หน้าบ้านน่ามองด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นลดการใช้สารเคมีในสวนของเกษตรกร

แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 2

รหัสโครงการ 56-01502
สัญญาเลขที่ 56-00-0867

ชื่อโครงการ หน้าบ้านน่ามองด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นลดการใช้สารเคมีในสวนของเกษตรกร
รหัสโครงการ 56-01502 สัญญาเลขที่ 56-00-0867
ระยะเวลาตามสัญญา 1 กันยายน 2013 - 30 กันยายน 2014

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นายอภิวัฒน์ ไชยเดช
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 24 มิถุนายน 2014
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 24 มิถุนายน 2014
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นายคงเดช สำราญใจ 128 หมู่ที่ 3 ตำบลพรหมโลก 081-39869869
2 นายพิชาญ สำอางศรี 2 หมู่ที่ 4 ตำบลพรหมโลก 084-8411994
3 นายสมนึก สำเภาแก้ว 93/3 หมู่ที่ 3 ตำบลพรหมโลก 089-1444568

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

เพื่อนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาพัฒนาให้เกิดผลผลิตเพื่อลดรายจ่ายในครัวเรือนจากการใช้สารเคมีในการเกษตร

  • ครัวเรือนร้อยละ 90 มีความรู้ความเข้าใจและจัดทำบัญชีครัวเรือนได้
  • เกิดแปลงสาธิตการเกษตรตามแนวทางเทคโนโลยีใหม่ในชุมชน 1 แปลง
  • เกิดแปลงสาธิตการทำปุ๋ยหมักโดยการนำวัสดุเพาะเห็ดมาทำปุ๋ยอย่างน้อย 1 แปลง
  • ครัวเรือนร้อยละ 90 ปลูกผักไว้กินใช้ในครัวเรือน

2.

เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการโครงการ

  1. คณะทำงานเข้าร่วมประชุม สสส. / สจรส. มอ.
  2. มีการส่งรายงานความก้าวหน้าและรายงานฉบับสมบูรณ์ให้สสส.
  3. มีภาพถ่ายทุกกิจกรรมตลอดโครงการและจัดตั้งป้าย สถานที่นี่ปลอดบุหรี่ ในบริเวณที่จัดกิจกรรม
2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมหลัก : ประชุมและฝึกปฏิบัติการทำบัญชีครัวเรือนi

9,200.00 60 ผลผลิต

ผู้เข้าอบรมทีความรู้ ความเข้าใจ ในการทำบัญชีครัวเรือนตามแนวทางหลักเศรษฐกิจพอเพียง ความเข้าใจและสามารถวิเคราะห์รายรัล-จ่ายในภาคครัวเรือนได้ ทำให้ผู้เ้ข้าอบรมตระหนักเรื่องรายได้ รายรับ รายจ่าย และการพัฒนาอาชีพของตนโดยการหารายได้เสริม
ผู้เข้าอบรมสามารถลงรายการ รายรับ รายจ่าย สรุปเป็นเงินคงเหลือของครอบครัวได้เกือบทุกคน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ภาคครัวเรือนมีความรู้ ความเข้าใจในการทำบัชีครัวเรือนและสามารถวิเคราะห์รายรับ - รายจ่ายได้ รวมมทั้งสามารถหาแนวทางการสร้างอาชีพเสริมเพื่อ เสริมรายได้ให้กับครอบครัว วิเคราะห์หารายจ่ายหมวดที่ไม่จำเป็น และลด ละ เลิกได้

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

ครัวเรือนในชุมชนตลาดศุกร์ จำนวน 66 คน เจ้าหน้าที่เทศบาลตำบลพรหมโลก

0.00 9,920.00 20 66 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ผู้เข้าอบรมทีความรู้ ความเข้าใจ หลักเศรษฐกิจพอเพียง
  2. ผู้เข้าอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ บัญชีรายรับรายจ่ายครัวเรือน
  3. ผู้เ้ข้าอบรมตระหนักเรื่องรายได้ รายรับ รายจ่าย การพัฒนาอาชีพของตนโดยการให้พูดการถามตน
  4. ผู้เข้าอบรมสามารถลงรายการ รายรับ รายจ่าย สรุปเป็นเงินคงเหลือของครอบครัวได้เกือบทุกคน ซึ่งมีผู้สูงอายุ 5 คน ที่ตามองไม่ถนัดแต่เข้าใจดี

