โครงการชุมชนบ้านเจริญทรัพย์ปลอดหนี้สิน ทำกินกันตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง

แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 3

รหัสโครงการ 55-01842
สัญญาเลขที่ 55-00-0924

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนบ้านเจริญทรัพย์ปลอดหนี้สิน ทำกินกันตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รหัสโครงการ 55-01842 สัญญาเลขที่ 55-00-0924
ระยะเวลาตามสัญญา 1 ตุลาคม 2012 - 31 ตุลาคม 2013

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 .นางสมใจ ด้วงพิบูลย์
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2 -
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 20 กันยายน 2013
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 13 ตุลาคม 2013
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นางลำยอง บัวผัน 21/6 หมู่ 7 ตำบลทะเลทรัพย์ อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร . 0898698290
2 นายไพโรจน์ กิตติวานิช 112/1 หมู่ 7 ตำบลทะเลทรัพย์ อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร .
3 นายเหมือนหมั้น สิทธิศักดิ์ รพ.สต.ทะเลทรัพย์ หมู่ 7 ตำบลทะเลทรัพย์ อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร 0898922180
4 นางวาสนา ปลอดปล่อง 38/5 หมู่ 7 ตำบลทะเลทรัพย์ อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร
5 นายสำเนาว์ อันประสิทธิ์ 133 ม.7 ต.ทะเลทรัพย์ อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร 084842116
6 นายจักรกฤษณ์ มากประดิฐ 97/2 ม.7 ต.ทะเลทรัพย์ อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร 0862721009
7 นายวัลลภ เรืองกำเนิด 112/1 ม.7 ต.ทะเลทรัพย์ อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

เพื่อให้ประชาชนจัดทำบัญชีครัวเรือน

1) ร้อยละ 70 จำนวนครัวเรือนที่สมัครเข้าร่วมโครงการทำบัญชีครัวเรือน/ 2)จำนวนครัวเรือนที่มีการนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้

2.

เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในการพัฒนาให้กับกลุ่มอาชีพในชุมชนให้เกิดความเข้มแข็งและเพิ่มรายได้

1)มีกลุ่มอาชีพเสริมรายได้ 2)มีกลุ่มเกษตรอินทรีย์

2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมย่อย: i

สมาชิกชุมชนและคณะทำงานจำนวน 203 คน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

การยอมรับให้มีเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะกรรมการเข้าประสานงานกับผู้ใหญ่บ้านและประธานศูนย์เรียนรู้เพื่อทำความเข้าใจและกำหนดกิจกรรม

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

ผู้รับผิดชอบและคณะมีความพึงพอใจและเห็นว่าเป็นชุมชนต้นแบบจริงเหมาะสำหรับการเรียนรู้อย่างยิ่ง

กิจกรรมย่อย: i

กลุ่มแกนนำจำนวน 50คน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

แกนนำมีความรู้และความเข้าใจในการจัดทำบัญชีครัวเรือนและเกษตรอินทรีย์

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

แกนนำชุมชนและประชาชนที่สนใจเข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับพื้นที่บ้านแหลมยางนา อ.ทุ่งตะโก ซึ่งเป็นต้นแบบที่ดีของกิจกรรมเกษตรอินทรีย์ในโครงการสสส.รุ่นพี่ ได้ร่วมแลกเปลี่ยนและลงไปดูในพื้นที่จริง

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

ทุกคนมีความกระตือรือร้นในการศึกษากิจกรรมต้นแบบและสัญญาว่าจะนำไปปรับใช้กับตนเอง

กิจกรรมย่อย: i

คณะกรรมการและคณะทำงาน 13 คน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

รายงานที่มีประสิทธิภาพ

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

คณะกรรมการนำรายงาน และการบัญชีให้พี่เลี้ยงตรวจสอบ

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

ผู้รับผิดชอบโครงการร่วมกันจัดการระบบการเงินและการคลังอย่างดี

กิจกรรมย่อย: i

คณะกรรมการโครงการแกนนำ /เยาวชนและกรรมการชุมชน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

มีการประชุมที่มีคุณภาพทุกเดือน

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

ทีมงานมีความมุ่งมั่นแต่ประชาชนทั่วไปให้ความร่วมมือ อย่างจริงจัง

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

ทุกคนมีความพึงพอใจในกิจกรรมโครงการและร่วมกันจัดทำรายงาน

กิจกรรมย่อย: i

คณะกรรมการโครงการแกนนำ /เยาวชนและกรรมการชุมชนจำนวน 203 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

ชุมชนมีความตระหนักและเข้าใจในการใช้สารอินทรีย์เป็นอย่างดี

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

ชุมชนเข้าร่วมกิจกรรมอย่างสนุกสนาน มีการโชว์งออกแบบและทำงานฝีมือที่ตนทำเอง พึงพอใจในรางวัลที่ได้รับ พร้อมทั้งได้บุคคลต้นแบบของบ้านเจริญทรัพย์ มอบรางวัลและประกาศนียบัตรโดยนายกเทศมนตรี

