไปก่อน ไม่สามารถทำกิจกรรมกลางแจ้งได้ เนื่องจากปัญหาฝนตก

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

เกิดปัญหาฝนตก ทำให้ไม่สามารถดำเนินกิจกรรมตามแผนงานที่วางไว้ได้ เพราะพื่้นที่ในหมู่บ้านส่วนใหญ่ เป็นพื้นที่ลุ่ม มีน้ำท่วมขัง การดำเนินโครงการจึงอาจล่าช้ากว่ากำหนดการที่ตัั้งไว้

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
--
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

--

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

--

จัดเวทีชี้แจงโครงการ23 พฤศจิกายน 2555
23
พฤศจิกายน 2555รายงานจากพื้นที่ โดย nattikan
circle
วัตถุประสงค์

1.ประชุมชี้แจงรายละเอียดของโครงการ "ปลูกผักและสมุนไพร ปลอดสารเคมี ไม่มีสารพิษ ใช้ชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง" ให้เกษตรกรเข้าใจในรายละเอียดและวัตถุประสงค์ของการทำโครงการ จำนวนผู้ที่เข้าร่วมประชุม 105 ครัวเรือน
2.ชี้แจงข้อตกลงในการทำโครงการ 3.รับสมัครเกษตรกร

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.ประชุมชี้แจงรายละเอียดของโครงการ "ปลูกผักและสมุนไพร ปลอดสารเคมี ไม่มีสารพิษ ใช้ชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง" ให้เกษตรกรเข้าใจในรายละเอียดและวัตถุประสงค์ของการทำโครงการ จำนวนผู้ที่เข้าร่วมประชุม 105 ครัวเรือน
2.ชี้แจงข้อตกลงในการทำโครงการ 3.รับสมัครเกษตรกรที่สนใจเข้าร่วมโครงการ 4.ภาคีเครือข่ายที่เข้าร่วม   กลุ่มเกษตรกรทำนาช้างซ้าย
  ธนาคารหมู่บ้าน บ้านสาคูเหนือ
  ชมรมแอร์โรบิค

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เกษตรกรสมัครเข้าร่วมโครงการ 78 ครัวเรือน เนื่องจากเกษตรกรบางส่วนยังอยู่ในฤดูการทำนาปี และยังไม่เข้าใจในรายละเอียดและข้อตกลงของโครงการอย่างแท้จริง  สำหรับเกษตรกรที่ยังไม่เข้าร่วมฟังการชี้แจงโครงการในครั้งแรก คณะกรรมการตกลงกันว่าจะนัดครัวเรือนที่ยังไม่เข้าร่วมฯ มาฟังการชี้แจงการดำเนินโครงการฯ เพื่อให้มีความเข้าใจและร่วมกันดำเนินโครงการ ในการทำกิจกรรมครั้งต่อไป และเนื่องจากการจัดเวทีในครั้งแรกจัดกันในเวลา 18.00 - 20.30 น. ทำให้งบประมาณค่าอาหารกลางวันคงเหลือ 9,600.-บาท

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข
circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
--
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ขยายเวลาในการทำโครงการตามปฏิทิน เนื่องจากอยู่ในช่วงฤดูฝนและเกษตรกรส่วนใหญ่อยู่ในฤดูการทำนา

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

โทรฯ ประสานให้ทราบถึงปัญหาที่เกิดขึ้น และพี่เลี้ยงได้เสนอแนะให้เก็บงบประมาณที่เหลือ ไปใช้ในกิจกรรมที่สนับสนุนการใช้ชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงในครั้งต่อไป

ประชุมทีมคณะทำงาน15 พฤศจิกายน 2555
15
พฤศจิกายน 2555รายงานจากพี่เลี้ยง โดย สิทธิพรรณ เรือนจันทร์
circle
วัตถุประสงค์

แนะนำตัวคณะกรรมการ ทบทวนแผนการทำงาน  การทำรายงานการเงินที่โปร่งใสชัดเจน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

แนะนำตัวคณะกรรมการ ชวนพูดคุยตั้งเป้าหมายการทำงานร่วมกัน ทบทวนแผนเดิมที่วางไว้เพราะอาจปรับเปลี่ยนได้ตามสภาพฤดูกาล และทบทวนการบันทึกข้อมูลทุกครั้งเมื่อมีการจัดกิจกรรม การทำรายงานการเงินที่โปร่งใสชัดเจน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ทำความเข้าใจ ตั้งเป้าหมาย และผลลัพธ์การทำโครงการ แผนการดำเนิโครงการ และพี้เลี้ยงEmpowerment ให้คณะกรรมการประชาสัมพันธ์โครงการ และชักชวนภาคีเครือข่ายเข้ามาร่วมให้มากขึ้น และมีโครงการอีก 3 โครงการช่วยให้โครงการนี้แข็งขึ้นได้แก่ โครงการหมู่บ้านสุขภาพดีวิถีไทย กระตุ้นให้ชาวบ้านปลูกผักปลอดสารพิษ โครงการ SML หมู่บ้านให้งบประมาณ ซ์้อปล้องบ่อมาปลูกผัก และ และโครงการเกษตรสนับสนุนงานวิชาการเรื่องเกษตร

