แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 2

รหัสโครงการ 56-01530
สัญญาเลขที่ 56-00-1050

ชื่อโครงการ ขยะเป็นปุ๋ยเพิ่มผลผลิตลดสารเคมี
รหัสโครงการ 56-01530 สัญญาเลขที่ 56-00-1050
ระยะเวลาตามสัญญา 1 กันยายน 2013 - 30 กันยายน 2014

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 กำไล สมรักษ์
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2 สมบูรณ์ ขวัญสง
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 15 พฤษภาคม 2014
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 22 พฤษภาคม 2014
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นางสุนีย์ นารีพล 40 หมู่ที่ 1 ตำบลโพธิ์เสด็จ อำเภอมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช 0861200034
2 นายวุฒธิศักดิ์ ชัยพัฒน์วงศร นักพัฒนาชุมชน เทศบาลตำบลโพธิ์เสด็จ อำเภอมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช 0813262840
3 นายจำเรียง รอดรัตน์ หมู่ที่ 1 ตำบลโพธิ์เสด็จ อำเภอมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช
4 นายประเวศ จิตวิจารย์ หมู่ที่ 1 ตำบลโพธิ์เสด็จ อำเภอมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

เพื่อให้ชาวบ้านร่วมกันกำจัดขยะจากถุงเห็ด ให้เป็นปุ๋ยหมักมาใส่พืชผักผลไม้เพิ่มผลผลิต ลดต้นทุนการผลิต ลดสารเคมี

  1. ขยะจากการทำเห็ด กองขยะจากถุงเห็ดลดลงร้อยละ 80
  2. แมลงที่ทำลายสวน ซึ่งเกิดจากกองขยะเห็ดลงลง ไม่กัดกินรากผักผลไม้
  3. สมาชิกที่เข้าร่วมโครงการลดการใขช้ปุ๋ยเคมีได้ จำนวน 30 ครบครัว

2.

เพื่อให้เกิดฐานเรียนรู้การกำจัดขยะ เพิ่มรายได้ รักษาสิ่งแวดล้อมของหมู่บ้าน จากการมีสัญญาประชาคมการจัดการขยะหมู่บ้าน

  1. มีฐานเรียนรู้การกำจัดขยะ เพิ่มรายได้รักษาสิ่งแวดล้อมของหมู่บ้าน จำนวน 5 ฐาน
  2. มีสัญญาประชาคมการกำจัดขยะหมู่บ้าน
  3. มีชุดความรู้การแปรรูปขยะเป็นปุ๋ยของหมู่บ้าน
2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

ชาวบ้านร่วมกันกำจัดขยะจากถุงเห็ด ให้เป็นปุ๋ยหมักมาใส่พืชผักผลไม้เพิ่มผลผลิต ลดต้นทุนการผลิต ลดสารเคมี

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

บรรยากาศการเรียนรู้มีความเป็นกันเอง สนุกสนาน ทุคนตั้งใจฟังเรื่องเล่าจากเพื่อน โดยเฉพาะเมื่อผู้รับผิดชอบโครงการ และหมอดินอาสาเล่าเรื่อง สรุปผลการแลกเปลี่ยน ได้ดังนี้ 1) ผลการทำและใช้ปุ๋ยหมักจากถุงเห็ด พบว่าได้ผลดี ผัก ผลไม้เจริญเติบโตดีมาก  2) เกิดสูตรการทำหมักชีวภาพ สูตรพ่อ สูตรแม่ และสูตรลูก เพื่อช่วยให้ผลผลิตมังคุดดี บอกเทคนิคและขั้นตอนการใช้คือ สูตรพ่อ 1 ต่อ 10 สูตรแม่ 10 ต่อ 1 สูตรลูก ต้องนำสูตรพ่อและสูตรแม่มาผสมกัน จึงจะเป็นประโยชน์มาก 3) ขณะนี้ได้มีการพัฒนาอาชีพการเลี้ยงผึ่งในสวนมังคุด เป็นสิ่งที่บอกได้ว่าในสวนมังคุดไหนที่มีผึ้งอยู่ แสดงว่าเป็นสวนที่ไม่ใช้สารเคมี ถ้าใช้สารเคมีจะไม่มีผึ้ง เป็นการประเมินผลการใช้ปุ๋ยหมัก น้ำหมักชีวภาพ น้ำยาไล่แมลงจากสมุนไพร ว่าชุมชนได้ทำและใช้จริง ถ้าไม่ทำก็ไม่สามารถเลี้ยงผึ้งได้ ตอนนี้มีการเลี้ยงได้ไม่มาก ทุกคนในที่ประชุมเสนอแนะให้มีการพัฒนาต่อจากการจัดการขยะเป็นปุ๋ยชีวภาพ และพัฒนาการเลี้ยงผึ้งเพิ่มเพื่อให้พื้นที่ได้ปลอดสารเคมีในวงกว้างมากขึ้น 4) ได้ร่วมกันวางแผนกิจกรรมที่เหลือว่าได้ทำไปแล้วเกิดผลดีแล้ว กำหนดทำต่ออีก และทำต่อเนื่องเป็นกิจกรรมประจำของชุมชนเอง ได้แก่ การทำกลุ่มปุ๋ย ตามละแวกบ้าน เพื่อขยายผลการลดการใช้สารเคมีให้มากยิ่งขึ้น มีหมอดินอาสาช่วยเป็นพี่เลี้ยงในการทำกิจกรรม

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

ได้ตามวัตถุประสงค์ คือ ชาวบ้านร่วมกันกำจัดขยะจากถุงเห็ด ให้เป็นปุ๋ยหมักมาใส่พืชผักผลไม้เพิ่มผลผลิต ลดต้นทุนการผลิต ลดสารเคมี

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

 

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

นักพัฒนาชุมชนจากเทศบาล และผู้นำชุมชน ร่วมลงพื้นที่ไปช่วยจัดกิจกรรมตามสัญญา และคอยเป็นพี่เลี้ยงให้ดำเนินงานเพื่อพัฒนาศักยภาพทีม พัฒนาศักยภาพบุคคล และชุมชน

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

 

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

มีการตรวจสอบโดยชุมชนและพี่เลี้ยงในพื้นที่

2.2 การใช้จ่ายเงิน

 

2.3 หลักฐานการเงิน

 

ผลรวม 0 0 2 0
ผลรวมทั้งหมด 2 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

มีการทำงานเป็นทีมมากขึ้น เห็นการพัฒนาศักยภาพของทีม มีศักยภาพในการพูด การเขียน มากขึ้น มีจุดแข็งคือ มีทีมพี่เลี้ยงซึ่งเป็นผู้นำชุมชน นักพัฒนาชุมชน ไปช่วยดำเินงานในกิจกรรม ทำให้เกิดกลไกการตรวจสอบและประเมินผลกันเองในพื้นที่ ส่งผลให้การดำเนินงานบรรลุเป้าหมายได้

สร้างรายงานโดย Nongluk_R