แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 1

รหัสโครงการ 56-01530
สัญญาเลขที่ 56-00-1050

ชื่อโครงการ ขยะเป็นปุ๋ยเพิ่มผลผลิตลดสารเคมี
รหัสโครงการ 56-01530 สัญญาเลขที่ 56-00-1050
ระยะเวลาตามสัญญา 1 กันยายน 2013 - 30 กันยายน 2014

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 กำไล สมรักษ์
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 20 มกราคม 2014
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 28 มกราคม 2014
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นางสุนีย์ นารีพล 40 หมู่ที่ 1 ตำบลโพธิ์เสด็จ อำเภอมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช 0861200034
2 นางวิรัช ยังเจ็ก 144/2 หมู่ที่ 1 ตำบลโพธิ์เสด็จ อำเภอมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช 085932993
3 นายวุฒิศักดิ์ เทศบาลตำบลโพธิ์เสด็จ อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช 0813262840

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

เพื่อให้ชาวบ้านร่วมกันกำจัดขยะจากถุงเห็ด ให้เป็นปุ๋ยหมักมาใส่พืชผักผลไม้เพิ่มผลผลิต ลดต้นทุนการผลิต ลดสารเคมี

  1. ขยะจากการทำเห็ด กองขยะจากถุงเห็ดลดลงร้อยละ 80
  2. แมลงที่ทำลายสวน ซึ่งเกิดจากกองขยะเห็ดลงลง ไม่กัดกินรากผักผลไม้
  3. สมาชิกที่เข้าร่วมโครงการลดการใขช้ปุ๋ยเคมีได้ จำนวน 30 ครบครัว

2.

เพื่อให้เกิดฐานเรียนรู้การกำจัดขยะ เพิ่มรายได้ รักษาสิ่งแวดล้อมของหมู่บ้าน จากการมีสัญญาประชาคมการจัดการขยะหมู่บ้าน

  1. มีฐานเรียนรู้การกำจัดขยะ เพิ่มรายได้รักษาสิ่งแวดล้อมของหมู่บ้าน จำนวน 5 ฐาน
  2. มีสัญญาประชาคมการกำจัดขยะหมู่บ้าน
  3. มีชุดความรู้การแปรรูปขยะเป็นปุ๋ยของหมู่บ้าน
2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

คณะกรรมการมีความเข้าใจการดำเนินงานในโครงการ

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

คณะกรรมการมีความเข้าใจกิจกรรมตลอดโครงการ ร่วมกันกำหนดปฏิทินการดำเนินงาน

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

คณะกรรมการสามารถตอบข้อซักถามของชาวบ้านที่มาร่วมรับฟังได้ พี่เลี้ยงช่วยเสริม ทุกคนลงความเห็นกันว่าเป็นกิจกรรมที่ดี ช่วยให้ชุมชนเปลี่ยนวิธีคิด จากไม่สนใจสิ่งแวดล้อม ทำให้กลับมาสนใจร่วมกันแก้ไขได้

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

ชาวบ้านเข้าใจกิจกรรมในโครงการและร่วมเสนอข้อคิดเห็นเพื่อจัดทำปกิทินโครงการให้เหมาะสมกับบริบทของชุมชน

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

ชาวบ้านมีความพึงพอใจในกิจกรรมโครงการ บอกว่าเป็นกิจกรรมที่ดีมาก ช่วยลดขยะแล้วยังได้ลดสารเคมีอีกด้วย

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

ชุมชนมีส่วนร่วมคิด ร่วมทำกิจกรรมในโครงการ มีหน่วยงานเข้ามาร่วมสนับสนุน มีเป้าหมายร่วมกันชัดเจน คือ จัดการขยะให้เป็นปุ๋ย ลดการใช้สารเคมี ปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่ดี เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพ

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

กลุ่มเป้าหมายได้เรียนรู้และฝึกปฏิบัติการทำปุ๋ยหมัก

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

ชาวบ้านได้ฝึกปฏิบัติการทำปุ๋ยหมักตามขั้นตอน ช่วยกันทุกคน แบ่งหน้าที่กันทำ ตั้งแต่ ขนก้อนเห็ดจากกองขยะมารวมกันไว้ แกะก้อนเห็น สับก้อนเห็ดให้ละเอียด คลุกเคล้าให้เข้ากันกับวัสดุอื่นๆ จนได้ปุ๋ยจากขยะ ลดการเน่าเหม็น