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

การปัญหากาารเปิดเวทีชี้แจงชาวบ้านไป 3 ธ.ค. 55 เวลา18.00-20.30น. ได้ครัวเรือนเข้าร่วม 30 ครัวและยังไม่ได้จัดกิจกรรมตรวจสารเคมีในเลือดและมีงบประมาณเหลือ9600บาท แก้ไขโดย...จัดกิจจจกรรมนี้ซ้ำภายในเดือนธันวาคม เพื่อรับสมัครกลุ่มเป้าหมายเพิ่มขึ้นด้วยเป็นการประชาสัมพันธ์โครงการโดยอาจจัดในวันประชุมประจำเดือนของหมู่บ้านในปลายเดือนธันวาคม 56

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

วางแผนการทำกิจกรรมครั้งต่อไปให้รัดกุมทั้งการประชาสัมพันธ์คนเข้าร่วม การจัดกิจกรรมและการบริหารงบเพื่อลดข้อผิดพลาดการทำงาน

ประชุมทีมคณะทำงาน15 พฤศจิกายน 2555
15
พฤศจิกายน 2555รายงานจากพื้นที่ โดย สิทธิพรรณ เรือนจันทร์
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อประชุมชี้แจงทบทวนแผนการทำงาน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประชุมชี้แจงทบทวนแผนการทำงาน ซึ่งถ้าปรับเปลี่ยนต้องไม่เปลี่ยนแนวจากแผนเดิม สามารถเลื่อนวันได้ พี่เลี้ยงชี้แจงการบันทึกรายละเอียดกิจกรรมแต่ละครั้งเพื่อรวบรวมสรุปเมื่อเสร็จโครงการและรายงานกิจกรรมผ่านโปรแกรมคนใต้สร้างสุข การทำเอกสารการเงินที่โปร่งใสและเป็นจริง การดึงภาคีเข้ามาร่วมให้มากขึ้นโดยให้คณะกรรมการไปใช้กลยุทธ์ต่างๆไปชักชวนเข้ามา และต้องวางแผนให้รัดกุมเพื่อเพิ่มการมีส่วนร่วม

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะทำงานเข้าประชุม 12 คน ปรับแนวคิดการทำงาน วางเป้าหมาย ผลลัพธ์ในโครงการให้ตรงกัน ช่วยกันวางแผนการใช้จ่ายงบโดยชาวบ้านต้องสนับสนุนพันธุ์ผักเอง คณะกรรมการและแกนนำช่วยขยายพันธุ์ให้ และนำไปให้ชาวบ้านทำเพิ่มเติมเพื่อให้เกิดการปลูกผักปลอดสารพิาทั่วหมู่บ้าน

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

จากการประชุมเมื่อวันที่ 23 พ.ย. 55 เวลา 18.00 -20.30 น. เพื่อชี้แจงชาวบ้าน แต่ยังไม่ได้ดำเนินกิจกรรมตรวจสารเคมีในเลือด  มีงบประมาณเหลือ 9600 บาท

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-นางสิทธิพรรณ เรือนจันทร์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

จัดประชุมชี้แจงชาวบ้านซ้ำเพื่อดำเนินกิจกรรมให้ครบและเพื่อรับสมัครกลุ่มเป้าหมายรายครัวเรือนเพิ่มขึนภายในเดือนนี้ให้เสร็จสิ้น

ปฐมนิเทศ5 พฤศจิกายน 2555
5
พฤศจิกายน 2555รายงานจากพื้นที่ โดย nattikan
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินโครงการของผู้รับทุน โครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ โซนภาคใต้ตอนบน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

  ร่วมปฐมนิเทศ แลกเปลี่ยนวิธีการดำเนินโครงการ วิธีการแก้ไขปัญหาในการดำเนินโครงการ 

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีปฏิทินโครงการ เพื่อความเป็นระเบียบในการดำเนินโครงการ ผู้เข้าร่วมโครงการ รู้จักวิธีการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ มีการแลกเปลี่ยนวิธีการในการดำเนินโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

--

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
อ.กำไล สมรักษ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

--

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

--