directions_run

อาสาสมัครฝ่ายพลเรือน เฝ้าระวังเตือนภัยพิบัติเพื่อสุขภาพ

assignment
บันทึกกิจกรรม
ประชุมผลการสรุปของคณะทำงานพร้อมกับพี่เลี่ยง12 พฤษภาคม 2014
12
พฤษภาคม 2014รายงานจากพื้นที่ โดย pradid
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

สอ. ประดิษฐ์ มูสิกะสงค์ ผู้ดำเนินโครงการ ได้เปิด VDO ภาพรวมของกิจกรรมในโครงการที่ผ่านมาเพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม โครงการดูและมีพี่เลี้ยงได้ให้คำแนะนำการจัดทำบัญชีของโครงการในงวดที่ 3 พร้อมตรวจสอบการทำบัญชีรายรับรายจ่ายของโครงการพร้อมให้คำแนะนำในการรายงานโครงการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สมาชิก อปพร.และผูดำเนินโครงการ พี่เลี้ยง สสส.ได้ทำความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดโครงการ และเจ้าหน้าที่การเงินได้ปรับการเขียนใบรับเงิน ใบสรุปการเงินของโครงการให้ถูกต้อง

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 13 คน จากที่ตั้งไว้ 11 คน
ประกอบด้วย

คณะทำงานโครงการและสมาชิก อปพร พร้อมพี่เลี้ยง จำนวน 11 คน

จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงานโครงการ3 พฤษภาคม 2014
3
พฤษภาคม 2014รายงานจากพื้นที่ โดย เสณี จ่าวิสูตร
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ผู้รับผิดชอบโครงการและเจ้าหน้าที่การเงินร่วมกันสรุปผลการดำเนินงานโครงการเพื่อเป็นเอกสารประกอบรายงานฉบับสมบูรณ์

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้รายงานฉบับสมบูรณ์พร้อมปิดโครงการ และได้จัดทำรายงานผ่านเว็ปไซต์ที่สมบูรณ์ เอกสารการเงินสมบูรณ์ครบถ้วน

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 3 คน จากที่ตั้งไว้ 3 คน
ประกอบด้วย

ผู้รับผิดชอบโครงการ เจ้าหน้าที่การเงิน และคณะทำงานโครงการ

จัดทำป้ายสถานที่นี้ปลอดบุหรี่3 พฤษภาคม 2014
3
พฤษภาคม 2014รายงานจากพื้นที่ โดย เสณี จ่าวิสูตร
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ผู้รับผิดชอบโครงการจัดทำป้ายรณรงค์การสูบบุหรี่กับผู้เข้าร่วมดำเนินกิจกรรมของโครงการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ป้ายที่จัดทำขึ้นได้ประชาสัมพันธ์และรณรงค์ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมของโครงการได้รักษาสุขภาพ

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 1 คน จากที่ตั้งไว้ 1 คน
ประกอบด้วย

ผู้รับผิดชอบโครงการ

จัดทำภาพถ่ายการดำเนินงานกิจกรรมของโครงการ3 พฤษภาคม 2014
3
พฤษภาคม 2014รายงานจากพื้นที่ โดย เสณี จ่าวิสูตร
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ผู้รับผิดชอบโครงการไดจัดทำภาพถ่ายการดำเนินงานกิจกรรมของโครงการเพื่อเป็นเอกสารประกอบรายงานฉบับสมบูรณ์

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้รวบรวมภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรมตลอดการดำเนินงานโครงการ

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 1 คน จากที่ตั้งไว้ 1 คน
ประกอบด้วย
สรุปบทเรียนปิดโครงการ3 พฤษภาคม 2014
3
พฤษภาคม 2014รายงานจากพื้นที่ โดย pradid
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

สมาชิกคณะทำงานโครงการร่วมกันแสดงความคิดเห็นในทุกกิจกรรมของโครงการที่ผ่านมาเพื่อร่วมกันสรุปปิดโครงการและเล็งเห็นผลที่เกิดขึ้นจากการทำกิจกรรมของโครงการ ณ ห้องประชุม อบต.เขาชัยสน เมื่อ 3 พ.ค. 57

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สมาชิกคณะทำงานโครงการเกิดความสามัครคีเพิ่มขึนและผลจากการปฏิบัติโครงการของสมาชิกทำให้กลุ่มสมาชิก อปพร ในตำบลอื่นๆให้ความสนใจและคิดที่จะทำโครงการนี้เช่นกัน

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 10 คน จากที่ตั้งไว้ 10 คน
ประกอบด้วย

สมาชิกคณะทำงานโรงการ

เวทีเผยแพร่กิจกรรมฟื้นฟูภัยพิบัติ22 มีนาคม 2014
22
มีนาคม 2014รายงานจากพื้นที่ โดย pradid
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

