โครงการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อการท่องเที่ยวบ้านนางกำ

แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 3

รหัสโครงการ 55-01904
สัญญาเลขที่ 55-00-1008

ชื่อโครงการ โครงการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อการท่องเที่ยวบ้านนางกำ
รหัสโครงการ 55-01904 สัญญาเลขที่ 55-00-1008
ระยะเวลาตามสัญญา 1 ตุลาคม 2012 - 31 ตุลาคม 2013

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 ...นางสาวกัญนภัส จันทร์ทอง
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 18 กันยายน 2013
วันที่ส่งรายงานถึง สสส.
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 ...นางสาวอิทธิยา สังข์ธรรม ...73 หมู่ 10 ต.ดอนสัก อ. ดอนสัก จ. สุราษฎร์ธานี ...081-5363691
2 ...นายพิงค์พงค์ วิชัยดิษฐ ...47 หมู่ ๑๐ ต.ดอนสัก อ.ดอนสัก จ.สุราษฎร์ธานี ...087-0084409
3 ...นายวุฒิชัย ขนอม ...71 หมู่ ๑๐ ต.ดอนสัก อ.ดอนสัก จ. สุราษฎร์ธานี ...081-4776665

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

เพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมของคนชุมชน

  • สภาพแวดล้อมดีขึ้น ทรัพยากรธรรมชาติมีความสมบูรณ์มากขึ้น  ป่าชายเลนสมบูรณ์  ชายหาดสะอาด  ชุมชนสะอาด ปราศจากขยะ
  • ความสัมพันธ์ของคนในชุมชนดีขึ้น  คนในชุมชนเข้าร่วมกิจกรรมมากขึ้น

2.

เพื่ออนุรักษ์แหล่งเรียนรู้โลมาในชุมชน

  • เขตอนุรักษ์โลมาในชุมชน
  • กติกาชุมชนในการจัดการพื้นที่เพื่ออนุรักษ์โลมา
  • กลุ่มคน เครือข่ายในการอนุรักษ์โลมา
2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมย่อย: i

- คณะทำงานโครงการ 2-3 คน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :
  • ได้บทเรียนการทำงานโครงการในพื้นที่บ้านนางกำ
  • สามารถจัดทำรายงานความก้าวหน้าโครงการได้
ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :
  • ทีมงานโครงการบ้านนางกำเข้ารับการถอดบทเรียน ประสบการณืการทำงานจากทีมงาน สจรส. มอ. เพื่อเป็นเขียนเป็นหนังสือ
สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :
  • ได้บทเรียนการทำงานโครงการทีี่เป็นรูปธรรม เป็นผลสำเร็จจากการทำงาน

กิจกรรมย่อย: i

- คณะทำงานโครงการ ชาวบ้านในพื้นที่ จำนวน 10 คน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :
  • จัดประชุมแกนนำโครงการ เพื่อสรุปการดำเนินงานโครงการ และประชุมร่วมหารือเพื่อกำหนดแนวทางในดำเนินกิจกรรมจัดเวทีประชาชนคนรักษ์นางกำ
ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :
  • ประชุมแกนนำชุมชน คณะทำงาน เพื่อวางแผนการจัดเวทีในวันที่ 31 สิงหาคม 2556 เพื่อสรุปผลการดำเนินงานโครงการ และหาแนวทางการต่อยอดโครงการ
สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :
  • ได้แผนการทำงาน และรูปแบบการจัดกิจกรรมในวันที่ 31 สิงหาคม 2551

กิจกรรมย่อย: i

- คณะทำงานโครงการ แกนนำชุมชน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :
  • ประชุมหารือกำหนดแนวทางการดำเนินกิจกรรม จัดเวทีประชาชนคนรักษ์นางกำ ซึ่งเป็นเวทีสุดท้ายในการจัดกิจกรรมของโครงการ
ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :
  • ประชุมหารือกำหนดแนวทางการดำเนินกิจกรรม จัดเวทีประชาชนคนรักษ์นางกำ ซึ่งเป็นเวทีสุดท้ายในการจัดกิจกรรมของโครงการ
สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :
  • ได้รูปแบบการจัดเวทีคนรักษ์นางกำ
  • เปลี่ยนแปลงกำหนดการจัดงานเป็นวันที่ 30 สิงหาคม 2556
  • มอบหมายงานตามบทบาทหน้าที่การทำงาน

กิจกรรมย่อย: i

- ประชาชนในชุมชนบ้านนางกำ 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :
  • ให้คนในชุมชนบ้านนางกำทราบกำหนดการการจัดกิจกรรมเวทีคนรักษ์นางกำ และเข้าร่วมกิจกรรมในวันดังกล่าวอย่างพร้อมเพรียงกัน
ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :
  • ทีมงานลงพื้นที่เชิญชวน ประชาสัมพันธ์ให้คนในชุมชนทราบถึงการจัดกิจกรรมคนรักษ์นางกำ และชักชวนเข้าร่วมกิจกรรม
สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :
  • คนในชุมชนทราบแผนการจัดกิจกรรม และสนใจเข้าร่วมงาน

