แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 3

รหัสโครงการ 56-00245
สัญญาเลขที่ 56-00-0377

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพ เยาวชนนักพัฒนา (ผลัดกันแลลูกเธอลูกฉัน)
รหัสโครงการ 56-00245 สัญญาเลขที่ 56-00-0377
ระยะเวลาตามสัญญา 1 เมษายน 2013 - 30 เมษายน 2014

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นางสาวอารีย์ สุวรรณชาตรี
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2 ว่าที่ ร.ต.หญิงใบเฟริ์น สุวรรณมณี
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 20 พฤษภาคม 2014
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 15 มิถุนายน 2014
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นางสาว จินตหรา บัวหนู 38/3 หมู่ 1 ตำบลป่าชิง อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา 90130 084-9995972

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

1 เพื่อสร้างความเข้าใจก่อให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วม ร่วมคิด ร่วมทำ ของผู้ใหญ่และเยาวชนในชุมชน

1.เด็กและเยาวชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีและลดละเลิก สารเสพติด ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย

2.มีเครือข่ายเฝ้าระวังเสพสารเสพติด

2.

สร้างกระบวนการคิดในการพึ่งพาตนเอง

1.มีพื้นที่ให้เด็กและเยาวชนได้แสดงออกในตัวตนของเขา

2.มีการสร้างงานเพื่อเป็นรายได้

3.

เพื่อเสริมสร้างกำลังใจให้เด็กและเยาวชน

1.มีพื้นที่ในการแสดงผลงานของเด็กและเยาวชน

2.เกิดการยอมรับในผลงานของเด็กและเยาวชน

3.ให้โอกาสเด็กและเยาวชนร่วมกับผู้ใหญ่เพื่อวางแผนพัฒนาชุมชน

4.

ติดตามและสนับสนุนการดำเนินงานโครงการโดยทีม สสส.และ สจรส.มอ.หาดใหญ่

1.การจัดทำรายงานส่ง เช่น ส1,ส.2,ส.3 และเอกสารการเงิน ง.1,ง.2 ในแต่ละงวด

2.การเข้าร่วมประชุม ร่วมกับ สสส.และสจรส.มอ.หาดใหญ่ ร้อยละ 75  ในการประชุม

5.

 

 

2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

เด็กและเยาวชนมีทักษะในการเก็บข้าว

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

การเก็บข้าวก็เป็นอีกกิจกรรมหนึ่งที่ต่อเนื่องมาจาก กิจกรรมดำนา ซึ่งคนที่เข้ามาร่วมกระบวนการก็เป็นคนที่อาสาตัวเองมาร่วมอนุรักษ์วิถีการซอแรง ในกิจกรรมก็จะมีการพูดคุยเรื่องภูมิปัญญา และพิธีกรรมที่เกี่ยวกับการทำนา ตั้งแต่การแรกดำนา แรกเก็บข้าว ทำขวัญข้าว การไหว้เจ้าที่ การทำบุญเดือนห้า และมีการเล่าสู่กันฟังถึงกิจกรรมที่คนสมัยรุ่นพ่อ แม่ ทำกันมา เพราะกิจกรรมนี้มีคน 3 รุ่นเข้ามาเรียนรู้กระบวนการ ทั้งรุ่นแม่ รุ่นลูก และรุ่นหลาน

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

มีการพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดและวางแผนการทำนาในปีหน้า น้ารัตน์ เฑียรรัตน์ แก้วนะ อาสาจะสนับสนุนพื้นที่ทำนา”ห้องเรียน นาข้าว ”เพิ่มอีก 2 ไร่ เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับคนในชุมชน และคนต่างพื้นที่เข้ามาเรียนรู้

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

ต้องการให้เด็กๆ มาเรียนรู้ประยุกต์กับการเล่นที่สอดคล้องกับทรัพยากรในท้องถิ่น โดยการเล่นที่พัฒนาทักษะพัฒนาการคิด และสร้างจินตนาการให้เด้กๆ ได้เรียนรู้ของดีในท้องถิ่นเราและปรับตัวให้เข้ากับทรัพยากรในพื้นที่

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

เด็กออกเรียนรู้วิถีชีวิต คนบ้านเรากับนาข้าวมีความสำคัญอย่างไร เป็นคำถามที่เด็กๆวางไว้ก่อนออกลงพื้นที่ -ทำปี่ซังเข้า เด็กๆได้หัดทำและหัดเป่าปี่ซังข้าวโดยมีลุงรูญเป็นคนช่วยสอยการทำปี่ ปรับเสียงปี่ให้มีความสูงต่ำตามขนาดความใหญ่ ความสั้นยาวของต้นซัง เพื่อให้ได้เสียงที่หลากหลาย ทั้งเสียงต่ำเสียงสูง -มีการ สอนวาดรูปภาพเหมือนจากลุงรูญ เด็กๆรู้สึกตื่นเต้นเมื่อได้เป็นแบบให้ลุงรูญได้วาดรูปและเรียนรู้ทักษะการวาดรูปต่างๆจากลุงรูญ -ลงหาดินเหนียวในคลองเสือตาย แล้วปั้นดินเหนียวตามจินตนาการของแต่ละคน เด็กๆช่วยกันหาดินเหนียวมาตากแดด สักพักก็เอามานวดและแบ่งกันปั้น ทั้งสามกิจกรรมในวันนี้เด็กๆ สะท้อนให้เห็นว่า เราอยู่คู่กับธรรมชาติและทรัพยากรรอบตัวได้หากเราเปิดโอกาศให้ตัวเองเรียนรู้

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

เด็กๆมีกิจกรรมที่เสริมทักษะ ด้านศิลปะ ความคิดสร้างสรรค์เพิ่มขึ้น และเห็นคุณค่าของทรัพยากรในท้องถิ่นเพิ่มมากขึ้น พร้อมที่จะเรียนรู้ในกิจกรรมถัดไป เกิดความสนุกสนาน มีการแบ่งปัน ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

ติดตามประเมินผลการดำเนินงาน ตรวจสอบเอกสารการเงิน การลงข้อมูลในเว๊ปไซค์ เพื่อจัดเตรียมทำรายงานสรุปปิดโครงการ

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

ตรวจสอบเอกสารการเงิน  แก้ไขการลงข้อมูลในเว๊ปไซค์

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

ทางโครงการมีความรู้ความเข้าใจสามารถดำเนินการแก้ไขข้อมูลในเว๊ปไซค์  และสามารถเตรียมเอกสารสำหรับจัดทำรายงานสรุปปิดโครงการได้

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

ตรวจสอบเอกสารการเงิน และข้อมูลในเว็ปไซค์ เพื่อดำเนินการจัดทำรายงาน สรุปปิดโครงการ ประกอบด้วย

รายงานสรุปปิดโครงการ รายงานฉบับสมบูรณ์ (ส3)พร้อมไพล์ดิจิตอล

รายงานการติดตาม ส 2

แบบรายงานสรุปเมื่อสิ้นสุดโครงการระยะเวลาโครงการ ส4

รายงานการเงิน ง1 งวดที่ 2

รายงานการเงินสรุปเพื่อปิดโตรงการ ง2

สรุปผลประเมินโครงการ

สรุปข่าวกิจกรรม ภาพถ่ายพร้อมบรรยายใต้ภาพ

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

ผู้รับผิดชอบโครงการดำเนินการจัดทำรายงานสรุปปิดโครงการ รายงานฉบับสมบูรณ์ (ส3)พร้อมไพล์ดิจิตอล

รายงานการติดตาม ส 2

แบบรายงานสรุปเมื่อสิ้นสุดโครงการระยะเวลาโครงการ ส4

รายงานการเงิน ง1 งวดที่ 2

รายงานการเงินสรุปเพื่อปิดโครงการ ง 2

สรุปผลประเมินโครงการ

สรุปข่าวกิจกรรม ภาพถ่ายพร้อมบรรยายใต้ภาพ

และดำเนินการคืนเงินส่วนที่เหลือจากการดำเนินกิจกรรม

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

ทางโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการทำรายงานสรุปปิดโครงการ พร้อมดำเนินการแก้ไขรายงาน เพื่อเตรียมส่งรายงานสรุปปิดโครงการในครั้งต่อไป

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

การดำเนินกิจกรรมของโครงการ  มีจำนวนผู้เข้าร่วมในแต่ละกิจกรรมไม่ถึงเป้าที่ตั้งไว้

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

จะต้องพัฒนาศํกยภาพในการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่ได้กำหนดไว้

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

ทางโครงการมีการดำเนินกิจกรรมครบตาม TOR ที่ได้กำหนดไว้ แต่จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่กำหนดไว้ไม่ครบตามจำนวนที่ตั้งไว้

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

การบริหารการเงินเป็นไปตามจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม แต่ไม่ถึงจำนวนกลุ่มเป้าหมายจึงต้องดำเนินการคืนเงินส่วนที่เหลือ

2.2 การใช้จ่ายเงิน

การใช้จ่ายจะต้องมีการคืนเงินเพราะจำนวนผู้เข้าร่วมไม่ถึงเป้าที่ตั้งไว้

2.3 หลักฐานการเงิน

หลักฐานการเงินสามารถตรวจสอบได้

ผลรวม 0 0 5 0
ผลรวมทั้งหมด 5 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

สามารถดำเนินการจัดทำรายงานสรุปปิดโครงการได้

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

สามารถดำเนินการสรุปปิดโครงการได้ พร้อมนำส่งเอกสารสรุปปิดโครงการได้

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

 

สร้างรายงานโดย Nongluk_R