มีการจัดตนิทัศการเผยแพร่กิจกรรม ในบริเวณสถานที่จัดกิจกรรม เริ่มกิจกรรม เวลา 10.00 น.ถึง    เวลา 23.00 น.ของทุกวัน จัดจำนวน  หรือ 5 ครั้ง  ครั้งที่ 1 วันที่  22 มี.ค.57 ครั้งที่ 2 วันที่ 23 มี.ค.57 ครั้งที่ 3 วันที่ 24 มี.ค.57ครั้งที่ 4 วันที่  25 มี.ค.57 ครั้งที่ 5 วันที่  26 มี.ค. 57ณ บริเวณบ่อน้ำร้อนเขาชัยสน มีการจัดรบการทำงานอย่างเป็นระบบ โดยการแบ่งเป็นกลุ่ม คือ กลุ่มต้อนผู้มาร่วมกิจกรรม  กลุ่มของรางวัลจากการจับนาวพาโชค  กลุ่มรักษาความปลอดภัย  กลุ่มงานจราจร ได้เป็นระบบ โดยมีวิทยุสื่อสารที่ได้จัดไว้ของ อพปร.ตามโครงการโดยแต่ละเครื่องแต่ละคนได้จัดซื้อกันมาเองตามความสมัครใจ ได้สื่อสารกันในบริเวณจัดกิจกรรม มีวิทยากร จาก สมาชิก อปพร.ได้ฝึกการพูดเชิญชวนประชาชน และนักจัดรายการเข้ามามีส่วนร่วมในการเชิญชวนประชาชนในแต่ละครั้ง โดยจัดให้มีร้านค้าต่างๆ ของชาวบ้านที่เข่้ามาร่วมกิจกรรม ในการเผยแพร่กิจกรรมครั้งนี้ มีป้ายซึ่งใส่ภาพกิจกรรมต่างๆ ให้ชาวบ้านดู  ทาง อปพร.ก็ได้จัดให้มีการทำ นาวาพาโชค เพื่อเป็นทุนไว้จัดกิจกรรมในการจัดหาซื้อรถยนต์กู้ภัยไว้ ที่ศูนย์เตือนภัยพบัติ ด้วย ที่สำคัญเป็นการเชิญชวนชาวบ้านให้มาร่วมกิจกรรมที่ให้ความสนใจ และได้ดูการจัดกิจกรรมที่ผ่านมาของโครงการ และมีส่วนร่วมมืในการจัดกิจกรรมเป็นอย่างดี กลุ่มแกนนำต่าง ได้มีความรู้ในการจัดกิจกรรมและฝึกการวางแผนงานโดยได้แบ่งมอบหน้าที่ในการรักษาความปลอดภัยให้กับ ชาวบ้านหรือภาคีต่างๆ มีนายก อบต.และคณะผู้บริหารได้เยี่ยมชม การจับฉลากให้กับประชาชนที่เข้าร่วมจับฉลากนาวาพาโชค  ที่เข้ามาดูกิจกรรม ทั้ง 5 ครั้ง มีหน่วยงานต่างๆ บริษัท ห้างร้าน และประชาชนให้ความร่วมมือโดยการนำสิ่งของ เช่น รถจักรยาน หม้อหุ้งข้าว พัดลม มาบริจากให้กับ สมาชิก อปพร.เป็นของรางวัลในการเข้าชมกิจกรรม รายชื่อสมาชิกที่เข้าร่วม 1.นาย คล่อง ชูแจ่ม  2.นายใจ  สังนก  3.นาง  อุบล  ยังยืน  4.นาย  บุญเติม  สงขาว  5.นาย  เลียบ  ขุนคำแหง  6.น ส วิลาศ  พตพันธ์เลิศ  7.นาง  สมทรง  เอียดเส้ง  8.นาย  บุญเสริม  ทิพย์ขุนราช  9. นาย  แฉล้ม  รองผล  10.นาย  วิเชียร  ซุ้ยขาว    11.นาย  บุญร่วม  สงไข่ 12.นาย  สุเมท  โยธารักษ์  13. นาง  อะมีน๊ะ  เหมือนกู้ 14.ส อ ประดิษฐ์  มูสิกะสงค์    15.น ส สุนารี  บุญรัตน์    16.นาง กิตติกา  ทองเมฆ    17.น ส ประทุม  หนูป่าน    18.นาย  สุทิน  คงเอียด    19.นาย  สาคล  ไผทอง  20.นาง  น้อย  เทียบพุฒ    21. น ส ศิริณี  คงขาว    22. นาย  สมชาย  โรจชะนะ 23.นาง  สะหรอ  บุตรรักษ์  24.นาย  จวน  นวลแป้น  25.นาย  สุกิตด์ พรหมณี    26.นาย  เอกลักษณ์  บุญมาก    27. นาย  ประพันธ์  ชูรอง    28.นาย นิพล    สุกใส  29.นาย ลั่น  อินฉ่ำ    30.นาย  สุวรรณา  ดำแก้ว

