โครงการชุมชนบ้านเจริญทรัพย์ปลอดหนี้สิน ทำกินกันตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง

แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 1

รหัสโครงการ 55-01842
สัญญาเลขที่ 55-00-0924

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนบ้านเจริญทรัพย์ปลอดหนี้สิน ทำกินกันตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รหัสโครงการ 55-01842 สัญญาเลขที่ 55-00-0924
ระยะเวลาตามสัญญา 1 ตุลาคม 2012 - 31 ตุลาคม 2013

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นางสมใจ ด้วงพิบูลย์
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 15 ธันวาคม 2012
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 23 มีนาคม 2013
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นางลำยอง บัวผัน 21/6 หมู่ 7 ตำบลทะเลทรัพย์ อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร 0898698290
2 นางวาสนา ปลอดปล่อง 38/5 หมู่ 7 ตำบลทะเลทรัพย์ อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร 08 2281 6242
3 นายสำเนาว์ อันประสิทธิ์ 133 หมู่ 7 ตำบลทะเลทรัพย์ อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร 08 4840 2116
4 นายโสภณ นาคสะโร 1/1 หมู่ 7 ตำบลทะเลทรัพย์ อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร 08 9869 8290
5 นายจักรกฤษณ์ มากประดิฐ 97/2 หมู่ 7 ตำบลทะเลทรัพย์ อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร 08 6272 1009
6 นายไพโรจน์ กิตติวานิช 112/1 หมู่ 7 ตำบลทะเลทรัพย์ อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร -
7 นายเหมือนหมั้น สิทธิศักดิ์ รพ.สต. ทะเลทรัพย์ หมู่ 7 ตำบลทะเลทรัพย์ อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพ 0898922180

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

เพื่อให้ประชาชนจัดทำบัญชีครัวเรือน

1) ร้อยละ 70 จำนวนครัวเรือนที่สมัครเข้าร่วมโครงการทำบัญชีครัวเรือน/ 2)จำนวนครัวเรือนที่มีการนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้

2.

เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในการพัฒนาให้กับกลุ่มอาชีพในชุมชนให้เกิดความเข้มแข็งและเพิ่มรายได้

1)มีกลุ่มอาชีพเสริมรายได้ 2)มีกลุ่มเกษตรอินทรีย์

2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมย่อย: 1.ประชุมชี้แจงโครงการและรับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการปลอดหนี้i

สมาชิกชุมชน/คณะทำงานจำนวน 203คน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

ประชุมประจำเดือนของหมู่บ้านทุกวันที่5ของเดือนโดยใช้งบประมาณของเทศบาล โดยมีผู้ใหญ่บ้านเป็นประธานและคณะกรรมการหมู่บ้านเข้าร่วมครบทุกคน

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

ประชาชนเข้าร่วมโครงการ101คน64ครัวเรือน

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

ประชาชนมีความเข้าใจที่มาของโครงการและสมัครเข้าร่วมโครงการลด ปลดหนี้

กิจกรรมย่อย: 2.ประชุมคณะทำงานและแกนนำชุมชนi

คณะทำงานและแกนนำชุมชน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

ประชุมแกนนำชุมชนและคณะผู้รับผิดชอบโครงการฯในวันที่8 ตุลาคม55

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

แกนนำเข้าร่วมประชุมกับผู้รับผิดชอบโครงการจำนวน 13 คน

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

ทีมงานทั้งหมดได้มีการมอบหมายหน้าที่และความรับผิดชอบในกิจกรรมโครงการตามความเหมาะสม พร้อมทั้งยินดีที่จะเป็นต้นแบบลด ปลดหนี้

กิจกรรมย่อย: 3. อบรมการทำบัญชีครัวเรือนi

สมาชิกชุมชน/คณะทำงานจำนวน 100คน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

จัดอบรมเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง การทำบัญชีครัวเรือน การทำปุ๋ยชีวภาพและการทำน้ำยาล้างจานโดยวิทยากรจากธกส.กรมตรวจบัญชีสหกรณ์และพัฒนาชุมชน

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

มีประชาชนและแกนนำเข้าร่วมประชุมจำนวน95 คนและผู้สนใจ12 คน(จากชุมชนอื่น)ในวันที่ 15ธค.55

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

สมาชิกมีความสนใจ ตั้งใจฟังและมุ่งมั่นที่จะนำไปฝึกปฏิบัติจริงต่อไป

กิจกรรมย่อย: 4.อบรมการปลูกผักปลอดสารพิษและการทำน้ำหมักชีวภาพi

สมาชิกชุมชน/คณะทำงานจำนวน100คน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

อบรมเรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษและการทำปุ๋ยหมักชีวภาพโดยวิทยากรชุมชน/หมอดิน