กิจกรรมย่อย: i

- คณะทำงาน ประชาชนคนนางกำ 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :
  • จัดเวทีประชาคมเพื่อกำหนดแนวทางการสร้างพื้นที่การอนุรักษ์โลมาและหญ้าทะเลแหล่งอาหารโลมาและการนำกติกาชุมชนมาบังคับใช้
ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :
  • มีการจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน รักษาความสะอาดบริเวณชายหาด ถนนในชุมชน
  • เวทีรับฟังความคิดเห็น ข้อเสนอ ต่อแนวทางการพัฒนาชุมชนบ้านนางกำ
สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :
  • ได้แผนการดำเนินงาน แผนพัฒนาชุมชนในปีต่อไป
  • สามารถสร้างความเชื่อถือของชุมชนในการร่วมกันจัดการชุมชนให้น่าอยู่

กิจกรรมย่อย: i

- คณะทำงาน เยาวชน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :
  • ได้สื่อการเรียนรู้ เรื่องเล่า หรือนิทานที่เกิดการการเก็บข้อมูลและผลิตของเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการ
ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :
  • บัณฑิตอาสา มอ. และคณะทำงานโครงการ ร่วมกันจัดทำสื่อการเรียนรู้ เพื่อใช้ในการเรียนรู้เรื่องโลมาที่เป็นสัญลักษณ์ทางการท่องเที่ยวของชุมชนบ้านนางกำ
สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :
  • ได้สื่อการเรียนรู้ที่ยังไม่สมบูรณ์ ต้องอาศัยผู้มีความรู้มาช่วยในการปรับปรุงเนื้อหาสาระ

กิจกรรมย่อย: i

- คณะทำงานโครงการ 2-3 คน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :
  • จัดทำรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบููรณ์และรายงานการเงินให้ถูกต้อง ครบถ้วนตามแบบฟอร์มที่กำหนดไว้
ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :
  • ทีมงานไม่สามารถเดินทางมาร่วมจัดทำรายงานโครงการได้ในวันที่กำหนด แต่ได้มีการเดินทางมาทำรายงานล่วงหน้า และได้รับการตรวจสอบความถูกต้องแล้ว
สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :
  • ได้รายงานที่มีคุณภาพ สามารถส่งมอบให้ สสส. ได้

กิจกรรมย่อย: i

- คณะทำงานโครงการ 2 คน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :
  • ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์การทำงานในโครงการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นภาคใต้ ปี 2556
ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :
  • คณะทำงานโครงการส่งตัวแทนเข้าร่วมชมนิทรรศการและร่วมรับฟังการเสวนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์การทำงานพัฒนาในพื้นที่ภาคใต้
สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :
  • ตัวแทนชุมชนที่เข้าร่วมกิจกรรมได้ความรู้ ประสบการณ์ แนวทางการทำงานพัฒนาไปปรับใช้ในชุมชนของตัวเองได้
2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
...เขตอนุรักษ์โลมา
  • มีการจัดทำทุ่นลอย โป๊ะกลางทะเล เพื่อใช้ในการล่อปลาให้เข้ามาพัก เมื่อปลาเข้ามาพัก มาหลบภัยหาอาหรเป็นจำนวนมาก ก็จะล่อให้โลมาเข้ามากินปลาในบริเวณที่ใกล้กับเขตอนุรักษ์ดังกล่าว
  • หลังจากสร้างเขตอนุรักษ์โลมาได้ 3 เดือน มีผู้พบเห็นโลมาเข้ามาหากินในเขตอนุรักษ์จำนวน 2 ครั้ง โดยที่ไม่ต้องออกเรือไปดูโลมาในทะเลเลย
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
...กระบวนการทำงานแบบบูรณาการและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรทางการท่องเที่ยว
  • บูรณาการการทำงานขององค์กรทุกองค์กรที่มีในชุมชนมาทำงานด้านการอนุรักษ์ควบคู่กันไป ให้ทุกองค์กรได้รับประโยชน์จากการทำงานเท่าเทียมกัน เช่น กลุ่มธุรกิจอาหาร กลุ่มเรือนำเที่ยวย ชาวประมงในพื้นที่ กลุ่มคนรักษ์นางกำ กลุ่มเยาวชนรักษ์นางกำ กลุ่มท่องเที่ยวชุมชนบ้านนางกำ
  • เมื่อมีการอนุรักษ์ทรัพยากรทางการท่องเที่ยวไว้ ก็เกิดเป็นการท่องเที่ยวชุมชน ท่องเที่ยวทางธรรมชาติ มีนักท่องเที่ยวเข้ามาเยี่ยม มาเที่ยว แวะกินอาหารในชุมชนมากขึ้น มีการกระจายรายได้ให้คนในชุมชนมากขึ้นด้วย
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
...นางสาวอิทธิยา สังข์ธรรม ...73 หมู่ 10 ต.ดอนสัก อ. ดอนสัก จ. สุราษฎร์ธานี
  • การประสานงานที่สามารถเชื่อมโยงเครือข่ายการทำงานได้
  • การบริหารจัดการโครงการ
...นายพิงค์พงค์ วิชัยดิษฐ ...47 หมู่ ๑๐ ต.ดอนสัก อ.ดอนสัก จ.สุราษฎร์ธานี
  • การจัดการความคิด จัดระบบการทำงานที่เป็นระบบ
  • ความคิดเชิงสร้ิางสรรค์ เชิงระบบในการบริหารจัดการกลุ่มกิจกรรม
...นายวุฒิชัย ขนอม ...71 หมู่ ๑๐ ต.ดอนสัก อ.ดอนสัก จ. สุราษฎร์ธานี
  • ความกล้าแสดงออก
  • ความสามารถในการประสานงาน
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
  • ลานเอนกประสงค์ชุมชนบ้านนางกำ
  • เป็นบริเวณที่วางริมหาดนางกำ เป็นพื้นที่สาธารณะสำหรับการจัดกิจกรรมที่ใกล้ชิดธรรมชาติ บรรยากาศเหมาะสำหรับการเรียน

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม

คณะทำงานแต่ละคนมีภาระกิจส่วนตัวมาก ทำให้ไม่มีเวลาในการเข้าร่วมกิจกรรมอย่างพร้อม

  • กระจายงานกันทำตามช่วงเวลาที่แต่ละคนสามารถทำได้
  • หาช่วงเวลาที่เป็นช่วงที่เหมาะสม เป็นช่วงที่คนสามารถเข้าร่วมกิจกรรมได้อย่าำงพร้อมเพรียง และให้ทุกคนรับผิดชอบตามบทบาทหน้าที่ของตนเอง
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน
  • โครงสร้างการดำเนินงานโครงการมีคามหลากหลาย มีการแบ่งบทบาทหน้าที่การทำงานที่ชัดเจน แต่คณะทำงานบางคนไม่ได้รับผิดชอบตามบทบาทหน้าที่ของตัวเอง จึงกลายเป็นภาระงานของคนเพียงไม่กี่คน
1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน
  • ทีมงานแต่ละคนมีศักยภาพและมีทักษะการทำงานที่แตกต่างกันไป มีประสบการณ์การทำงานที่หลากหลาย แต่ยังไม่สามารถบูรณาการ นำความสามารถที่มีมาใช้ในการหนุนเสริมการดำเนินงานโครงการได้อย่างเต็มที่
1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน
  • ผลลัพธ์ ผลสำเร็จของโครงการเป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ แต่ยังให้ความสำคัญกับกระบวนการพัฒนาเยาวชนน้อย
2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ
  • ระบบและกลไกในการบริหารจัดการการเงินในโครงการ มีการวางระบบและกลไกไว้เป็นอย่างดี ไม่ไม่สามารถใช้ได้อย่างมีประสิทธิผล ทำให้การบริหารจัดการเป็นภาระหน้าที่ของผู้ประสานงานโครงการเพียงคนเดียว
2.2 การใช้จ่ายเงิน
  • เป็นไปตามแผนกิจกรรม และระเบียบของ สสส. แต่มีบางกิจกรรมทีี่เพิ่มเข้ามา เพื่อให้งานเกิดความสมบูรณ์ จึงจำเป็นต้องใช้งบประมาณเพิ่มเติมจากกิจกรรมอื่นๆ
2.3 หลักฐานการเงิน
  • ยังมีความบกพร่องในการทำเอกสารการเงิน เอกสารการเงินไม่สมบูรณ์ ต้องแก้ไขให้ถูกต้อง
ผลรวม 0 0 4 0
ผลรวมทั้งหมด 4 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น
  • โครงการสามารถดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติกร และสามารถปิดโครงการได้ตามกำหนดเวลาที่วางไว้
  • ภาพรวมของโครงการ บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ สามารถสร้างพื้นที่อนุรักษ์ในชุมชนได้ สร้างการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของชุมชนได้
  • การใช้จ่ายงบประมาณคุ้มค่า
ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

  • ลักษณะการดำเนินงานโครงการเป็นการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติที่มีผลต่อการท่องเที่ยวชุมชน ทำให้คนในชุมชนเห็นความสำคัญ เนื่องจากสามารถสร้างรายได้จากการท่องเที่ยว จึงควรส่งเสริมการจัดการทรัพยากรที่มีในชุมชนด้านอื่นๆ ด้วย โดยเฉพาะทรัพยากรบุคคลที่จะเป็นกำลังสำคัญในการทำงานด้านนี้ต่อไป
  • สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ คือ การที่คณะทำงานสามารถสร้างกระบวนการเรียนรู้ให้คนในชุมชนเห็นความสำคัญของการอนุรักษ์ เห็นประโยชน์ร่วมของสิ่งที่ช่วยกันทำ ทำให้เวลาจัดกิจกรรมสำคัญๆ จะมีคนใุนเข้าร่วมเป็นจำนวนมาก

สร้างรายงานโดย kannapat janthong