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • สมาชิกและประชาชนผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รู้วิธีการและ  ปรับตัวให้ทันต่อเหตุการณ์
  • ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม
  • ได้เผยแพร่โรงการที่ได้รับการสนับสนุนจาก สสส.
circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 30 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย

สมาชิกกลุ่ม อปพร จำนวน 30 คน และประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมอีก ครั้งละ 100 คน จำนวน 5 ครั้ง

ฝึกซ้อมการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บจากภัยพิบัติ การจราจร11 มกราคม 2014
11
มกราคม 2014รายงานจากพื้นที่ โดย pradid
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กิจกรรมนี้ดำเนินการ จำนวน 3 ครั้ง ครั้งที่ 1-3 วันที่  11-13 ม.ค. 57สมาชิกได้ทำการฝึกการเคลื่อนย้ายผู้บาทเจ็บจากภัยพิบัติ โดยการขนย้ายด้วยเปลสนาม ที่ทางหน่วยกู้ภัยได้มาให้การสนับสนุนในการจัดกิจกรรม พร้อมด้วย นายประกิจ  จิตพิทักษ์ อสม.ที่เข้าร่วมกิจกรรมจากตำบลโคกสัก อ.บางแก้ว มารวมด้วย

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรม สามารถปฏบิติได้ตามแผนกิจกรรม ดูจากการฝึกซ้อม

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 30 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย

มีสมาชิก อปพร.เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 30 คน

จัดทำเครื่องหมายจุดเสียงภัยพิบัติ7 มกราคม 2014
7
มกราคม 2014รายงานจากพื้นที่ โดย pradid
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

สมาชิก อปพร.ได้ลงพื้นที่  ที่ได้สำรวจจุดเสียงภัยไว้ โดยการไปตามหมู่บ้านและเส้นทางที่เคยเกิดภัยพิบัติ ที่ผ่านมา-

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

อาสาสมัครเครือข่ายเฝ้าระวังเตือนภัยเข้าใจเครื่องหมายและจุดเสี่ยงที่ร่วมกันกำหนด

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 30 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย

1.นาย คล่อง ชูแจ่ม
2.นายใจ  สังนก
3.นาง  อุบล  ยังยืน
4.นาย  บุญเติม  สงขาว
5.นาย  เลียบ  ขุนคำแหง
6.น ส วิลาศ  พตพันธ์เลิศ
7.นาง  สมทรง  เอียดเส้ง
8.นาย  บุญเสริม  ทิพย์ขุนราช
9. นาย  แฉล้ม  รองผล
10.นาย  วิเชียร  ซุ้ยขาว
11.นาย  บุญร่วม  สงไข่
12.นาย  สุเมท  โยธารักษ์
13. นาง  อะมีน๊ะ  เหมือนกู้
14.ส อ ประดิษฐ์  มูสิกะสงค์
15.น ส สุนารี  บุญรัตน์
16.นาง กิตติกา  ทองเมฆ
17.น ส ประทุม  หนูป่าน
18.นาย  สุทิน  คงเอียด
19.นาย  สาคล  ไผทอง
20.นาง  น้อย  เทียบพุฒ
21. น ส ศิริณี  คงขาว
22. นาย  สมชาย  โรจชะนะ
23.นาง  สะหรอ  บุตรรักษ์
24.นาย  จวน  นวลแป้น
25.นาย  สุกิตด์ พรหมณี
26.นาย  เอกลักษณ์  บุญมาก
27. นาย  ประพันธ์  ชูรอง
28.นาย นิพล    สุกใส
29.นาย ลั่น  อินฉ่ำ
30.นาย  สุวรรณา  ดำแก้ว

เข้าร่วมประชุมกับ สสส ในพื้นที่ๆ สสส จัดขึ้น30 สิงหาคม 2013
30
สิงหาคม 2013รายงานจากพื้นที่ โดย pradid
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

มีการฝึกอบรมวิธีการเปิดเว็บและวิธีการรายงานการทำกิจกรรมตามโปรแกรมตนใต้สร้างสุขโดยมีคณะทำงานในส่วนของเลขาได้มีการปฎิบัติการจัดทำรายงานผ่านอินเตอร์เน็ต คือ นางสาวสุนารี  บุญรัตน์ และมีคณะทำงานที่เข้าร่วมรับฝังอีก 4 คน คือ