กิจกรรมหลัก : ประชุมคณะทำงานทุกเดือน จำนวน 10ครั้งi

27,000.00 20 ผลผลิต

ประธานชุมชนได้บรรยายสิ่่งที่เกิดขึ้นแก่คณะทำงานและคณะทำงานก็ได้ฝึกปฎิบัติการทำบัญชีครัวเรือนเพื่อจะได้นำไปถ่ายทอดให้แก่คนที่มาร่วมประชุม คณะทำงานทั้ง 20 คน ตระหนักถึงแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงมากขึ้นและมีข้อตกลงกันว่าจะให้กองทุนวันละบาทเข้ามาร่วมทำกิจกรรมด้วยเนื่องจากเป็นโครงการที่มีความมั่งคงทางด้านการเงินและสวัสดิการ มีการฝากเงินกับธนาคารถูกต้องชัดเจนและเป็นปัจจุบัน มีคณะกรรมการตรวจสอบเป็นปัจจุบัน ในการดำเนินงานคณะทำงาน มีความรู้ ความเข้าใจ มีโครงการไว้ช่วยเหลือในการทำกิจกรรม ช่วยสังเกตช่วยบันทึกผลกระทำกิจกรรมของโครงการ ต่อมาคณะทำงานมีความรู้ ความเข้าใจ ขั้นตอนการเตรียมวัสดุ การลงมือเพาะเห็ดฟางลงตะกร้าตามที่วิทยากรได้สาธิตและให้ปฎิบัติจริงและได้ปฎิบัิติจริงทดลองการเพาะเห็ดฟางลงตะกร้า การคลุมผ้ายาง ทุกคนทั้ง 20 คน สามารถทำได้มีความรู้เรื่อง ปัจจัยการปลูกพืช    ปัจจัยการทำปุ๋ยหมัก,วัสดุการทำปุ๋ยหมักตามเอกสารของสถานีพ้ฒนาที่ดินของนครศรีธรรมราช,การขยายเชื้อ พด1 พด2 พด3 จากการอนุเคราะห์ของสถานีพ้ฒนาที่ดินของนครศรีธรรมราช ,ขั้นตอนการทำปุ๋ยหมักชีวภาพ,การใช้ปุ๋ยหมักกับพืชต่างๆได้ถูกต้องตามขั้นตอน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

คณะทำงานชุมชนเกิดความรู้ ทักษะในการดำเนินงาน มีความชำนาญเพาะพันธ์ต้นไม้ การทำปุ๋ยหมัก การจัดการเรื่องการเงินการธนาคาร

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 11 ครั้ง

คณะกรรมการชุมชน ผู้ใหญ่บ้าน ผช.ผู้ใหญ่บ้าน และกลุ่มผู้นำที่เกี่ยวข้อง

0.00 2,400.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ประธานชุมชนบรรยายเรียบร้อย คณะทำงานก็ได้ฝึกปฎิบัติการทำบัญชีครัวเรือนเพื่อจะได้นำไปถ่ายทอดให้แก่คนที่มาร่วมประชุมในวันที่ 9 พศจิการยน 2556 พร้อมๆไปกับวิทยากรในวันนั้น คณะทำงานทั้ง 20 คน ตระหนักถึงเศรษฐกิจพอเพียงมากขึ้นและมีข้อตกลงกันว่าจะให้กองทุนวันละบาทเข้ามาร่วมทำกิจกรรมด้วยเนื่องจากเป็นโครงการที่มีความมั่งคงทางด้านการเงินและสวัสดิการ มีการฝากเงินกับธนาคารถูกต้องชัดเจนและเป็นปัจจุบัน มีคณะกรรมการตรวจสอบเป็นปัจจุบัน

