แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 2

รหัสโครงการ 56-00245
สัญญาเลขที่ 56-00-0377

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพ เยาวชนนักพัฒนา (ผลัดกันแลลูกเธอลูกฉัน)
รหัสโครงการ 56-00245 สัญญาเลขที่ 56-00-0377
ระยะเวลาตามสัญญา 1 เมษายน 2013 - 30 เมษายน 2014

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นางสาวอารีย์ สุวรรณชาตรี
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2 ว่าที่ ร.ต.หญิงใบเฟริ์น สุวรรณมณี
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 28 กุมภาพันธ์ 2014
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 28 กุมภาพันธ์ 2014
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นางสาวจิตนา บัวหนู 38/3หมู่ที่ 1 ตำบลป่าชิง อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา 90130 084-9995972

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

1 เพื่อสร้างความเข้าใจก่อให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วม ร่วมคิด ร่วมทำ ของผู้ใหญ่และเยาวชนในชุมชน

1.เด็กและเยาวชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีและลดละเลิก สารเสพติด ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย

2.มีเครือข่ายเฝ้าระวังเสพสารเสพติด

2.

สร้างกระบวนการคิดในการพึ่งพาตนเอง

1.มีพื้นที่ให้เด็กและเยาวชนได้แสดงออกในตัวตนของเขา

2.มีการสร้างงานเพื่อเป็นรายได้

3.

เพื่อเสริมสร้างกำลังใจให้เด็กและเยาวชน

1.มีพื้นที่ในการแสดงผลงานของเด็กและเยาวชน

2.เกิดการยอมรับในผลงานของเด็กและเยาวชน

3.ให้โอกาสเด็กและเยาวชนร่วมกับผู้ใหญ่เพื่อวางแผนพัฒนาชุมชน

4.

ติดตามและสนับสนุนการดำเนินงานโครงการโดยทีม สสส.และ สจรส.มอ.หาดใหญ่

1.การจัดทำรายงานส่ง เช่น ส1,ส.2,ส.3 และเอกสารการเงิน ง.1,ง.2 ในแต่ละงวด

2.การเข้าร่วมประชุม ร่วมกับ สสส.และสจรส.มอ.หาดใหญ่ ร้อยละ 75  ในการประชุม

5.

 

 

2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

ใช้หลักจิตวิทยาบำบัด กับเด็กเยาวชน ผู้ปกคลอง

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

การแข่งขันการงมหอย เป็นการสำรวจสายน้ำในชุมชน เพื่อสำรวจทรัพยากรในชุมชน

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

เด็กๆได้สำรวจคลองและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ชนิดของหอย เป็นสิ่งที่อยู่รอบๆตัวเขาแต่ไม่เคยสนใจเรียนรู้จนได้มาเรียนรู้กับเพื่อนๆทำให้เกิดความสนุกสนาน แทนเวลาปกติหากไม่มีกิจกรรมดังกล่าวเด็กๆก็จะเล่นเกมส์ และตามพี่ๆออกไปขี่รถนอกหมู่บ้าน ถือเป็นการเฝ้าระวังพฤติกรรมของเด็กๆด้วยเช่นกัน

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

เยาวชนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของการทำนาโดยการถ่ายทอดของครูภูมิปัญญาในชุมชน

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

เยาวชนและผู้ที่สนใจได้รับการเรียนรู้ในเรื่องของการผลิตข้าวแบบอินทรีย์ ในกรรมวิธีต่างๆในเรื่องของการเตรียมพื้นที่ การคัดเลือกเมล็ด

การเตรียมดิน วิธีการปลูกต่างๆ  ซึ่งในการทำกิจกรรมในครั้งนี้ ได้รับการสนับสนุนจากคนในชุมชนให้พื้นที่นาแก่เยาวชนในการปลูกข้าวครั้งต่อไปอีกด้วย

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

การเรียนรู้ในเรื่องของการทำนาข้าวอินทรีย์ซึ่งการผลิตข้าวอินทรีย์เป็นระบบการผลิตทางการเกษตรที่เน้นเรื่องของธรรมชาติเป็นสำคัญ
การผลิตข้าวอินทรีย์มีขั้นตอนการปฏิบัติเช่นเดียวกับการผลิตข้าวโดยทั่วไปจะแตกต่างกันที่ต้องหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีสังเคราะห์ในทุกขั้นตอนการผลิต ดั้งนั้นหากมีการเรียนรู้ที่จะอนุรักษ์ในเรื่องของการทำนาข้าวอินทรีย์ ก็จะทำให้ภูมิปัญญาในเรื่องนี้ได้รับการถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่นอีกต่อไป