  1. นายสุทิน  คงเอียด รองประธาน
  2. นางสาวศิริณี  คงขาว  ประธาน
  3. สิบเอกประดิษฐ์  มูสิกะสงค์    ที่ปรึกษา
  4. นายบุญเติม  สงขาว อปพร
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สามารถที่จะเปิดโปรแกรมและรายงานผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการใด้

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 3 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย
สำรวจจุดเสี่ยงภัยพิบัติ25 สิงหาคม 2013
25
สิงหาคม 2013รายงานจากพื้นที่ โดย pradid
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

มีสมาชิก อปพร. ลงสำรวจจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่ และสามารถให้ข้อมูลเกี่ยวกับภัยพิบัติต่างๆในที่เกิดเหตุในท้องที่ๆผ่านมาได้ มีจำนวนสมาชิก อปพร. ที่เข้าร่วม จำนวน 2 ครั้งๆ ละ 25 คน

  1. นายสุเมท โยธารักษ์
  2. นายคล่อง  ชูแจ่ม
  3. นายบุญเสริม  ทิพย์ขุนราช
  4. นายสุกิตด์  พรหมณี
  5. นายวิเชียร  ซุ้ยขาว
  6. นายแฉล้ม  รองพล
  7. นายเลียบ  ขุนกำแหง
  8. นางอะมิน๊ะ  เหมือนกู้
  9. นายบุญเติม  สงขาว
  10. นายสุทิน  คงเอียด
  11. นายบุญร่วม  สงไข่
  12. นายใจ  สังนก
  13. นางสมทรง  เอียดเส็ง
  14. นางอุบล  ยั่งยืน
  15. นางสาววิลาศ  พตพันธ์เลิศ
  16. นายประพันธ์  ชูรอง
  17. นายสากล  ไผ่ทอง
  18. นายสมชาย  โรจชะนะ
  19. นางสะหรอ  บุตรรักษ์
  20. นายจวน  นวลแป้น
  21. นายเอกลักษณ์  บุญมาก
  22. นางสาวศิริณี  คงขาว
  23. นางกิตติกา  ทองเมฆ
  24. นางสาวประทุม  หนูปาน
  25. นางน้อย  เทียบพุฒ

ภาคีและคณะทำงานโครงการที่เข้าร่วมมีทั้งหมด 5 คน คือ

  1. สิบเอกประดิษฐ์  มูสิกะสงค์  ที่ปรึกษาโครงการ
  2. นายบุญล้อม  ผอมขวัญ  วิทยากร
  3. นางสาวสุนารี  บุญรัตน์  เลขา
  4. นายสันทิฎฐ์  อินทร์ด้วง  วิทยากร
  5. นางปิยะวรรณ  ชูแสง  เลขาสภาองค์กรชุมชนตำบลเทศบาลเขาชัยสน

ข้อมูลภัยพิบัติที่สมาชิกแจ้งมีดังนี้ จะต้องมีการจัดทำป้ายเพื่อแจ้งให้ชาวบ้านได้รับทราบเกี่ยวกับจุดเสียงภัยตามหมู่บ้านต่างๆ และได้มีการเล่าถึงบทเรียนของภัยพิบัติที่ผ่านมา

