โครงการ"จากโรงเรียนสู่บ้าน สืบสานความพอเพียง" หมู่ 2 ตำบลวัดจันทร์ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 3

รหัสโครงการ 55-00991
สัญญาเลขที่ 55-00-0718

ชื่อโครงการ โครงการ"จากโรงเรียนสู่บ้าน สืบสานความพอเพียง" หมู่ 2 ตำบลวัดจันทร์ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
รหัสโครงการ 55-00991 สัญญาเลขที่ 55-00-0718
ระยะเวลาตามสัญญา 20 กรกฎาคม 2012 - 19 กรกฎาคม 2013

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นายสมชาย ละอองพันธุ์
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 1 พฤศจิกายน 2013
วันที่ส่งรายงานถึง สสส.
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นายเจริญ ปิ่นทอง 14/2 หมู่ที่ 1 ตำบล วัดจันทร์ อำเภอ สทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสไปรษณีย์ 90190 089-8792583
2 นางวลี ไพบูลย์ 63 หมู่ที่ 2 ต.วัดจันทร์ อ.สทิงพระ จ.สงขลา รหัสไปรษณีย์ 90190 081-9597385
3 นางอารีย์ เรืองสุข 8/1หมู่ที่ 2 ต.วัดจันทร์ อ.สทิงพระ จ.สงขลา รหัสไปรษณีย์ 90190 074-485118
4 นางกฤษณา แสงสุวรรณ 12/1 หมู่ 2 ต.วัดจันทร์ อ.สทิงพระ จ.สงขลา รหัสไปรษณีย์ 90190 074-485335

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

เพื่อเสริมสร้างทักษะการดำรงชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของนักเรียนในศูนย์เรียนรู้

  1. ร้อยละ 80 ของนักเรียนในศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงได้รับการเสริมสร้างทักษะการดำรงชีวิต เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
  2. ประชาชนในพื้นที่หมู่ 2 บ้านบ่อประดู่ ได้รับการเสริมสร้างทักษะการดำรงชีวิตเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง จำนวน 50 ครัวเรือน
  3. เกิดแกนนำเยาวชนสุขภาวะ

2.

เพื่อขยายแนวคิดการดำเนินชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงสู่ชุมชนรอบศูนย์เรียนรู้

  1. ประชาชนในพื้นที่หมู่ 2 บ้านบ่อประดู่ ดำเนินชีวิตตามแนววิถีเศรษฐกิจพอเพียงจำนวน 50 ครัวเรือน
  2. เกิดสถานที่จำหน่ายผลิตภัณฑ์ด้านเศรษฐกิจพอเพียงในตลาดนัดชุมชน จำนวน 1 แห่ง
  3. เกิดชุดความรู้เรื่อง แหล่งเรียนรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียง จำนวน 1 ชุด
  4. เกิดข้อมูลแผนที่สุขภาวะของหมู่บ้าน
  5. เกิดคณะทำงานด้านการขับเคลื่อนสู่ชุมชนสุขภาวะที่มีองค์ประกอบจาก 3 ภาคส่วน คือ ภาคประชาชน หน่วยงานรัฐ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
  6. เกิดแผนงานเพื่อการขับเคลื่อนงานของพื้นที่
  7. แผนงานด้านเศรษฐกิจพอเพียง สู่ชุมชนสุขภาวะถูกบรรจุเป็นแผนงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

3.

เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของโครงการ

  1. คณะทำงานโครงการเข้าร่วมการประชุมกับสสส. หรือ สจรส.ม.อ. อย่างน้อยร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งทีจัด
  2. มีป้ายไวนีลสถานที่นี้ปลอดบุหรีจัดตั้งไว้ในชุมชน
  3. มีรายงานความก้าวหน้า และรายงานฉบับสมบูรณ์จัดส่ง สสส.
  4. มีภาพถ่ายทุกกิจกรรมตลอดทั้งโครงการ
2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :
  1. คณะทำงานได้นำเอาผลิตภัณฑ์ถ่านอัดแท่งอันเป็นผลผลิตจากโครงการจากโรงเรียนสู่บ้านสืบสานสู่ความพอเพียง หมู่2มาทำมอบแก่ชาวบ้านที่มาร่วมทำบุญ จำนวน200ถุง
  2. ชาวบ้านได้รู้จักผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นใหม่ในโครงการคือผลิตภัณฑ์ถ่านอัดแท่ง ซึ่งได้มาจากเศษถ่านไม้สนแล้วนำมาดัดแปลงเป็นถ่านอัดแท่ง
ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :
  1. คณะทำงานได้นำเอาผลิตภัณฑ์ถ่านอัดแท่งอันเป็นผลผลิตจากโครงการจากโรงเรียนสู่บ้านสืบสานสู่ความพอเพียง หมู่2มาทำการบริจาคแก่ชาวบ้านที่มาร่วมทำบุญ จำนวน200ถุง ปรากฏว่าผลตอบรับเกินคาด
  2. คณะทำงานที่ร่วมทำบุญจำนวน15คน ดังนี้1.  นายเจริญ  ปิ่นทอง 2.  นางวลี ไพบูลย์ 3.  นางอารีย์ เรืองสุข 4.  นางกฤษณา แสงสุวรรณ 5.  นายวิชัย พวงดอกไม้ 6.  นางสาวพิชญา ปิ่นทอง 7.  นางสาวศิริพร  พรหมบุตร 8.  นาตยา  เรืองศรี 9.  สุธิดา  พวงดอกไม้ 10.  พงศ์ศักดิ์  เมฆฉาย 11.  สุรัตนวดี  ชัยสินธุ์ 12.  รุจีรัตน์  วัชฤทธิ์ 13.นายผ่อน เรืองสุข 14.นายทศพล หมื่นแกล้วกล้าวิชิต 15.นายกวิน มูลมณี
สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :
  1. ชาวบ้านที่มาร่วมกิจกรรมทำบุญลอยแพมีความสนใจผลิตภัณฑ์ถ่านอัดเแท่ง ซึ่งทางกลุ่มของนักเรียนที่นำมาเป็นของที่ระลึก
  2. ชาวบ้านมีความไว้วางใจกับการทำงานอย่างจริงจัง และเกิดผลผลิตที่เป็นประโยชน์ต่อชุมชน
  3. เป็นการประชาสัมพันธ์โครงการของคณะทำงานให้เป็นที่รู้จักของชุมชนมากยิ่งขึ้น

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :
  1. นักเรียนและชาวบ้านสามารถทราบประโยชน์ของการแยกขยะตามประเภท
  2. นักเรียนและชาวบ้านเห็นคุณค่าของขยะที่แยกโดยสามารถจำหน่ายหรือฝากไว้กับธนาคารขยะที่ตั้งขึ้น ส่งผลให้มีเงินออมและเป็นการฝึกนิสัยการฝึกแยกขยะ
  3. นักเรียนและชาวบ้านสามารถเพาะเห็ดนางฟ้าแบบในถุงได้
ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :
  1. นักเรียนและชาวบ้านสามารถเรียนรู้การคัดแยกขยะได้อย่่างถูกต้อง
  2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสมัครเป็นสมาชิกจำนวน 30 คน
  3. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถเพาะเห็ดนางฟ้าได้
สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :
  1. เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมของชุมชนด้วยการจัดตั้ง ธนาคารขยะรีไซเคิล
  2. มีการเห็นคุณค่าของปราชญ์ชาวบ้าน ด้านการเพาะเห็ดของชุมชนสามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการเพาะเห็ดได้
2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

มีคณะทำงานที่ชัดเจน คือ ประกอบด้วย คณะทำงานเดิม แต่จากการทำงานในระยะที่สามมีความยุ่งยากและประสานงานยากมากขึ้น เนื่องจากมีการเลือกตั้ง นายก อบต.ใหม่ มีการแข่งขันของบุคคลในชุมชนที่มีความขัดแย้งแตกแยก

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

คณะทำงานไม่สามารถดำเนินกิจกรรมให้เป็นไปตามแผนงานที่กำหนดไว้ แม้จะมีการลงไปพูดคุยร่วมกันของพี่เลี้ยงติดตามโครงการและทีมงาน ส่วนหนึ่งมีสาเหตุมาจากการต้องแก้ไขการดำเนินงานบางอย่างที่ไม่เป็นไปตามกิจกรรมที่วางแผนไว้ในข้อตกลงโครงการ

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

การดำเนินงานในงวดที่ 3 ไม่สามารถดำเนินการได้ ส่งผลให้ไม่เกิดผลผลิตและผลลัพธ์ตามทีกำหนดไว้ ปกด. การจัดทำแผนที่สถานการณ์สุขภาพของคนในพืนที่ การถอดบทเรียนการทำงานของโครงการ เป็นต้น

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

มีผู้รับผิดชอบโครงการทำหน้าที่ดูแลด้านการเงินโดยเฉพาะ มีความโปร่งใส และเข้าใจระเบียบหลักเกณฑ์มากยิ่งขึ้นในการใช้จ่ายเงิน และเงินที่ได้รับในงวดที่ 3 ยังไม่ถูกเบิกจ่ายเพื่อดำเนินกิจกรรมส่วนที่เหลือ ดังนั้น ทางคณะทำงานยินดีที่จะคืนเงิน กลับให้กับผู้ให้ทุน ที่ยังไม่ใช้จ่ายในกิจกรรมบางส่วน

2.2 การใช้จ่ายเงิน

ไม่มีการใช้จ่ายเงิน เนื่องจากกิจกรรมไม่สามารถดำเนินการตามที่วางแผนไว้ในโครงการ

2.3 หลักฐานการเงิน

ไม่มีการใช้จ่ายเงิน เนื่องจากกิจกรรมไม่สามารถดำเนินการตามที่วางแผนไว้ในโครงการ

ผลรวม 3 4 2 0
ผลรวมทั้งหมด 9 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
1. คณะทำงานไม่มีกำลังใจในการดำเนินกิจกรรมให้สำเร็จตามแผนงานที่วางแผนไว้ได้ 2. สภาพแวดล้อมของการเมืองท้องถิ่นที่ไม่เอื้อต่อการดำเนินกิจกรรมได้
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

ได้คืนเงินโครงการจากการได้รับโอนมาจาก ผู้ให้ทุน ครบตามจำนวนที่ได้รับมา

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

การดำเนินโครงการของวัดจันทร์ ม. 2 ส่วนหนึ่งก็มีความสำเร็จน่าพอใจ สามารถทิ้งร่องรอยไว้ให้เป็นที่จารึกและ เป็นบทเรียนให้กับพื้นที่ชุมชนเล็กๆ การที่โครงการ ปิดไปแบบไม่สวย(เนื่องจากไม่สำเร็จ)แต่ก็ พบ รอยยิ้มของคณะทำงานที่เสียสละมาร่วมทำงานด้วยกัน เพราะทุกคนหวังให้ชุมชนเล็กๆที่คนไม่ไว้ใจกัน(เนื่องจากที่ผ่านมามีการของบประมาณโดยกลุ่มบุคคลที่หวังได้รับผลประโยชน์) แต่เมื่อผ่านกระบวนการพัฒนาจนเกิดการเข้ามารับหน้าที่ ปี 2 ของ อ.เจริญ ปิ่นทอง อาจารย์ที่มารับหน้าที่หวังว่าจะพัฒนานักเรียนที่เรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษา ระดับ ตำบล ที่กำลังจะเสื่อมถอยลงเนื่องจากผู้ปกครองและนักเรียนส่วนใหญ่ไปเรียนในตัวเมืองเกือบหมด อาจารย์และทีมงานหวังจะทำอะไรอันเป็นประโยชน์แก่ชุมชนบ้าง แต่ก็อย่างที่ว่า การทำงานเพื่อส่วนรวมย่อมมีอุปสรรคบ้าง ทั้งในส่วนแนวคิดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ที่ไม่ค่อยให้ความสำคัญกับการพัฒนาในแง่ของ คุณธรรมและทางคุณภาพชีวิต

สร้างรายงานโดย twoseadj