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

ให้เด็กได้เรียนรู้วิถีชีวิตของคนที่บ้านป่าชิง และเรียนรู้การใช้ประโยชน์ของพื้นที่ให้เกิดมูลค่า โดยไม่ทำลายสภาพแวดล้อม

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

เด็กและเยาวชนผู้ที่สนใจเข้าร่วมเรียนรู้ในเรื่องของการทำข้าวเนี่ยวดำไร ริ่มจากการแทงสัก คือไม้กลมๆ เป็นคู่แทงลงในดินให้เป็นแถวก่อน หยอดเมล็ดข้าวลงไปประมาณ 3-5เมล็ด ส่วนข้าวเหนียวเราจะใส่ไว้ในกระบอกไม้ไผ่ สั้นๆ ยาว1ศอก ใช้เม็ดหยอดลงแล้วใช้กระบอกไม้ไผ่ทิ่มปิดหลุม โดยขั้นตอนการทำข้าวเหนี่ยวดำไร่ได้รับการถ่ายทอดจาก ป้ากลิ่น

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

เยาวชนได้รับความรู้ในเรื่องของการทำข้าวเหนี่ยวดำไร่ ได้ลงมือปฏิบัติในการทำข้าวเหนี่ยวดำ ได้บันทึกภาพการเจริญเติบโตของข้าวเหนียวดำ

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

ถ่ายทำสื่อ เพื่อเป็นสื่อการเรียนรู้ และเผยแพร่วัฒนธรรมที่ดีงามของท้องถิ่น

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

ถ่ายทำสื่อในเรื่องของการทำบุญวันสารทเดือนสิบ ซึ่งเป็นการทำบุญอุทิศส่วนกุศลให้แก่ปู่ย่าตายาย ญาติพี่น้องที่ได้ล่วงรับไปแล้ว

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

เยาวชนได้รับการถ่ายทอดเรื่องประเพณีวัฒนธรรมเนื่องในวันสารทเดือนสิบ พร้อมทั้งเรียนรู้การถ่ายทำสื่อเกี่ยวกับประเพณีวัฒนธรรมของชุมชน เพื่อเยาวชนรุ่นต่อไปได้มีความรู้ในเรื่องของประเพณี วัฒนธรรมของชุมชน

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

พัฒนาศักยภาพเยาวชนในการสื่อสารเรื่องราวของป่าชิงและพื้นที่ใกล้เคียง

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

อบรมพัฒนาศักยภาพเยาวชนในการสื่อสารเรื่องราวของป่าชิง และพื้นที่ใกล้เคียง โดยอบรมขั้นตอนการทำข่าว และแบ่งกลุ่ม เป็น 2 กลุ่มเพื่อดำเนินการถ่ายทำเรื่องราวของชุมชนที่ น้องๆสนใจ พร้อมทั้งให้ดำเนินการเขียนและปรับสคิปข่าว โดยได้รับการสนับสนุนจากวิทยากรในการให้คำแนะนำ ปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างถ่ายทำ วันที่ 2 เป็นขั้นของการลงเสียงและตัดต่อวีดีโอต่อจากกิจกรรมเมื่อวาน ทีมวิทยากร ทีมพี่เลี้ยงเข้ามาช่วยสนับสนุนสอนเทคนิคการตัดต่อและสอนการใช้โปรแกรมต่างๆ ทั้งอัปวีดีโอขึ้นยูทูป และการแชร์ลิงค์ไปยังเวปไซต์ต่างๆ

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

เยาวชนมีความรู้เรื่องการถ่ายทำสคิปข่าวเรื่องราวของชุมชน ร่วมถึงผู้รับผิดชอบโครงการได้มีเครื่องมือใหม่ๆในการนำมาใช้กับเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรม  เมื่อมีงานประเพณีในหมู่บ้านทีมสื่อที่ได้รับการอบรมก็จะดำเนินการถ่ายทำประเพณีต่างๆ ในชุมชนเพื่อนำเสนอแก่คนในชุมชน สามารถสร้างความประทับใจ และความภาคภูมิใจแก่คนในชุมชนและผู้ผลิตสื่อเอกกอีกด้วย