  1. เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2554 เกิดน้ำท่วมใน หมู่ที่.4 อ.เขาชัยสนมีน้ำท่วมหนักประมาณ 6วันทำให้สัตว์เลี้ยงของชาวบ้านเสียหายมากเพราะน้ำระบายไม่ทัน ไก่ตายประมาณ 6,000 ตัว เป็ดประมาณ 5,000 ตัว หมูประมาณ 300 ตัว วัวประมาณ 6 ตัว ชาวบ้านวัดใหม่มีน้ำท่วมทั้งหมู่บ้าน
  2. หมู่ 9 บ้านโคกยา ในปี พ.ศ.2554 หมู่บ้านโคกยา ท่ากุน มีน้ำท่วมมากไม่สามารถออกจากบ้านได้เพราะมีน้ำไหลเชี่ยว มีน้ำลึกระดับเหนือศรีษะน้ำท่วมขังประมาณ 3 วัน
  3. หมู่ที่ 13 บ้านนางหลงในปี พ.ศ. 2555 มีน้ำท่วมขังยาวนานเป็นเวลา 1 สัปดาห์โดยเฉพาะทางด้านฝั่งริมคลองน้ำจะดันขึ้นมาขังทั่วทั้งพื้นที่เนื่องจาก ถนนสูง คูน้ำระบายน้ำไม่ทัน มีท่อระบายน้ำที่เล็กเกินไป โดยเฉพราะวัดนางหลงน้ำจะท่วมอยู่เป็นระยะเวลานานที่สุด
  4. หมู่ที่ 6 ตำบลจองถนนมีน้ำท่วมเพราะสร้างถนนขวางทางน้ำมีน้ำทะเลหนุนสูงขึ้นทางน้ำบริเวณริงคลองมีต้นหญ้าขึ้นเต็มพื้นที่ ลมพัดต้นยางพาราล้มเสียหายเป็นจำนวนมาก
  5. หมู่ที่ 8 บ้านหัวหรั่งเมื่อฝนตกหนักน้ำก็จะท่วมที่แม่เปียะน้ำระบายออกไม่คลองตัวทำให้น้ำท่วมถนนรถไม่สามารถผ่านทางได้สะดวกบางครั้งมีน้ำท่วมขังหลายวันโดยส่วนมากจะท่วมทุกปี
  6. หมู่ที่ 12 ตำบลเขาชัยสน มีน้ำท่วมเพราะมีการถมที่ของนายทุนและอยู่ในเขตที่ติดกับถนนเอเซีย ซึ่งตอนฝนตกถนนจะลื่นมากมีรถชนและพริกคว่ำเป็นประจำวันละหลายๆ คันในบริเวณใกล้กัน
  7. หมู่ที่ 3 บ้านออกเขาชัยสน ได้มีหินตกหล่นจากภูเขาซึ่งจะมีเกือบทุกปีบริเวณทางผ่านถนนสายออกเขาตรงถ้ำโนราและถ้ำควาย ต้องตั้งป้ายบอกจุดเสี่ยง
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สมาชิกสามารถบอกจุดที่เกิดเหตุที่ผานมาในอดีต ในพื้นที่ในหลายหมู่บ้านได้ ทั้งเป็นภัยที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและภัยที่เกิดขึ้นจากการกระทำของมนุษย์

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 30 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย
ให้ความรู้เรื่องภัยพิบัติ ทบทวนบทเรียนด้านความรู้และความพร้อมของสมาชิก16 สิงหาคม 2013
16
สิงหาคม 2013รายงานจากพื้นที่ โดย pradid
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ฝึกการแจ้งเหตุระหว่างเกิดภัย ทบทวนบทเรียนด้านความรู้และความพร้อมของสมาชิก และการใช้ ว.ต่างๆที่เกี่ยวกับการสื่อสาร มีการจัดทำกิจกรรมทั้งหมด 3วัน มีสมาชิก อปพร. เข้าร่วมอบรมทั้งหมด  30 คน มีการบรรยายถึงเหตุการณ์จริงที่ได้บันทึกไว้เป็นวีดีโอเปิดให้สมาดูเกี่ยวกับการเกิดภัยพิบัติที่ผ่านมา จากแหล่งข่าว มีสมาชิก อปพร. ที่เข้าร่วม 25 คนคือ

  1. นายสุเมท โยธารักษ์
  2. นายคล่อง  ชูแจ่ม
  3. นายบุญเสริม  ทิพย์ขุนราช
  4. นายสุกิตด์  พรหมณี
  5. นายวิเชียร  ซุ้ยขาว
  6. นายแฉล้ม  รองพล
  7. นายเลียบ  ขุนกำแหง
  8. นางอะมิน๊ะ  เหมือนกู้
  9. นายบุญเติม  สงขาว
  10. นายสุทิน  คงเอียด
  11. นายบุญร่วม  สงไข่
  12. นายใจ  สังนก
  13. นางสมทรง  เอียดเส็ง
  14. นางอุบล  ยั่งยืน
  15. นางสาววิลาศ  พตพันธ์เลิศ
  16. นายประพันธ์  ชูรอง
  17. นายสากล  ไผ่ทอง
  18. นายสมชาย  โรจชะนะ
  19. นางสะหรอ  บุตรรักษ์
  20. นายจวน  นวลแป้น
  21. นายเอกลักษณ์  บุญมาก
  22. นางสาวศิริณี  คงขาว
  23. นางกิตติกา  ทองเมฆ
  24. นางสาวประทุม  หนูปาน
  25. นางน้อย  เทียบพุฒ

ภาคีและคณะทำงานโครงการที่เข้าร่วมมีทั้งหมด 5 คน คือ

  1. สิบเอกประดิษฐ์  มูสิกะสงค์  ที่ปรึกษาโครงการ
  2. นายบุญล้อม  ผอมขวัญ  วิทยากร ได้อธิบายถึงวิธีการใช้วิทยุสื่อสาร
  3. นางสาวสุนารี  บุญรัตน์  เลขา
  4. นายสันทิฎฐ์  อินทร์ด้วง  วิทยากรได้อธิบายถึงการพูดวิทยุ และข้อกฎหมายต่างๆ
  5. นางปิยะวรรณ  ชูแสง  เลขาสภาองค์กรชุมชนเทศบาลเขาชัยสน เจ้าร่วมสังเกตุการ

