โครงการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อการท่องเที่ยวบ้านนางกำ

แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 2

รหัสโครงการ 55-01904
สัญญาเลขที่ 55-00-1008

ชื่อโครงการ โครงการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อการท่องเที่ยวบ้านนางกำ
รหัสโครงการ 55-01904 สัญญาเลขที่ 55-00-1008
ระยะเวลาตามสัญญา 1 ตุลาคม 2012 - 31 ตุลาคม 2013

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นางสาวกัญนภัส จันทร์ทอง
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 8 มิถุนายน 2013
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 30 มิถุนายน 2013
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นางสาวอิทธิยา สังข์ธรรม ชุมชนบ้านนางกำ 73 ม.10 ต.ดอนสัก อ.ดอนสัก จ.สุราษฎร์ธานี 081-5363691
2 นายบุญธรรม นิยกิจ 117 ม.10 ต.ดอนสัก อ.ดอนสัก จ.สุราษฎร์ธานี 077-471033

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

เพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมของคนชุมชน

  • สภาพแวดล้อมดีขึ้น ทรัพยากรธรรมชาติมีความสมบูรณ์มากขึ้น  ป่าชายเลนสมบูรณ์  ชายหาดสะอาด  ชุมชนสะอาด ปราศจากขยะ
  • ความสัมพันธ์ของคนในชุมชนดีขึ้น  คนในชุมชนเข้าร่วมกิจกรรมมากขึ้น

2.

เพื่ออนุรักษ์แหล่งเรียนรู้โลมาในชุมชน

  • เขตอนุรักษ์โลมาในชุมชน
  • กติกาชุมชนในการจัดการพื้นที่เพื่ออนุรักษ์โลมา
  • กลุ่มคน เครือข่ายในการอนุรักษ์โลมา
2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมย่อย: จัดเวทีประชาคมเพื่อกำหนดแนวทางการสร้างพื้นที่เขตอนุรักษ์โลมา และพื้นที่อนุรักษ์หญ้าทะเล และการนำกติกาชุมชนธรรมนูญชุมชนมาบังคับใช้i

คณะทำงาน คนในชุมชน จำนวน 60 คน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :
  • ประชุมคณะทำงานและคนในชุมชนรับฟังความคิดเห็น ข้อเสนอต่อการสร้างพื้นที่อนุรักษ์โลมา หญ้าทะเล และการใช้กติกาชุมชนที่จัดทำขึ้น
ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :
  • นำกติกาชุมชนที่ได้ดำเนนิการจัดทำมาเผยแพร่และรับความคิดเห็นจากคนในพื้นที่ โดยจัดเวทีรับฟังความคิดเห็นและแจ้งที่ประชุมในวันที่  4 พฤษภาคม 2556
สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :
  • กติกาชุมชนที่คณะทำงานโครงการจัดทำขึ้นทั้ง 7 ข้อ ซึ่งเป็นกติกาเกี่ยวกับการจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชนด้านต่างๆ ได้รับการยอมรับจากคนในชุมชน และร่วมกันปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด

กิจกรรมย่อย: เยาวชนรักษ์สิ่งแวดล้อมi

เยาวชนโรงเรียนบ้านนางกำ จำนวน 30 คน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :
  • ประสานงานกับโรงเรียนบ้านนางกำขอการสนับสนุนกิจกรรมจากกลุ่มเยาวชนในการเดินรณรงค์การจัดการขยะ โดยขบวนกลองยาวร่วมกับกลุ่มคนรักษ์นางกำ และเก็บขยะในชุมชน
ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :
  • นำเยาวชนโรงเรียนบ้านนางกำและคนในชุมชน คณะทำงาน ร่วมกันเก็บขยะรอบชุมชน และพัฒนาชุมชน โดยจัดกิจกรรมในวันที่ 8 เมษายน 2556
สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :
  • กิจกรรมเป็นการกระตุ้นให้คนในชุมชนเห็นความสำคัญของการรักษาความสะอาด และสิ่งแวดล้อมในชุมชน เนื่องจากการทำงานที่ผ่านมา ทำให้เิ่ริ่มมีนักท่องเที่ยวเข้ามาเที่ยวในชุมชน เกิดการสร้างงาน สร้างรายได้ให้คนในชุมชนบ้างแล้ว

