หน้าบ้านน่ามองด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นลดการใช้สารเคมีในสวนของเกษตรกร

แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 1

รหัสโครงการ 56-01502
สัญญาเลขที่ 56-00-0867

ชื่อโครงการ หน้าบ้านน่ามองด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นลดการใช้สารเคมีในสวนของเกษตรกร
รหัสโครงการ 56-01502 สัญญาเลขที่ 56-00-0867
ระยะเวลาตามสัญญา 1 กันยายน 2013 - 30 กันยายน 2014

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นายอภิวัฒน์ ไชยเดช
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2 นางกำไล สมรักษ์
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 2 มกราคม 2014
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 13 กุมภาพันธ์ 2014
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นายพิชาญ สำอางศรี บ้านเลขที่ 2 หมู่ที่ 4 ตำบลพรหมโลก อำเภอพรหมคีรี จังหวัดนครศรีธรรมราช 084-8411994
2 นายคงเดช สำราญใจ บ้านเลขที่ 123 หมู่ที่ 3 ตำบลพรหมโลก อำเภอพรหมคีรี จังหวัดนครศรีธรรมราช 081-19869769
3 นายสมนึก สำเภาแก้ว บ้านเลขที่93/3 หมู่ที่ 3 ตำบลพรหมโลก อำเภอพรหมคีรี จังหวัดนครศรีธรรมราช 089-1444568
4 นายสมทรง บุญวิเศษ บ้านเลขที่ 10/1 หมู่ที่ 4 ตำบลพรหมโลก อำเภอพรหมคีรี จังหวัดนครศรีธรรมราช 089-2885482

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

เพื่อนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาพัฒนาให้เกิดผลผลิตเพื่อลดรายจ่ายในครัวเรือนจากการใช้สารเคมีในการเกษตร

  • ครัวเรือนร้อยละ 90 มีความรู้ความเข้าใจและจัดทำบัญชีครัวเรือนได้
  • เกิดแปลงสาธิตการเกษตรตามแนวทางเทคโนโลยีใหม่ในชุมชน 1 แปลง
  • เกิดแปลงสาธิตการทำปุ๋ยหมักโดยการนำวัสดุเพาะเห็ดมาทำปุ๋ยอย่างน้อย 1 แปลง
  • ครัวเรือนร้อยละ 90 ปลูกผักไว้กินใช้ในครัวเรือน

2.

เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการโครงการ

  1. คณะทำงานเข้าร่วมประชุม สสส. / สจรส. มอ.
  2. มีการส่งรายงานความก้าวหน้าและรายงานฉบับสมบูรณ์ให้สสส.
  3. มีภาพถ่ายทุกกิจกรรมตลอดโครงการและจัดตั้งป้าย สถานที่นี่ปลอดบุหรี่ ในบริเวณที่จัดกิจกรรม
2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

คณะทำงานทั้ง 20  คน ประชุมเพื่อรับทราบความก้าวหน้าของโครงการและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในการดำเนินกิจกรรมโครงการ

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

ประธานชุมชนบรรยาย บอกเล่าทบทวนกิจกรรมที่ 1- กิจกรรมที่ 5 และปัญหาต่างๆที่พบและที่ตัวแทนครัวเรือนบอกเล่า เพื่อช่วยกระตุ้นคณะทำงานให้เป็นผู้นำในการทบทวนพูดคุย สอบถามปัญหา เทคนิคที่ได้กระทำการแก้ไขปัญหา และสิ่งที่ดี สิ่งที่ตำหนิติเตียนประเด็นต่างๆ เพื่อเป็นวิทยากรในการประชุมคณะทำงานกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

คณะทำงานมีความรู้ความเข้าใจและตื่นตัวที่จะเป็นวิทยากร เป็นผู้น้ำในการประชุมของกิจกรรมประชุมตัวแทนครัวเรือนประชุมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การติดตามผลเพื่อให้ได้ตามวัตถุประสงค์

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

ครัวเรือนในชุมชนตลาดศุกร์ เจ้าหน้าที่เทศบาลตำบลพรหมโลก จำนวน 60 คนร่วมประชุมแนะนำให้ความรู้ในการทำบัญชีครัวเรือน