รวม 30 คน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

นักวิทยุสื่อสาร สามารถพูดคุย คอบรับ การรับ – ส่งข่าวได้เป็นส่วนมากและอยู่ในระหว่างการฝึกซ้อมการแจ้งเหตุให้กับศูนย์รับ

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 30 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย
จัดตั้งศูนย์รับแจ้งเหตุเตือนภัยพิบัติ8 สิงหาคม 2013
8
สิงหาคม 2013รายงานจากพื้นที่ โดย pradid
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

สมาชิกช่วยกันติดตั้งเสาอากาศวิทยุในการรับส่งสัญญาณจากสมาชิก มีสมาชิก ต.หานโพธฺ์ เข้าร่วมช่วยในการยกเสาอากาศ รับ - ส่ง สัญญาณ และได้มีการรับแจก วิทยุสื่อสารเครื่องแดง ให้กับสมาชิก พร้อมกับติดตั้งเครื่องประจำสถานีเตือนภัยไว้ 1 เครื่อง ขนาด 10 วัต ส่วนเครื่อมืองถือที่ให้กับสมาชิกเป็นเครื่อง ขนาด 5 วัต จำนวน สมาชิกที่รับเครื่องไว้เพื่อแจ้งเหตุเตือนภัยพิบัติจำนวน 15 คน ความถี่ที่ตั้งไว้ในการ รับ-ส่ง เหตภัยพิบัติ คือ ช่อง 75 ความถี่ 245925 mhz.

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีศูนย์วิทยุรับแจ้งเหตุตามแผนที่ตั้งไว้จำนวน 1 แห่ง และสามารถรับส่งสัญญาณได้จริง มีสมาชิกประจำศูนย์ ผลัดเปลี่ยนกัน วันละ 2 คน ใช่องความถี่ในการ รับ-ส่งเหตภัยพิบัติ คือ 245925 mhz.

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 15 คน จากที่ตั้งไว้ 15 คน
ประกอบด้วย
สร้างความเข้าใจคณะทำงาน7 สิงหาคม 2013
7
สิงหาคม 2013รายงานจากพื้นที่ โดย pradid
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ได้มีการประชุมเพื่อสร้างความเข้าใจ ในการทำกิจกรรมที่คณะทำงานและสมาชิก อปพร. ทุกคนจะต้องรับรู้ เพื่อที่จะช่วยกันขับเคลื่อนการทำกิจกรรมของโครงการต่อไปการประชุมในการจัดกิจกรรม ครั้งที่ 1  ณ ที่ห้องประชุม อบต.เขาชัยสน  วันที่ 7 สิงหาคม  2556 โครงการ  “อาสมัครฝ่ายพลเรือน เฝ้าระวังเตือนภัยพิบัติเพื่อสุขภาพ"