กิจกรรมย่อย: ประชุมคณะทำงานโครงการi

คณะทำงาน จำนวน 15 คน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :
  • ประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปงานและวางแผนการทำงาน
ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :
  • ประชุมคณะทำงานวันที่ 9 มิถุนายน 2556 เพื่อวางแผนการดำเนินงานโครงการในงวดที่ 2
สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :
  • การประชุมคณะทำงานมีภาคีหนุนเสริมการทำงานอย่าง มอ. สุราษฎร์ธานี เข้ามาร่วมประชุมวางแผนการทำงาน ทำให้แผนการทำงานของชุมชนชัดเจนขึ้น
  • กำหนดจัดกิจกรรมนักสืบโลมาน้อยในวันที่ 22 - 23 มิถุนายน 2556

กิจกรรมย่อย: i

เยาวชน คณะทำงาน กลุ่มเรือ จำนวน 30 คน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :
  • กลุ่มคนรักษ์นางกำและกลุ่มเรือท่องเทีี่ยวร่วมกับกลุ่มเยาวชนทำการสำรวจ จัดทำปฏิทิน และแผนที่การเดินทางของโลมา เพื่อใช้เป็นข้อมูลจัดทำแหล่งศึกษาโลมาของชุมชน / ล่องเรือสำรวจพื้นที่แหล่งอาหารและเส้นทางสัญจรของโลมา / จัดทำปฏิทินการเดินทางของโลมาที่เข้ามาหาอาห
ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

 

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

 

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์

 

 

2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์

 

 

2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
นางสาวอิทธิยา สังข์ธรรม 73 ม.10 ต.ดอนสัก อ.ดอนสัก จ.สุราษฎร์ธานี

081-5363691

นายพิงค์พงค์ วิชัยดิษฐ์ 47 ม.10 ต.ดอนสัก อ.ดอนสัก จ.สุราษฎร์ธานี

087-0084409

นายวุฒิชัย ขนอม 71 ม.10 ต.ดอนสัก อ.ดอนสัก จ.สุราษฎร์ธานี

081-4776665

2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

แหล่งเรียนรู้ป่าชายเลนชุมชน

  • เป็นแหล่งเดินป่า เรียนรู้พันธุ์พืช พันธุ์ไม้ในชุมชน
  • มีเส้นทางเดินศึกษาป่า

ชายหาดชุมชน

  • มีการจัดการขยะ จนสะอาด เพื่อรองรับนักท่ิองเที่ยว
  • เป็นสถานที่ในการสร้างรายได้ให้กับคนในชุมชน

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
  • แกนนำโครงการเป็นคนกลุ่มเดิมที่มีภาระงานหลายด้าน สวมหมวกหลายใบ ทำให้ไม่สามารถดำเนินงานโครงการได้อย่างเต็มที่
  • แบ่งบาทหน้าที่การทำงาน
  • ส่งบัณฑิตอาสา นักสร้างเสริมสุขภาวะชุมชนเข้าไปช่วยงาน เพื่อร่วมขับเคลื่อนโครงการ
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน
  • ยังเป็นกลุ่มเดิม คนเดิม ไม่มีการสร้างแกนนำจากคนรุ่นใหม่ๆ
1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน
  • แกนนำแต่ละคนที่ทักษะการทำงานที่แตกต่างกัน แต่ัยังไม่สามารถนำมาช่วยหนุนเสริมการทำงานได้
1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน
  • ผลลัพธ์ของโครงการมีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้
2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ
  • กลไกการจัดการในพื้นที่ยังไม่หลากหลาย มีกลุ่มคนเดิมๆ
2.2 การใช้จ่ายเงิน
  • การใช้จ่ายงบประมาณเป็นไปตามระเบียบและข้อกำหนดของ สสส.
2.3 หลักฐานการเงิน
  • หลักฐานการเงินสามารถตรวจสอบได้
ผลรวม 0 0 3 0
ผลรวมทั้งหมด 3 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

โครงการมีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมาย วัตถุประสงค์ของโครงการที่วางไว้ แม้จะช้ากว่าแผนที่วางไว้เล็กน้อย สามารถติดตามโครงการได้ตามปกติ

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

  • ชุมชนกำำลังเข้าสู่ช่วงการดำเนินงานโครงการที่เริ่มมี

สร้างรายงานโดย kannapat janthong