แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 1

รหัสโครงการ 56-00245
สัญญาเลขที่ 56-00-0377

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพ เยาวชนนักพัฒนา (ผลัดกันแลลูกเธอลูกฉัน)
รหัสโครงการ 56-00245 สัญญาเลขที่ 56-00-0377
ระยะเวลาตามสัญญา 1 เมษายน 2013 - 30 เมษายน 2014

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นางสาวอารีย์ สุวรรณชาตรี
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2 นางสาวใบเฟริ์น สุวรรณมณี
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 7 กันยายน 2013
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 12 กันยายน 2013
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นางสาวจินตหรา บัวหนู 38/3 หมู่ 1 ตำบลป่าชิง อำเภอจะนะ จังหวัด สงขลา 0849995972

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

1 เพื่อสร้างความเข้าใจก่อให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วม ร่วมคิด ร่วมทำ ของผู้ใหญ่และเยาวชนในชุมชน

1.เด็กและเยาวชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีและลดละเลิก สารเสพติด ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย

2.มีเครือข่ายเฝ้าระวังเสพสารเสพติด

2.

สร้างกระบวนการคิดในการพึ่งพาตนเอง

1.มีพื้นที่ให้เด็กและเยาวชนได้แสดงออกในตัวตนของเขา

2.มีการสร้างงานเพื่อเป็นรายได้

3.

เพื่อเสริมสร้างกำลังใจให้เด็กและเยาวชน

1.มีพื้นที่ในการแสดงผลงานของเด็กและเยาวชน

2.เกิดการยอมรับในผลงานของเด็กและเยาวชน

3.ให้โอกาสเด็กและเยาวชนร่วมกับผู้ใหญ่เพื่อวางแผนพัฒนาชุมชน

4.

ติดตามและสนับสนุนการดำเนินงานโครงการโดยทีม สสส.และ สจรส.มอ.หาดใหญ่

1.การจัดทำรายงานส่ง เช่น ส1,ส.2,ส.3 และเอกสารการเงิน ง.1,ง.2 ในแต่ละงวด

2.การเข้าร่วมประชุม ร่วมกับ สสส.และสจรส.มอ.หาดใหญ่ ร้อยละ 75  ในการประชุม

5.

 

 

2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมย่อย: i

คณะทำงานโครงการ 20 คน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

1.ประชุมชี้แจงการดำเนินงานโครงการที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนจาก สสส.ให้คณะทำงานโครงการได้รับทราบข้อมูล
2.ประชุมระดมความคิดเห็นในการทำกิจกรรมในแต่ละครั้งและสรุปผลจากการทำงาน ทำให้รับรู้ข้อมูลการทำกิจกรรมทั้งจุดเด่นและจุดด้อย

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

คณะทำงานโครงการเข้าร่วมประชุมทุกครั้ง ในการระดมความคิดเห็นร่วมกัน 10 - 14 คน

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

เกิดการวางแผนในการดำเนินกิจกรรมของโครงการในแต่ละครั้ง และได้รับทราบข้อมูลสถานการณ์ของการดำเนินกิจกรรมทั้งจุดเด่นและจุดด้อย เพื่อนำไปสู่การแก้ไขปัญหาและการตัดสินใจร่วมของคณะทำงาน

กิจกรรมย่อย: i

กลุ่มเด็กเยาวชน ในชุมชนที่เป็นลูกหลานของคนป่าชิง 20 คน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

1.เด็กเยาวชนร่วมกันระดมความคิดเห็น และออกแบบการการจัดกิจกรรมในการลงพื้นที่เยี่ยมตา เยี่ยมยาย และผู้เฒ่า ในชุมชน และเรียนรู้วิถีชีวิตของคนในตำบลป่าชิง

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

ลงพื้นที่เยี่ยม ตา ยาย ผู้เฒ่า ในชุมชน ในการสัมภาษณ์ความเป็นมาของชุมชน เช่น วิถีชีวิต ทรัพยากร สถานที่สำคัญในชุมชนที่มีอิทธิพลต่อ ทัศนคติ ความเชื่อ การเคารพ ที่เชื่อมโยงกับการดำเนินชีวิตของคนในชุมชนตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

1.เด็กเยาวชนเรียนรู้การดำเนินชีวิตของคนในชุมชน ที่ผ่านการเล่าเรื่องจาก ปู่ ย่า ตา ยาย ตลอดจนความเชื่อในเรื่องต่างๆ  เช่น ความเชื่อในเรื่องของทวดเพียร ที่คุ้มครองให้คนที่อาศัยอยู่ในตำบลป่าชิงมีความสงบสุข

2.เกิดความสัมพันธ์ ความใกล้ชิด ระหว่างเด็กและผู้ใหญ่ในชุมชน เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน

กิจกรรมย่อย: i

คณะทำงานโครงการ 15 คน,ประชาชนในชุมชนที่สนใจเข้าร่วม 88 คน,ทีมวิทยากรจากภายนอก 7 คน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

1.แนวทางร่วมในการแก้ไขปัญหาในชุมชน เช่น ยาเสพติด ,ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรในชุมชน โดยมี แหล่งน้ำ ที่ดิน พืชต้นไม้ประจำถิ่น

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

1.คนในชุมชน ทุกวัยทั้งเด็ก ผู้ใหญ่ คนเฒ่า คนแก่ ร่วมกันพูดคุยเล่าประสบการณ์และเรื่องราวในชุมชนป่าชิงตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน โดยใช้การทานอาหารร่วมกัน

2.การจัดนิทรรศการ การละเล่นของชุมชนในอดีตให้เด็กได้เรียนรู้ และละเล่น สร้างความสนุกสนานให้กับเด็กในชุมชน เช่น เดินกะลามะพร้าว ,ม้าก้านกล้วย ,ฉับโพง

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

1.เด็กในชุมชนเกิดการเรียนรู้วิถีชีวิตของชุมชนทั้งการละเล่น ,ภูมิปัญญา,ประเพณี,และเรื่องราวความเชื่อของชุมชน

2.กิจกรรม การกินข้าวร่วมกัน ทำให้เกิดความใกล้ชิด ผูกพันธ์ ของคนในชุมชน ทั้งเด็กและผู้ใหญ่

3.เกิดการแลกเปลี่ยนสถานการณ์ต่างๆของชุมชน ที่เปลี่ยนแปลง ทั้งด้านทรัพยากร,วิถีชีวิตคนในชุมชน และการหาทางออกในการแก้ไขปัญหา

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

1.เยาวชนเกิดการเรียนรู้เรื่องราวชุมชนของตนเองและสร้างกระบวนการคิดอย่างสร้างสรรค์

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

เด็กเยาวชนทั้งหญิงและชาย อายุระหว่าง 8-12 ปี ประมาณ 10-20 คน ร่วมเก็บข้อมูลชุมชนจำนวน  6 ครั้ง ในการเก็บข้อมูลเก็บข้อมูลของชุมชน เช่น ประวัติความเป็นมาเรื่องราวของชุมชนป่าชิง ,ทรัพยากร ที่ดิน แหล่งนำ พืช ,ประเพณีวิถีวัฒนธรรม ความเชื่อตามหลักศาสนาพุทธและมุสลิม

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

มีข้อมูลของชุมชน เช่น ประวัติความเป็นมาเรื่องราวของชุมชนป่าชิง ,ทรัพยากร ที่ดิน แหล่งนำ พืช ,ประเพณีวิถีวัฒนธรรม ความเชื่อตามหลักศาสนาพุทธและมุสลิม ซึ่งมีทั้งที่เป็นภาพวาดและข้อมูลเอกสารจากการสัมภาษณ์

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

 

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

 

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

 

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

 

2.2 การใช้จ่ายเงิน

 

2.3 หลักฐานการเงิน

 

ผลรวม 0 0 2 0
ผลรวมทั้งหมด 2 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

1.กิจกรรมทำให้เด็กเรียนรู้เรื่องราวของชุมชนตนเอง ทั้งด้านประวัติศาสตร์ วิถีชีวิต ทรัพยากร

2.กิจกรรมบางประเด็น เช่น การทานข้าวร่วมกัน การลงพื้นที่เยี่ยมบ้าน ทำให้เกิดความสัมพันธ์ของคนในชุมชนทั้งเด็กและผู้ใหญ่ ที่สังคมปัจจุบันจะหาได้น้อยมาก

3.กิจกรรม เช่น การวาดภาพ ทำให้เด็กได้ฝึกการใช้ความคิดในเชิงสร้างสรรค์ และมีอิสระในการถ่ายทอดเรื่องราวผ่านภาพเขียน

สร้างรายงานโดย อารีย์ สุวรรณชาตรี