สิบเอกประดิษฐ์ มูสิกะสงค์ ได้กล่าวเรื่องการจดแจ้งสภาองค์กรชุมชนเมื่อปี  พ ศ.2552  ก็พยายามที่จะหางบประมาณมาให้กลุ่มต่างๆได้จัดทำเป็นแผนงาน ที่ผ่านมาก็ได้ สมาชิก 7 หมู่บ้านที่ได้เข้ามาเป็นสมาชิก ซึ่ งบประมาณครั้งล่าสุดก็ได้มีการจัดทำโครงการสำรวจข้อมูลที่ดินอยู่ในระหว่างการดำเนินการ และต่อมาก็ได้มีการเสนอโครงการเพิ่มขึ้นมาอีก 1 โครงการ โดยสิบเอกประดิษฐ์ มูสิกะสงค์ ได้มาพูดคุยปรึกษาหารือกับ ประธาน อปพร.น.ส.ศิริณี คงขาว และ รองประธาน นายสุทิน  คงเอียด ถึงเรื่องปัญหาของ อ พ ป ร.ที่ยังไมมีอุปกรณ์ในการสื่อสารและได้ร่วมกันเสนอโครงการขึ้นมาเพื่อที่จะให้สมาชิกมีการทำกิจกรรมร่วมกันมากขึ้นโดยงบประมาณที่ได้มานั้นทาง สสส.ได้แบ่งงบประมาณออกเป็น 3 งวดและในแต่ละงวดต้องใช้จ่ายเงินให้เป็นไปตามกิจกรรมที่ได้เสนอให้กับ สสส.สมาชิกที่รับเครื่องมือสื่อสารไปแล้วนั้นสามารถที่จะใช้อุปกรณ์นั้นๆให้เกิดประโยชน์ และการจัดกิจกรรมเป็นการปฏิบัติตามภารกิจดังนี้ ภารกิจที่ 1 เพื่อสร้างความเข้าใจ ภารกิจที่ 2การตั้งศูนย์รับแจ้งเหตุเรื่องภัยพิบัติโดยจะจัดตั้งศูนย์รับแจ้งเหตุที่ บ่อน้ำร้อน การจัดตั้งวิทยุชุมชนในการกระจายข่าวต่างๆ  ณ บ้านเลขที่ 111หมู่ที่ 3 ต.เขาชัยสน อ.เขาชัยสน จ.พัทลุง รวมถึง การให้ความรู้เรื่องภัยพิบัติ ทบทวนบทเรียนและความพร้อมของสมาชิกก่อนที่จะมีการใช้วิทยุปฏิบัติสื่อสารจริง ตลอดถึงการสำรวจจุดเสี่ยงภัยในตำบลเขาชัยสน เช่นภัยพิบัติน้ำท่วม  ทางโค้งอันตราย ภูเขาถล่ม ฯลฯ  การฝึกซ้อมช่วยเหลือผู้ที่บาดเจ็บจากภัยพิบัติในทุกๆเรื่องและในการฝึกซ้อมกิจกรรมนั้นก็ได้เชิญ ทางสำนักงานนายก อ บ ต. หน่วยงานจากโรงพยาบาล และผู้ใหญ่บ้านมาร่วมกันทำกิจกรรมด้วย มีการจัดเวทีเผยแพร่กิจกรรม จำนวน 5 ครั้ง เพื่อที่จะให้ อ พ ป ร.ออกไปแสดงความคิดเห็น และเผยแพร่กิจกรรมที่ได้ดำเนินผ่านมาให้สังคมได้รับทราบ กิจกรรมสุดท้ายก็จะเป็นการสรุปบทเรียนในสิ่งที่ทำมานั้น ในระยะเวลา 1 ปี นั้นว่าผลจากที่ได้ทำกิจกรรมนั้นก่อให้เกิดผลประโยชน์มากน้อยเพียงใดและในการทำกิจกรรมนั้นสมาชิกแต่ละคนเป็นอย่างไรให้ความร่วมมือหรือไม่และเครื่องมือสื่อสารที่รับไปแล้วได้ใช้ให้เกิดประโยชน์มากน้อยเพียงใดในการทำกิจกรรมทุกกิจกรรม

จุดประสงค์สำคัญคือต้องการที่จะให้กลุ่มสมาชิก อ พ ป ร. มีความเข้มแข็งมีความรักสามัคคี ปรองดองกัน ในเรื่องของการทำกิจกรรมนั้น สิบเอกประดิษฐ์ มูสิกะสงค์ ก็ได้มาปรึกษาท่านหัวหน้าป้องกันท่านก็เห็นด้วยกับโครงการนี้เพื่อเป็นการที่จะให้ชาวบ้านช่วยเหลือตนเองและเป็นการช่วยเหลือหน่วงงานทางราชการอีกทางหนึ่ง

และในที่ประชุมก็ได้เชิญท่านนายก อ บ ต. เขาชัยสน มาร่วมประชุมเพื่อที่จะให้ข้อคิดเห็นและแนะนำแนวทางในการทำงานให้กับสมาชิก อ พ ป ร.โดยจะเป็นแนวทางเกี่ยวกับการช่วยป้องกันสาธารณภัยเพื่อช่วยกันปกป้องสังคมอยู่ตลอดเวลา  และสิบเอกประดิษฐ์ มูสิกะสงค์ ก็ได้เสนอให้สมาชิกช่วยเสนอคณะทำงานกองเลขาที่จะมาคอยขับเคลื่อนงานในการทำกิจกรรมแต่ละครั้ง ที่ประชุมได้เสนอบุคคลต่อไปนี้ คือ

  1. นางสาว ศิริณี  คงขาว ประธานคณะทำงาน
  2. นาย สุทิน คงเอียดคณะทำงาน  ผู้รับผิดชอบโครงการ
  3. สิบเอกประดิษฐ์ มูสิกะสงค์ คณะทำงาน ที่ปรึกษาโครงการรับผิดชอบการเบิกจ่ายเงิน
  4. นาย บุญล้อม  ผอมขวัญ คณะทำงาน วิทยากร/ช่างภาพ
  5. นางสาว สุนารี บุญรัตน์ คณะทำงาน เลขา/การเงิน
  6. นายบุญเติม  ส่งขาว คณะทำงานประสานงาน
  7. นายวิเชียร  ซุ้ยขาวคณะทำงาน ฝ่ายประชาสัมพันธ์
  8. สมาชิก อปพร.ทุกคนเป็น  คณะทำงาน
  9. นายนิพันธ์  เมืองสง นายกองค์การบริหารส่วนตำบลเขาชัยสน เป็นที่ปรึกษาและให้การสนับสนุน
  10. นายพรโชค  จันทร์เหลือง ป้องกันฝ่ายพลเรือน อบต.เขาชัยสน ให้การสนับสนุนและเป็นที่ปรึกษา