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

ผู้เข้าร่วมประชุมมีความกระตือรือร้นในการสานต่อโครงการซึ่งเป็นการตั้งต้นงานเท่านั้น

กิจกรรมย่อย: i

คณะกรรมการชุมชน 63 คน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

ทบทวนผลการดำเนินงานที่ผ่านมาและหาแนวทางแก้ไข

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

มีการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของคณะกรรมการ แกนนำชุมชนและปรับแผนการดำเนินงานให้สอดคล้องกับแผนงานและงบประมาณที่กำหนดให้ ในเวทีประจำหมู่บ้าน พร้อมทั้งจัดตั้งกลุ่มเกษตรอินทรีย์และกลุ่มอาชีพ นอกจากนี้ยังมีการจัดตั้งกองทุนวันละบาทของสมาชิกจำนวน 63 คน ซึ่งมีเงินที่เก็บรวมไว้ส่วนหนึ่งประมาณ 13,230 บาทเป็นทุนในการดำเนินงานของสมาชิกโครงการ

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

ผลการดำเนินงานทำให้สามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันได้ มีเงินทุน และอยู่อย่างมีความสุข

กิจกรรมย่อย: i

คณะกรรมการโครงการและผู้รับผิดชอบโครงการ 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

รายงานมีความถูกต้องและสอดคล้องกับแผนงานที่กำหนด

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

ผู้รับผิดชอบโครงการจัดทำรายงานเสนอพี่เลี้ยงและทีมสจรส.

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

 

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
ไม่มี

มีการรวมตัวของสมาชิกโครงการร่วมกันทำผลิตภัณฑ์ในครัวเรือนใช้เองจากเศษอาหาร ผลไม้ และส่วนผสมที่กำหนด ตลอดจนทำน้ำยาอเนกประสงค์ น้ำยาซักผ้า/ปรับผ้านุ่ม ไม้กวาดดอกอ้อ ทำให้สามารถลดค่าใช้จ่ายครัวเรือน และมีรายได้เสริม

กลุ่มเกษตรอินทรีย์ที่มีทุนจากการรวมกลุ่มเป็นเงินตั้งต้นครั้งนี้ประมาณ13,000บาทที่สมาชิกกำลังร่างกฎ กติกา และระเบียบของกลุ่มเพื่อประกาศใช้ต่อไป

2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
.ไม่มี

 

 

2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
นางลำยอง บัวผัน 21/6 หมู่ 7 ตำบลทะเลทรัพย์ อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร

มีความสามารถในการครองตนอยู่ได้ในสภาพแวดล้อมที่ต้องรับผิดชอบงานหลายอย่างพร้อมทั้งยังศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีอีกด้วย มีการจัดสรรเวลาที่ดี เป้นต้น

2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม

การมีส่วนร่วมของชุมชนมีน้อย

ประสานงานกับทีมผู้สูงอายุ ซึ่งมีจำนวนมากและเข็มแข็งและอาจารย์โรงเรียนทะเลทรัพย์ที่ช่วยกิจกรรมต่างๆ ทุกครั้งที่ร้องขอ

ชื่นชมและเสนอให้ปรึกษาแกนนำผู้สูงอายุและนำนักเรียนเข้าร่วมโครงการถือว่าเยาวชนคนรุ่นใหม่ที่จะสานต่อกิจกรรมต่อไปได้ในอนาคต

3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

 

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

 

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

 

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

 

2.2 การใช้จ่ายเงิน

 

2.3 หลักฐานการเงิน

 

ผลรวม 0 0 0 0
ผลรวมทั้งหมด 0 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

ชุมชนได้เรียนรู้วิถีชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงจากกิจกรรมโครงการและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับชุมชนแหลมยางนาทำให้สมาชิกหลายคนที่มีการปรับเปลี่ยนแนวคิดและพฤติกรรมตนเองให้รู้จักจัดทำบัญชีครัวเรือนที่ทำให้ทราบว่ารายรับและรายจ่ายสมดุลกันหรือไม่ ทำให้ต้องปรับตัวในการใช้จ่าย รู้จักประหยัด ออมเงินซึ่งเป็นที่มาของกองทุนวันละบาท ใช้ผลผลิตแลผลิตภัณฑ์ชุมชนจากกลุ่มสมาชิกที่ร่วมกันทำใช้ เป็นต้นและเกิดกลุ่มเกษตรอินทรีย์ นอกจากนี้ชุมชนมีทุนในเรื่องบุคคลที่มีชมรมผู้สูงอายุที่เข็มแข็ง ที่เป็นแบบอย่างกับที่อื่นได้ช่วยหนุนเสริมกิจกรรมโครงการทำให้โครงการสำเร็จลุล่วงไปด้วยดี

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

ทีมงานผู้สูงอายุและโรงเรียนมีการเชื่อมประสานกันเป็นอย่างดีในชุมชน แต่ขาดนักวิชาการในพื้นที่ๆจะหนุนเสริมในเรื่องIT ทำให้ทีมชุมชนไม่กล้าที่จะดำเนินกิจกรรมต่อยอดแต่มีความตั้งใจดี

สร้างรายงานโดย somjai