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

วิทยากรบรรยายความรู้เรื่องบัญชีครั้วเรือนประกอบเอกสารใบความรู้ และสมุดบัญชีรับ - จ่ายในครัวเรือน 2 เล่ม
ตัวแทนผู้เข้าอบรมพูดสรุปความสำคัญ ความจำเป็นที่ต้องตะหนักเรื่องรายได้ รายจ่ายการพัฒนาอาชีพที่ทำอยู่ การออม และเป็นสมาชิกของกลุ่มสวัสดิการต่างๆ เช่นกลุ่มปุ๋ยของ "กลุ่มเกษตรกรพรหมโลกพัฒนา"ที่มีในชมชน และสหกรณ์ เครดิตยูเนียนบ้านเขาปูน ชุมชนที่อยู่ติดกับ และกองทุนวันละบาทของเทศบาลตำบลพรหมโลกจำนวน 10 คน
ผู้เข้าอบรมฝึกลงรายงานรายรับ รายจ่าย ที่เป็นรายจ่ายในการประกอบอาชีพ รายจ่ายในครัวเรือน รวมรายรับรวมรายจ่าย เงินคงเหลือยกไปลงในสมัดบัญชีรับจ่ายครัวเรือน

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

1.ผู้เข้าอบรมทมีความรู้ ความเข้าใจ หลักเศรษฐกิจพอเพียง
2.ผู้เข้าอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ บัญชีรายรับรายจ่ายครัวเรือน
3.ผู้เข้าอบรมตระหนักเรื่องรายได้ รายรับ รายจ่าย การพัฒนาอาชีพของตนโดยการให้พูดการถามตน
4.ผู้เข้าอบรมสามารถลงรายการ รายรับ รายจ่าย สรุปเป็นเงินคงเหลือของครอบครัวได้เกือบทุกคน ซึ่งมีผู้สูงอายุ

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

ตัวแทนครัวเรือนจำนวน 60 ครัวเรือน
สมัครตัวแทนครัวเรือนเข้าร่วมโครงการและอบรมให้ความรู้ ขั้นตอน การดูแลรักษาการเพาะเห็ดฟาง

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

ตัวแทนครัวเรือนจำนวน 60 คน สมัครเข้าร่วมโครงการ และเข้าร่วมรับการอบรมรายละเอียดขั้นตอนการเพาะเห็ดฟาง  วิทยากรบรรยายสาธิตการเพาะเห็ดฟางและให้ตัวแทนครัวเรือนฝึกการเพาะเห็ดฟางจำนวน 18 คน ณ ศาลาบ้านนายถวิล คีรีเพ็ชร

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

ได้ตัวแทนครัวเรือนของชุมชนสมัครเข้าร่วมโครงการจำนวน 60 คน  ผู้เข้ารับการอบรมได้รับแจกเอกสารวิธีและกระบวนการเพาะเห็ดฟางและตัวแทนผู้เข้ารับการอบรมได้ทดลองการเพาะเห็ดฟาง

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

ตัวแทนครัวเรือนแกนนำจำนวน 20 คน
ดูการสาธิตกึงการเตรียมวัสดุอุปกรณ์ การล้างวัสดุ การหมัก การใส่สารเร่ง การใส่ปุ๋ยของเห็ด การเตรียมวัสดุต่างๆและการคลุมตะกร้าเห็ดใว้รอการเจริญเติบโตของเชื้อเห็ด การให้ตัวแทนครัวเรือนที่เป็นแกนนำปฏิบัติการเพาะเห็ดลงตะกล้า และเก็บข้อมูลเพื่อเป็นการศึกษาและเปรียบเทียบการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิต

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

แกนนำ  ของชุมชน 20 คน เข้ารับการอบรมชี้แจงและสาธิตการเพาะเห็ดฟางแล้วให้ปฎิบัติจริงเพาะเห็ดฟางลงตะกร้าโดยใช่วัสดุต่างๆเพื่อการเปรียบเทียบ  วัสดุที่ได้ผลและแพร่หลายคือ ทะลายปาล์ม  วัสดุที่ยังไม่มีข้อมูล ชานอ้อย หญ้าพืชสด ใบมังคุด กับทะลายปาล์มในอัตราส่วนต่างๆลงในตะกร้า  บันทึกข้อมูลทุกคนและสรุปลงความเห็นผลการทดลอง

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

แกนนำได้เตรียมวัสดุเพาะเห็ดครบถ้วนตามเป้าหมาย  ได้หมักวัสดุครบตามเป้าหมาย  แกนนำ 20 คน ได้ปฎิบัติการเพาะเห็ดครบตามเป้าหมาย

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

พุดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์และปัญหาที่เกิดขึ้นในการเพาะเห็ดของแต่ละครัวเรือนและร่วมกันแก้ไขปัญหาและปฏิบัติการทำปุ๋ยหมักชีวภาพจากขี้เลือย ผักตบชวา เศษวัสดุการเกษตร เศษอาหาร

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

ตัวแทนครัวเรือน 20 คน ร่วมทำปุ๋ยหมัก โดยมีวิทยากรมาให้ความรู้และสาธิต และจะต้องไปแนะนำให้ความรู้กับครัวเรือนเครือข่ายทั้ง 50 ครัวเรือน ร่วม วิเคราะห์ผลการทำกิจกรรมเรื่องการทำบัญชีครัวเรือน การเพาะเห็ดฟางการทำปุ๋ยหมักจากแกนนำ และตัวแทนครัวเรือนทั้งหมดทั้งชุมชน  เพิ่มเติมรายละเอียดที่เป็นการทบทวน เพิ่มเติมทั้ง 3 กิจกรรมหลักดังกล่าว

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

ตัวแทนครัวเรือนทุกคนมีความรู้ สามารถปฎิบัติได้และได้ซักถาม เพิ่มเติมความรู้จนชัดเจน  คณะทำงานได้ปฎิบัติจริงและสามารถทำเป็นอาชีพได้  คณะทำงานได้ช่วยเหลือ และเป็นผู้นำตามธรรมชาติที่ได้ช่วยเหลือกันทำกิจกรรม  คณะทำงานมีความเด่นจากการได้ปฎิบัติจริง  ทุกคนมีความรัก สามัคคี ไม่มีความขัดแย้ง และค้างคาใจ  ทุกคนอย่างรู้เรื่องอาชีพอื่นๆในครั้วต่อไป  คณะทำงานมีความรู้ที่ปฎิบัติได้จริง และเป็นวิถีชีวิตจริงเพราะทุกคนเป็นเกษตรกร หรือเกษตรเป็นอาชีพหลักหรืออาชีพที่สองกันทุกคน ทุกครัวเรือน  นำความรู้เรื่องประโยชน์ของปุ๋ยหมัก จุลินทรีย์ชีวภาพ พด. ที่เป็นสารเร่งของสถานีพัฒนาที่ดินกระทรวงเกษตรที่เคยได้ยิน แต่ไม่เคยปฎิบัติทำปุ๋ยหมักจริง  คณะทำงานทุกคนมีความรักความสามัคคี เพราะชุมชนตลาดศุกร์ เป็นชุมชนที่ให้เกียรติกัน เข้าใจความเป็นมนุษย์ เข้าใจความแตกต่าง และเข้าใจการที่ต้องพยายามพัฒนาไปสู่เป้าหมายของเกษตรกร  คณะทำงานช่วยกันสร้างความเข้มแข็งร่วมกัน  คณะทำงานทำปุ๋ยหมักที่ค่อนข้างเชี่ยวชาญ ชำนาญ

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

 

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

 

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

 

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

 

2.2 การใช้จ่ายเงิน

 

2.3 หลักฐานการเงิน

 

ผลรวม 0 0 0 0
ผลรวมทั้งหมด 0 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

กิจกรรมของโครงการสามารถดำเนินการไปได้ด้วยดี

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

ตัวแทนครัวเรือนทุกคนมีความรู้ สามารถปฎิบัติได้ คณะทำงานได้ปฎิบัติจริงและสามารถทำเป็นอาชีพได้  คณะทำงานได้ช่วยเหลือ และเป็นผู้นำตามธรรมชาติที่ได้ช่วยเหลือกันทำกิจกรรม  ทุกคนมีความรัก สามัคคี ไม่มีความขัดแย้ง และค้างคาใจ  คณะทำงานมีความรู้ที่ปฎิบัติได้จริง และเป็นวิถีชีวิตจริงเพราะทุกคนเป็นเกษตรกร หรือเกษตรเป็นอาชีพหลักหรืออาชีพที่สองกันทุกคน ทุกครัวเรือน คณะทำงานทุกคนมีความรักความสามัคคี เพราะชุมชนตลาดศุกร์ เป็นชุมชนที่ให้เกียรติกัน เข้าใจความเป็นมนุษย์ เข้าใจความแตกต่าง และเข้าใจการที่ต้องพยายามพัฒนาไปสู่เป้าหมายของเกษตรกร  คณะทำงานช่วยกันสร้รางความเข้มแข็งร่วมกัน

สร้างรายงานโดย นายอภิวัฒน์ ไชยเดช