ในส่วนของวิทยุสื่อสาร นั้นก็ได้มีการเสนอในที่ประชุม 2ข้อคือ  สมควรที่จะให้กับสมาชิกที่ได้มาประชุมในวันที่ 7ส.ค. ทั้งหมด    สมควรที่จะต้องกระจ่ายให้กับทุกหมู่บ้านก่อน  มติที่ประชุมก็ได้เสนอให้กับสมาชิกที่ได้มาประชุมในวันที่ 7ส.ค.ก่อน  หลักฐานในการขอรับวิทยุสื่อสาร สำเนาทะเบียนบ้าน  สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน กฎกติกาในการใช้วิทยุสื่อสารห้ามนำไปในวงเหล้า    เมื่อได้ลาออกจาก อ พ ป ร.ต้องคืนเครื่องกลับทันทีเพื่อให้สมาชิกคนอื่นได้ใช้ต่อไป ห้ามใช้ส่วนตัวต้องใช้ระบบผ่านศูนย์ก่อนทุกครั้ง  และได้มีการแบ่งหน้าที่ต่างๆ ของคณะทำงาน คือ

  1. นางศิริณี  คงขาว  ประธานโครงการ
  2. นายสุทิน  คงเอียด  รองประธาน
  3. สิบเอกประดิษฐ์  มูสิกะสงค์  ที่ปรึกษาโครงการ
  4. นายบุญล้อม  ผอมขวัญ  ที่ปรึกษาโครงการ
  5. นางสาวสุนารี  บุญรัตน์  เลขา

มีสมาชิก อปพร.ที่เข้าร่วมในการประชุมจำนวน  24 คน คือ

  1. นางสาวศิริณี  คงขาว
  2. นายสุทิน คงเอียด
  3. นางอุบล  ยั่งยืน
  4. นายบุญเสริม  ทิพย์ขุนราช
  5. นายเจริญ ส่งไข่
  6. นายแฉล้ม รองพล
  7. นางสะหรอ บุตรรักษ์
  8. นางสมทรง เอียดเส็ง
  9. นางสมศรี คงมา
  10. นางสาวประทุม  หนูปาน
  11. นางสาววิลาศ  พตพันธ์เลิศ
  12. นายเลียบ ขุนกำแหง
  13. นางกิตติกา  ทองเมฆ
  14. นายวิเชียร  ซุ้ยขาว
  15. นางน้อย  เทียบพุฒ
  16. นายบุญเติม  สังขาว
  17. นายบุญร่วม  สงไข่
  18. นางวรรณณี  ไชย์ณรงค์
  19. นายสุวรรณ  นวลแป้น
  20. นายจวน  นวลแป้น
  21. นางปรีดา  บัวชุม
  22. นายสมจิตร  วรพันธ์
  23. นางอะมิน๊ะ  เหมือนกู้
  24. นายคล่อง  ชูแจ่ม

มีภาคีที่เข้าร่วมจำนวน 8 คน คือ

  1. สิบเอกประดิษฐ์  มูสิกะสงค์ ประธารสภาองค์กรชุมชนตำบลเขาชัยสน
  2. นายบุญล้อม  ผอมขวัญ รองประธารสภาองค์กรชุมชนตำบลเขาชัยสน
  3. นายเสนอ  ชูแจ่ม  ส.อ บ ต.เขาชัยสน
  4. นายนิพันธ์ เมืองสง  นายก อ บ ต.เขาชัยสน
  5. นายสุชิต  ชูเชิด  รองนายก อ บ ต.เขาชัยสน
  6. นางสาวสุนารี  บุญรัตน์  คณะทำงานโครงการ
  7. นางปิยะวรรณ  ชูแสง  ภาคีร่วม สมาชิกสภาองค์กรชุมชนตำบลเทศบาลเขาชัยสน
  8. นางจำนง  คงเอียด แม่บ้าน
  9. นายพรโชค  จันทร์เหลือง ป้องกันฝ่ายพลเรือน อบต.เขาชัยสน เป็นภาคีร่วม
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะทำงานและสมาชิกได้รับทราบการจัดกิจกรรมและแบ่งมอบหน้าที่เพื่อเตรียมตัวในการทำกิจกรรมต่อไปทุกๆกิจกรรมจนเสร็จโครงการ มีสมาชิกที่เข้าร่วม 32 คน

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 32 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย