โครงการชุมชนบ้านเจริญทรัพย์ปลอดหนี้สิน ทำกินกันตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง

แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 2

รหัสโครงการ 55-01842
สัญญาเลขที่ 55-00-0924

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนบ้านเจริญทรัพย์ปลอดหนี้สิน ทำกินกันตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รหัสโครงการ 55-01842 สัญญาเลขที่ 55-00-0924
ระยะเวลาตามสัญญา 1 ตุลาคม 2012 - 31 ตุลาคม 2013

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 ..นางสมใจ ด้วงพิบูลย์
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2 -
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 5 กุมภาพันธ์ 2013
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 30 มิถุนายน 2013
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นางลำยอง บัวผัน ...21/6 หมู่ 7 ตำบลทะเลทรัพย์ อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร .0898698290
2 นายไพโรจน์ กิตติวานิช .112/1 หมู่ 7 ตำบลทะเลทรัพย์ อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร ..-
3 นายเหมือนหมั้น สิทธิศักดิ์ .รพ.สต.ทะเลทรัพย์ หมู่ 7 ตำบลทะเลทรัพย์ อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร ..0898922180
4 นางวาสนา ปลอดปล่อง .38/5 หมู่ 7 ตำบลทะเลทรัพย์ อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร .0822816242

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

เพื่อให้ประชาชนจัดทำบัญชีครัวเรือน

1) ร้อยละ 70 จำนวนครัวเรือนที่สมัครเข้าร่วมโครงการทำบัญชีครัวเรือน/ 2)จำนวนครัวเรือนที่มีการนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้

2.

เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในการพัฒนาให้กับกลุ่มอาชีพในชุมชนให้เกิดความเข้มแข็งและเพิ่มรายได้

1)มีกลุ่มอาชีพเสริมรายได้ 2)มีกลุ่มเกษตรอินทรีย์

2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมย่อย: 1. ติดตามเยี่ยมครั้งที่ ๒i

ผู้รับผิดชอบโครงการและผู้เข้าร่วมประชุม ๕ คน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

...พี่เลี้ยงโครงการฯพบสมาชิกหมู่บ้านในเวทีประชุมประจำเดือนของหมู่บ้าน เพื่อสรุปผลการดำเนินกิจกรรม/ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน ครั้งที่๒

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

ติดตามเยี่ยมผู้รับผิดชอบโครงการฯและทีมงานที่บ้านเลขที่21/6 ม.7ต.ทะเลทรัพย์ อ.ปะทิว จ.ชุมพร ตรวจสอบรายงานการเงิน/หลักฐานและเสนอแนะให้จัดกิจกรรมต่อเนื่อง(งบประมาณยังมีพอที่จะใช้ในกิจกรรมของเดือนมี.ค.เรื่องการทำกลุ่มเกษตรอินทรีย์ฯ)โดยการประสานวิทยากรและสมาชิกชุมชนในการเตรียมความพร้อมในการอบรมเชิงปฏิบัติการ

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

ทีมงานมีภาระกิจหลายด้านผู้รับผิดชอบฯ มีความรับผิดชอบสูง มีความพร้อมและขยัน

กิจกรรมย่อย: 2. ทีมสจรส.มอ.นิเทศงานครั้งที่๒i

ผู้รับผิดชอบโครงการและผู้เข้าร่วมประชุม ๓ คน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

ทีมสจรส.มอ.ติดตามเยี่ยมครั้งที่๒

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

มีการวางแผนการดำเนินงานของโครงการและบทบาทหน้าที่ของพี่เลี้ยงในระยะต่อไป และ การจัดทำรายงานความก้าวหน้า (ส.1-ส.4) รายงานการเงิน (ง.1-ง.2)การวิเคราะห์และประเมินค่าของโครงการ

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

เรียนรู้วิธีวิเคราะห์คุณค่าของโครงการตนเอง

กิจกรรมย่อย: 3. จัดอบรมเชิงปฏิบัตการเรื่องการทำกลุ่มเกษตรอินทรีย์และแลกเปลี่ยนเรียนรู้i

ประชาชนเข้าร่วม.100 คนและทีมวิทยากรและพี่เลียง 3 คน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

ประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องเกษตรอินทรีย์ ทั้งในการทำนำ้หมักและปุ๋ยชีวภาพและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันในชุมขน

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

มีการประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องเกษตรอินทรีย์ ทั้งในการทำนำ้หมักและปุ๋ยชีวภาพ การติดตามผลการทำรายงานบัญชีครัวเรือน และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับทีมภายในและภายนอกจังหวัดที่มาศึกษาดูงานผู้สูงอายุชุมชนทะเลมรัพย์ซึ่งเป็นผู้ร่วมกิจกรรมโครงการเป้นส่วนใหญ่ร่วมกับเยาวชนในโรงเรียนชุมชนทะเลทรัพย์ ซึ่งมีจำนวนรวทั้งสิ้น 103 คน โดยวิทยากรจากศูนย์เรียนรู้อำเภอสวี จังหวัดชุมพร ผอ.รพสต.และผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ ๑และ๗

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

เยาวชนและประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ ความเข้าใจในการใช้ปุ๋ยทั้งสองประเภท

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
...ไ่ม่มี

-

-

2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
...-

-

-

2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
.นางลำยอง บัวผัน ...21/6 หมู่ 7 ตำบลทะเลทรัพย์ อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร

เป็นสมาชิกเทศบาล (สามี) มีความขยัน อดทน มีความพยายามสูง ตลอดจนต้องประสานงานกับหน่วงงานอื่น ๆ ในพื้นที่

2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

 

 

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

 

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

 

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

 

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

 

2.2 การใช้จ่ายเงิน

 

2.3 หลักฐานการเงิน

 

ผลรวม 0 0 0 0
ผลรวมทั้งหมด 0 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

มีผู้นำที่เข็มแข็ง (เจ้าหน้าที่รพ.สต.) เป้นแบบอย่างในด้านความโปร่งใส

สร้างรายงานโดย somjai