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

เข้าร่วมกิจกรรม เดินด้วยรักษ์ พิทักษ์ 2 ฝั่งเล

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

ร่วมกิจกรรม เดินด้วยรักษ์ พิทักษ์ 2 ฝั่งเล  พร้อมทั้งทำป้าย รณรงค์ การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ของคนป่าชิง

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

เด็กเยาวชน และชาวบ้านป่าชิงออกมาร่วมเดินรณรงค์ พร้อมทั้งทำป้ายกิจกรรม ทำให้คนในชุมชนตระหนักถึงการปกป้องทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชน ให้สามารถคงอยู่ถึงรุ่นลูกรุ่นหลาน

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

การเรียนรู้การทำนา เป็นโอกาสที่เด็กๆจะได้เรียนรู้ รากเหง้าของสังคมไทย วิถีชีวิตของชาวนา ความเรียบง่าย มานะอดทน และเห็นวิถีชีวิตพอเพียงแบบเป็นรูปธรรม

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

กิจกรรม นาอินทรีย์พื้นที่เรียนรู้ เป็นการเรียนรู้ของกลุ่มเด็กเยาวชนและผู้ที่สนใจเกี่ยวกับการทำนาอินทรีย์ ตั้งแต่กระบวนการการเตรียมพื้นที่ การคัดเลือกพันธ์ การหว่าน การถอนกล้า การดำ การเก็บเกี่่ยว ทำให้เด็กๆได้เรียนรู้และสนุกสนานไปในตัว การเรียนรู้ที่ไม่ได้มีเฉพาะในห้องเรียน แต่มาจากสิ่งรอบข้าง เกิดความเพลิดเพลิน กว่านั่งที่หน้าจอเล่นเกมส์ เพราะเขายังได้เล่นน้ำ ได้ดำนา เป็นการปฏิบัติที่ทำให้เกิดความสนุกสนานไปในตัว

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

การทำกิจกรรม นาอินทรีย์ พื้นที่เรียนรู้ ทำให้ชุมชนสามารถฟื่นฟู ขนบธรรมเนียมประเพณีของชุมชนในเรื่องของการซอแรง คือการช่วยกันทำ และผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันไป ในพื้นที่นา

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

เด็กเยาวชนสามารถทำกระทงเป็นของตนเองได้

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

เตรียมอุปกรณ์ สำหรับการทำกระทง  ช่วยกันออกแบบการทำกระทง ของตนเอง เพื่อลดค่าใช้จ่าย และการลดการเกิดจากจากโพม

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

เด็กและเยาวชนมีกระทงเป็นของตนเอง ที่สามารถนำไปลอยในวันลอยกระทงได้  ช่วยสร้างจิตสำนึกแก่เด็กและเยาวชนในการอนุรักษประเพณีวัฒนธรรม รวมถึงสร้างความภาคภูมิใจแก่เด็กและเยาวชนที่มีกระทงเป็นของตนเอง

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

เด็กและเยาวชนสามารถ ทำว่าวเป็นของตนเองได้

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

เตรียมอุปกรณ์สำหรับทำว่าว ไม้ไผ่ เชือก กระดาษ กาว

เด็กๆและเยาวชนทำการเหล่าไม่ไผ่เพื่อทำว่าว เป็นของตนเอง

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

การทำว่าวเป็นภูมิปัญญาอย่างหนึ่งของ บรรพบุรุษของเราตั้งแต่ครั้งโบราณที่ผ่านมา ซึ่งการเล่นว่าวจะต้องคำนึงถึงทิศทางลม เป็นการเล่นที่สนุกสนาน

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

การดำเนินโครงการสามารถทำกิจกรรมได้ครบทุกกิจกรรม แต่จำนวนผู้เข้าร่วมไม่ถึงเป้าที่ตั้งไว้

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

ผู้รับผิดชอบสามารถดำเนินกิจกรรมโครงการได้

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

สามารถทำรายงานประจำงวดได้ถูกต้อง

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

เป็นไปตามจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม

2.2 การใช้จ่ายเงิน

มีความถูกต้องตาม TOR และจำนวนผู้เข้าร่วม

2.3 หลักฐานการเงิน

มีความถูกต้องตาม TOR และจำนวนผู้เข้าร่วม

ผลรวม 0 0 2 0
ผลรวมทั้งหมด 2 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

เป็นไปตามแผนที่ได้ตั้งไว้ สามารถดำเนินกิจกรรมในงวดต่อไปได้

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

 

สร้างรายงานโดย อารีย์ สุวรรณชาตรี