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

แกนนำโครงการได้ทำกิจกรรมทำปุ๋ยหมัก โดยนำถุงเห็ดที่ชาวบ้านนำมาทิ้งกลายเป็นกองขยะริมชลประทานมาทำเป็นปุ๋ยหมัก เพื่อลดการใช้สารเคมี และลดมลพิษจากขยะ (ในหมู่บ้านมีโรงเห็ดประมาณ ๔๐ แห่ง มีขยะจากโรงเห็ดคือถุงเห็ดที่หมดเชื้อแล้ว ทิ้งเกลื่อนกลาด) แกนนำโครงการจึงช่วยกันนำถุงเห็ดที่เป็นขยะมาทำเป็นปุ๋ยหมัก

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

ได้ทบทวนการดำเนินงาน สรุปและวางแผนงานให้มีการปฏิบัติงานดีขึ้น ได้ผลสำเร็จของโครงการสูง

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

พี่เลี้ยงและโครงการได้ร่วมกันทบทวนการทำกิจกรรม สรุปผลรายวันที่ทำ ตรวจสอบรายงาน หลักฐานการเงิน และซักถามผลลัพธ์การดำเนินงานในโครงการเพิ่มเติม

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

กิจกรรมนี้ดีมาก ช่วยให้คณะกรรมการโครงการได้เข้าใจการทำงานมากยิ่งขึ้น มีแนวทางการทำงานชัดเจน ทำตามสัญญาได้ดี เน้นการคิด วิเคราะห์เพือ่พัฒนาผลงานให้ดี ให้ตอบโจทย์การทำงานให้ได้ว่า ทำแล้วชุมชนเข้มแข็งได้อย่างไร กลวิธีใดที่ช่วยให้ชุมชนเข้มแข็ง จากการพูดคุยกัน ได้คำตอบว่า "ชุิธีคิดมชนพระมงกุฎประทับใจกิจกรรมช่วยกันขนถุงเห็ดจากกองขยะและโรงเห็ดมาทำปุ๋ย เพราะเป็นการสร้างความสามัคคี ปรับสิ่งแวดล้อม เกิดประโยชน์ลดสารเคมี มีประโชน์ต่อการทำเกษตรในครัวเรือน ทุกคนประทับใจมาก พร้อมให้ความร่วมมืออีกหลายเรื่อง

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
ปุ๋ยหมักลดขยะ

นำถุงเห็ดที่ทิ้งเป็นขยะ มาเป็นวัสดุหลักในการทำปุ๋ยหมัก

เกิดการทำการเกษตรลดสารเคมี ลดค่าใช้จ่าย ลดต้นทุนการผลิตปุ๋ย และเกิดความสามัคคีในกลุ่ม

2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

กองขยะริมชลประทานในหมู่บ้านหายไป ไม่มีกลิ่นเหม็นเน่าจากถุงเห็ด ไม่มีแมลงวันตอมที่กองขยะ

ชาวบ้านช่วยกันขนถุงเห็ดที่เป็นขยะมาทำปุ๋ยหมัก

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

 

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

 

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

 

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

 

2.2 การใช้จ่ายเงิน

 

2.3 หลักฐานการเงิน

 

ผลรวม 0 0 0 0
ผลรวมทั้งหมด 0 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

แม้ว่าผู้รับผิดชอบโครงการมีเวลาน้อยเนื่องจากติดภาระกิจเรื่องครอบครัว แต่โครงการก็ดำเนินการได้ดี เพราะมีคณะกรรมการโครงการที่เข้มแข็ง มีความเหนียวแน่น ช่วยกันทำต่อเนื่อง เพราะเห็นผลกังานที่ทำ และมีพัฒนาชุมชนของเทศบาลลงมาช่วยด้วย จึงทำให้โครงการทำได้สำเร็จ

สร้างรายงานโดย กำไล