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

มีประชาชนและแกนนำเข้าร่วมประชุมจำนวน87 คนและผู้สนใจ12 คน(จากชุมชนอื่น)ในวันที่ 16ธค.55พร้อมทั้งสาธิตการทำปุ๋ยหมักชีวภาพ

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

สมาขิกสนใจใฝ่รู้(สังเกตจากการซักถาม)และลงมือปฏิบัติร่วมกับทีมวิทยากร

กิจกรรมย่อย: 5.จัดให้ความรู้และสาธิตการทไน้ำยาล้างจานและการทำไม้กวาดดอกอ้อi

สมาชิกชุมชน/คณะทำงานจำนวน100คน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

วิทยากรให้ความรู้และสาธิตการทำน้ำยาล้างจานและผูกไม้กวาดจากดอกอ้อ

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

.มีประชาชนและแกนนำเข้าร่วมประชุมจำนวน87 คนและผู้สนใจ12 คน(จากชุมชนอื่น)ในวันที่ 17ธค.55พร้อมทั้งสาธิตการทำไม้กวาดดอกอ้อ

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

ประชาชนมีความรู้ เข้าใจและบางรายตั้งใจว่าจะทำสิ่งของใช้เองทุกอย่างที่อาจารย์สอนเป็นการลดต้นทุน

กิจกรรมย่อย: 6.ประชุมชี้แจงและปฐมนิเทศโครงการi

ผู้รับผิดชอบโครงการ 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

ผู้รับผิดชอบโครงการจำนวน 5คน

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

ผู้รับผิดชอบโครงการ 2 คน

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

ผู้รับผิดชอบโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในการบันทึกรายงานและบันทึกข้อมูล

กิจกรรมย่อย: ึ7.ร่วมประชุมติดตามโครงการi

ผู้รับผิดชอบโครงการ 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

ผู้รับผิดชอบโครงการจำนวน 5คน

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

ผู้รับผิดชอบโครงการจำนวน 2คน

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

ผู้รับผิดชอบโครงการสามารถจัดทำรายงานส1,ง1และอื่นๆ ได้

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
ไม่มี

 

 

2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
ไม่มี

 

 

2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
นางลำยอง บัวผัน 21/6 ม.7 ต.ทะเลทรัพย์ อ.ปะทิว จ.ชุมพร 86160

เป็นผู้ที่มีความรับผิดชอบสูง ชอบช่วยเหลือผู้อื่นโดยที่ตนเองต้องสละเวลาของครอบครัว(ปกติมีอาชีพค้าขายที่ต้องส่งหมูชาแหละให้กับลูกค้าประจำและลูกกำลังเป็นวัยรุ่น)ร่วมงานชุมชนอย่างสมำ่เสมอ และเป็นนักศึกษาต่อเนื่องของม.ราชภัฎเพชรบุรีอีกด้วยในวันเสาร์และอาทิตย์

2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

สภาพพื้นที่มีความอุดมสมบรูณ์เหมาะกับการทำเกษตรกรรม มีการใช้เคมีภัณฑ์ในการเกษตรสูงเพื่อต้องการให้ผลผลิตดี ทำให้ชุมชนมีต้นทุนสูงและมีความเสี่ยงต่อสุขภาพ ชุมชนมีความคิดเดิมที่ว่าจะต้องใช้สารเคมีในการกระตุ้นผลผลิต เป็นต้น และที่สำคัญมีบุคคลที่เป็นแกนนำที่มีความรู้ มีความสามารถเป็นที่เชื่อถือของชุมชนในการโน้มน้าวชุมชนให้ปฏิบัติตามได้

จากการวิเคราะห์ชุมชนทำให้แกนนำและผู้เข้าร่วมประชุมเกิดความรู้และมีความตระหนักมากขึ้นจึงได้เข้าร่วมโครงการและปฏิบัติตามแนวทางกิจกรรมของโครงการที่่กำหนดเป็นอย่างดี(ในส่วนที่เข้าร่วมกิจกรรม)และให้ความร่วมมือมากขึ้น

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

มีทีมงานที่มีการประชุมอย่างต่อเนื่องในเวทีหมู่บ้านทุกเดือน

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

ผู้รับผิดชอบมีความมุ่งมั่นสูง

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

ประชาชนสามารถเข้าใจบางส่วน

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

ไม่มี

2.2 การใช้จ่ายเงิน

ไม่มี

2.3 หลักฐานการเงิน

ครบถ้วนและสมบูรณ์

ผลรวม 0 0 0 0
ผลรวมทั้งหมด 0 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

ชุมชนเห็นความสำคัญของการมีส่วนร่วม การบันทึกบัญชีครัวเรือนและเศรษฐกิจพอเพียงมากขึ้น

สร้างรายงานโดย somjai