คณะกรรมการชุมชน ผู้นำ ผู้ใหญ่บ้าน และแกนนำของโครงการฯ

2,700.00 2,400.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. คณะทำงาน มีความรู้ ความเข้าใจ มีโครงการไว้ช่วยเหลือในการทำกิจกรรม ช่วยสังเกตช่วยบันทึกผลกระทำกิจกรรมของโครงการ
  2. คณะทำงานมีความรู้ ความเข้าใจ ขั้นตอนการเตรียมวัสดุ การลงมือเพาะเห็ดฟางลงตะกร้าตามที่วิทยากรได้สาธิตและให้ปฎิบัติจริง
  3. คณะทำงานได้ปฎิบัิติจริงทดลองการเพาะเห็ดฟางลงตะกร้า การคลุมผ้ายาง ทุกคนทั้ง 20 คน สามารถทำได้ทุกคน

คณะทำงานชุมชนบ้านตลาดศุกร์ จำนวน 20 คน

0.00 2,400.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ประธานชุมชนเป็นวิทยากรบรรยาย สาธิตการเพาะเห็ดฟาง
  2. คณะทำงานมีความรู้และปฎิบัติการทดลองเพาะเห็ดฟางได้ถูกต้องตามขั้นตอน
  3. คณะทำงานมีความรู้ที่จะบันทึกสังเกตและสรุปผลการเพาะเห็ดฟางได้
  4. คณะทำงานเตรียมวัสดุอุปกรณ์เพื่ออบรมและสาธิตการเพาะให้กับตัวแทนครัวเรือน

แกนนำโครงการ สมาชิก อปท นายก อปท และผู้รับผิดชอบโครงการ

2,700.00 0.00 20 15 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมประชุมโดยพร้อมเรียงการตามเวลานัดหมาย ผู้รับผิดชอบโครงการได้ชี้แจงวัตถุประสงค์ความเป็นมาของโครงการที่ดำเนินการ ผู้มีส่วนร่วมได้ร่วมกันซักถามและเป้าหมายของการดำเนินงานของโครงการ ได้ตอยคำถามและทิศทางของการดำเนินงานในครงการ

ตัวแทนครัวเรือนแกนนำชุมชนบ้านตลาดศุกร์ จำนวน 20 คน

2,700.00 2,400.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะทำงานมีความรู้ความเข้าใจและตื่นตัวที่จะเป็นวิทยากร เป็นผู้น้ำในการประชุมของกิจกรรมประชุมตัวแทนครัวเรือนประชุมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การติดตามผลเพื่อให้ได้ตามวัตถุประสงค์ ครั้งที่ 1

ตัวแทนครัวเรือนแกนนำ จำนวน 20 คน

2,700.00 2,400.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. คณะทำงานมีความรู้เรื่อง     - ปัจจัยการปลูกพืช     - ปัจจัยการทำปุ๋ยหมัก     - วัสดุการทำปุ๋ยหมักตามเอกสารของสถานีพ้ฒนาที่ดินของนครศรีธรรมราช     - การขยายเชื้อ พด1 พด2 พด3 จากการอนุเคราะห์ของสถานีพ้ฒนาที่ดินของนครศรีธรรมราช     - ขั้นตอนการทำปุ๋ยหมักชีวภาพ     - การใช้ปุ๋ยหมักกับพืชต่างๆ
  2. คณะทำงานทำปุ๋ยหมักได้ถูกต้องตามขั้นตอน

คณะกรรมการการดำเนินโครงการจำนวน 20 คน 

2,700.00 2,700.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.  คณะทำงานรับทราบผลของการทำปุ๋ยหมัก 2.  คณะทำงานวิเคราะห์ปัญหาจุดอ่อน  จุดแข็ง การทำปุ๋ยหมัก และวิธีการแก้ไขที่ครัวเรือนของชุมชน 3.  คณะทำงานรับทราบความรู้การคัดแยกขยะ สาธิตการเลี้ยงไส้เดิอนดินกำจัดขยะ และช่วยกันสาธิต ทดลองทำน้ำยาอเนกประสงค์

คณะทำงาน  20 คน เจ้าหน้าที่จากเทศบาล 1 คน

2,700.00 2,700.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการประชุมสรุปว่าผักที่จะเพาะได้แก่ ดาวเรือง  ผักบุ้ง และถั่วฝักยาวแต่ในช่วงนี้นั้นอากาศร้อนมาก ไม่ค่อยมีน้ำคณะทำงานจึงตกลงกันว่าน่าจะให้ผ่านช่วงนี้ไปก่อน เพื่อให้มีฝนบ้างเพื่อให้ได้ผลตามที่วางไว้ จึงเลื่อนการจักกิจกรรมออกไปก่อน

คณะกรรมการการดำเนินโครงการจำนวน 20 คน 

2,700.00 2,700.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะทำงานทั้ง 3 คน นั้นตอบตกลงที่จะเป็นตัวแทนในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสามารถเตรียมอุปกรณ์ในการเพาะพันธุ์ผักในวันต่อไปได้เสร็จ และมีการวางแผนที่จะไปเยี่ยมบ้านในชุมชน

ตัวแทนครัวเรือน 20 คน

2,700.00 2,700.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. แกนนำได้เรียนรู้การทำปุ๋ยหมักคุณภาพสูง
  2. นำได้วางแผนการเพาะพันธ์ไม้ประดับ เพื่อปลูกริมถนนเพื่อการท่องเที่ยว
  3. แกนนำได้ช่วยสาธิตการทำปุ๋ยหมักคุณภาพสูง

แกนนำ 20 คน

2,700.00 2,700.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

แกนนำทั้ง 20 คน รู้หน้าที่ในการจัดกิจกรรมถอดบทเรียน

กิจกรรมหลัก : ชี้แจงโครงการและรับสมัครครัวเรือนที่สมัครร่วมพัฒนาผลิตผลชุมชนi

7,200.00 60 ผลผลิต

ตัวแทนครัวเรือนของชุมชนสมัครเข้าร่วมโครงการจำนวน 60 คน และได้รับการอบรมและได้รับแจกเอกสารวิธีและกระบวนการเพาะเห็ดฟางได้ฟังวิทยากรบรรยายและสาธิตและตัวแทนผู้เข้ารับการอบรมได้ทดลองการเพาะเห็ดฟาง ตามที่วิทยากรแนะนำผู้ทำให้ผู้เข้ารับการอบรมได้สังเกตและได้ชมและเกิดการเรียนรู้การเพาะเห็ดฟางจากวิทยากรพื้นบ้านที่ได้ทำเป็นอาชีพและประสบความสำเร็จในชุมชนมานาน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ตัวแทนครัวเรือนเกิดการเรียนรู้การเพาะเห็ดฟางจากวัสดุธรรมชาติในพื้นที่ เช่นเศษใบไม้ ใบมังคุด เป็นการนำกลับมาใช้ใหม่อย่างมีประสิทธิภาพ เรียนรู้และพัฒนามาจากวิทยากรผู้ชำนาญการและประสพความสำเร็จจากการดำเนินงานมาแล้ว ทำให้ชุมชนเกิดการจัดการความรู้เรื่องการเพาะเห็ดฟางจากวัสดุในพื้นที่

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

ครัวเรือนชุมชนบ้านตลาดศุกร์ จำนวน 60 คน

7,200.00 7,200.00 60 60 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ได้ตัวแทนครัวเรือนของชุมชนสมัครเข้าร่วมโครงการจำนวน 60 คน
  2. ผู้เข้ารับการอบรมได้รับแจกเอกสารวิธีและกระบวนการเพาะเห็ดฟางได้ฟังวิทยากรบรรยายและสาธิตและตัวแทนผู้เข้ารับการอบรมได้ทดลองการเพาะเห็ดฟาง
  3. ผู็้เข้ารับการอบรมได้สังเกตและได้ชมการเพาะเห็ดฟางของวิทยากรที่ได้ทำเป็นอาชีพมานาน

กิจกรรมหลัก : การเพาะเห็ดฟางโดยการใช่ใบไม้แห้งและใบมังคุดแห้งเป็นส่วนประสมในการผลิตi

17,500.00 20 ผลผลิต

แกนนำครัวเรือนได้เตรียมวัสดุเพาะเห็ดครบถ้วนตามเป้าหมาย จำนวน 20 ครัวเรือน ได้หมักวัสดุและจัดทำกระบวนการเตรียมวัสดุในการเพาะเห็ดฟางได้ครบทั้งกระบวนการและตามเป้าหมาย จำนวน 20 ครัวเรือน แกนนำ 20 คน ได้ปฎิบัติการเพาะเห็ด เป็นตัวอย่างให้กับครัวเรือนอื่น ๆ ตามเป้าหมายและดำเนินการตามกรรมวิธี เช่น ปิดด้วยผ้ายาง การรดน้ำ ทำให้ผลการดำเนินบรรลุผลตามเป้าหมายที่วางไว้


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

เกิดครัวเรือนตัวอย่าง ในการเพาะเห็ดฟางจากวัสดุที่เหลือจากการเกษตรในชุมชน และสามารถพร้อมที่จะเป็นครู ก ขยายความรู้ในการเพาะเห็ดไปให้กับครัวเรือนอื่น ในชุมชน สามารถส่งเสริมการสร้างรายได้มากขึ้น

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

ตันแทนครัวเรือนแกนนำชุมชนบ้านตลาดศุกร์ จำนวน 20 คน

17,500.00 17,500.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. แกนนำได้เตรียมวัสดุเพาะเห็ดครบถ้วนตามเป้าหมาย
  2. ได้หมักวัสดุครบตามเป้าหมาย
  3. แกนนำ 20 คน ได้ปฎิบัติการเพาะเห็ดครบตามเป้าหมายและปิดด้วยผ้ายาง

กิจกรรมหลัก : ถ่ายทอดความรู้การเพาะเห็ดฟางi

9,700.00 60 ผลผลิต

วิทยากรได้ทบทวนความรู้การเพาะเห็ดฟางและถ่ายทอดให้กับตัวแทนครัวเรือนมีความรู้เกิดความรู้ในการเพาะเห็ดฟาง ถ่ายทอดกระบวนการเพาะเห็ด โดยการสอนให้ตัวแทนครัวเรือนได้เตรียมวัสดุที่ใช้เพาะเห็ดฟางอย่างพอเพียงให้สมาชิกทุกคนได้นำกลับไปครัวเรือนของตน และสาธิตให้ตัวแทนครัวเรือนได้เพาะเห็นฟางครัวเรือนละ 6 ตะกร้า นำกลับไปบริบาลที่บ้านของตนพร้อมผ้ายางที่ใช้คลุมเพื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตต่อไป


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

เกิดการถ่ายทอดความรู้ กระบวนการเพาะเห็ดฟางในชุมชน เกิดการทำลองทำ ฝึกทำ และนำกลับไปใช้ที่บ้าน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

ตัวแทนครัวเรือนจำนวน 70 คน เจ้าหน้าที่จากเทศบาล

9,700.00 10,400.00 60 70 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. วิทยากรได้ทบทวนความรู้การเพาะเห็ดฟางและตัวแทนครัวเรือนมีความรู้
  2. ตัวแทนครัวเรือนได้เตรียมวัสดุที่ใช้เพาะเห็ดฟางอย่างพอเพียงให้สมาชิกทุกคนได้นำกลับไปครัวเรือนของตน
  3. ตัวแทนครัวเรือนได้เพาะเห็นฟางครัวเรือนละ 6 ตะกร้า นำกลับไปบริบาลที่บ้านของตนพร้อมผ้ายางที่ใช้คลุมเพื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตต่อไป

กิจกรรมหลัก : การทำปุ๋ยหมักชีวภาพi

5,400.00 20 ผลผลิต

ตัวแทนครัวเรือนทุกคนมีความรู้ในการทำปุ๋ยหมักและสามารถปฎิบัติได้ มีการซักถามวิทยารกรเพิ่มเติมจนเกิดความรู้จนชัดเจนคณะทำงานได้ปฎิจริงโดยเป้าหมายคือสามารถทำเป็นอาชีพได้ เกิดเป็นผู้นำตามธรรมชาติที่ได้ช่วยเหลือกันทำกิจกรรม ทุกคนมีความรัก สามัคคี ไม่มีความขัดแย้ง และค้างคาใจเป็นวิถีชีวิตจริงเพราะทุกคนเป็นเกษตรกร หรือเกษตรเป็นอาชีพหลักหรืออาชีพที่สองกันทุกคน ทุกครัวเรือนนำความรู้เรื่องประโยชน์ของปุ๋ยหมัก  เพราะชุมชนตลาดศุกร์ เป็นชุมชนที่ให้เกียรติกัน เข้าใจความเป็นมนุษย์ เข้าใจความแตกต่าง และเข้าใจการที่ต้องพยายามพัฒนาไปสู่เป้าหมายของเกษตรกร


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ครัวเรือนมีความรู้และร่วมกันลงมือการทำปุ๋ยหมัก เกิดภาวะผู้นำทางธรรมชาติ เกิดการยอมรับให้เกียรติกันในสังคม ในชุมชนมากขึ้น

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

ตัวแทนครัวเรือน แกนนำ จำนวน 20 คน

5,400.00 5,400.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ตัวแทนครัวเรือนทุกคนมีความรู้ สามารถปฎิบัติได้และได้ซักถาม เพิ่มเติมความรู้จนชัดเจน
  2. คณะทำงานได้ปฎิบัติจริงและสามารถทำเป็นอาชีพได้
  3. คณะทำงานได้ช่วยเหลือ และเป็นผู้นำตามธรรมชาติที่ได้ช่วยเหลือกันทำกิจกรรม
  4. คณะทำงานมีความเด่นจากการได้ปฎิบัติจริง
  5. ทุกคนมีความรัก สามัคคี ไม่มีความขัดแย้ง และค้างคาใจ
  6. ทุกคนอย่างรู้เรื่องอาชีพอื่นๆในครั้วต่อไป
  7. คณะทำงานมีความรู้ที่ปฎิบัติได้จริง และเป็นวิถีชีวิตจริงเพราะทุกคนเป็นเกษตรกร หรือเกษตรเป็นอาชีพหลักหรืออาชีพที่สองกันทุกคน ทุกครัวเรือน
  8. นำความรู้เรื่องประโยชน์ของปุ๋ยหมัก จุลินทรีย์ชีวภาพ พด. ที่เป็นสารเร่งของสถานีพัฒนาที่ดินกระทรวงเกษตรที่เคยได้ยิน แต่ไม่เคยปฎิบัติทำปุ๋ยหมักจริง
  9. คณะทำงานทุกคนมีความรักความสามัคคี เพราะชุมชนตลาดศุกร์ เป็นชุมชนที่ให้เกียรติกัน เข้าใจความเป็นมนุษย์ เข้าใจความแตกต่าง และเข้าใจการที่ต้องพยายามพัฒนาไปสู่เป้าหมายของเกษตรกร
  10. คณะทำงานช่วยกันสร้รางความเข้มแข็งร่วมกัน
  11. คณะทำงานทำปุ๋ยหมักที่ค่อนข้างเชี่ยวชาญ ชำนาญสามารถนำไปใช้ในครัวเรือน ในการปลูกผักทำให้ผักที่ได้มีคุณภาพ ปลอดสารพิษ
  12. คณะทำงาน และสมาชิก ได้รับความรู้และลงมือทำในเรื่องของการทำน้ำยาไล่และกำจัดแมลง สมาชิกครัวเรือนร้อยละ 90 สามารถนำไปใช้ในกิจกรรมการปลูกผักของตนเองได้เป็นอย่างดี

กิจกรรมหลัก : ถ่ายทอดความรู้การคัดแยกขยะi

12,700.00 60 ผลผลิต

ตัวแทนครัวเรือนมีความรู้ความเข้าใจและมีความตระหนักและสามารถแยกชยะเป็นขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคิล และขยะอันตรายได้ มีความสนใจ มีความรู้และทำปุ๋ยหมัก น้ำหมักชีวภาพ มีความรู้ ความเข้าใจ สนใจการเลี้ยงไส้เดือนมากโดยการสอบถามวิทยากรเพื่อจะนำไปประกอบการเลี้ยงในครัวเรือนสาธิตการทำน้ำยาอเนกประสงค์พร้อมเอกสารใบความรู้ของ ธกส. และนำไปใช้ทุกครัวเรือนๆละ 2 ขวด


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ครัวเรือมีความเข้าใจในการคักแยกขยะ และตระหนักในเรื่องของการจำแนกขยะ เปียก ขยะแก้งและสามารถนำขยะไปทำน้ำยาได้

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

กลุ่มเครือข่าย 42 ครัวเรือน  กลุ่มผู้สนใจ 20 ครัวเรือน  เจ้าหน้าที่เทศบาลตำบลพรหมโลก 1 คน  และสมาชิกชุมชนใกล้เคียง 3 คน

12,700.00 12,940.00 60 66 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ตัวแทนครัวเรือนมีความรู้ความเข้าใจ  มีความตระหนักและสามารถแยกชยะเป็นขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคิล และขยะอันตรายได้
  2. ตัวแทนครัวเรือนมีความสนใจ มีความรู้และทำปุ๋ยหมัก น้ำหมักชีวภาพได้
  3. ตัวแทนครัวเรือนมีความรู้ ความเข้าใจ สนใจการเลี้ยงไส้เดือนมาก และสอบถามวิทยากรเพื่อจะนำไปประกอบการเลี้ยงในครัวเรือนต่อไป
  4. ตัวแทนครัวเรือนสนใจการสาธิตการทำน้ำยาอเนกประสงค์พร้อมเอกสารใบความรู้ของ ธกส. และนำไปใช้ทุกครัวเรือนๆละ 2 ขวด

กิจกรรมหลัก : การเพาะพันธุ์ผัก ไม้ดอกi

3,000.00 60 ผลผลิต

ตัวแทนครัวเรือนมีความรู้ความเข้าใจในการเพาะพันธ์ุผัก และไม้ดอกมากขึ้นและได้พันธ์ุผักไปปลูกที่บ้านครัวเรือนละ 1 แผง ตลอดจนการใช้ปุ๋ยหมัก และสารปราบศัตรูพืชที่ผลิตขึ้นมาเอง โดยการนำวัสดุที่เหลือ เศษใบไม้ มาทำการหมักทำปุ๋ยใช้เองอย่างทั่วถึง


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

เกิดดอกไม้ สวยงามบริเวณบ้านและชุมชน ครัวเรือนเพาะพันธ์ขึ้นมาเเอง

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

ตัวแทนครัวเรือน 60 คน

3,000.00 3,000.00 60 60 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ตัวแทนครัวเรือนมีความรู้ความเข้าใจในการเพาะพันธ์ุผัก และไม้ดอกมากขึ้นและได้พันธ์ุผักไปปลูกที่บ้านครัวเรือนละ 1 แผง

กิจกรรมหลัก : แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และติดตามผลi

28,800.00 60 ผลผลิต

ครัวเรือนได้เกิดการเรียนรู้แลกเปลี่ยนแปลง โดยการนำผลการดำเนินงานของครัวเรือนตนเองเปรียบเทียบกับครัวอื่นที่ได้นำผลงานมานำเสนอในเวทีที่ประชุม เช่นเรื่องของการทำบัญชีครัวเรือน ซึ่งยังมีปรากฏว่าทำไม้ครบทุกครัวเรือน เมื่อเห็นตัวแทนครัวเรือนคนอื่นทำ ก็มีความตระหนักว่าจะกลับไปทำบ้าง รวมทั้งได้ทบทวนความรู้ ความรู้สึกและบรรยากาศที่ร่วมกิจกรรม

ในการดำเนินกิจกรรมการปลูกพืชแบบเศรษฐกิจพอเพียงและการถ่ายทอดบัญชีครัวเรือนในนักเรียนมัธยมโรงเรียนบ้านคลองแควจำนวน 26 คน ทำให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการเพาะเห็ดฟาง การทำปุ๋ยหมัก และการทำบํญชีครัวเรือน  และตัวแทนได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการทำบัญชีครัวเรือนและยังเล่าประสบการณ์แกนักเรียนนักเรียนมัธยมโรงเรียนบ้านคลองแควกลุ่มเป้าหมาอื่นอีกด้วย ตัวแทนครัวเรือนมีความตระหนักในการจัดบริเวรบ้าน การปลูกพืชผักและเห็นคุณค่าของโครงการและการจัดกิจกรรมสร้างงาน สร้างรายได้ ร่วมมือรู้รักสามัคคีทำการเกษตรแบบชีวภาพทำให้สภาพแวดล้อมและคนในชุมชนสุขภาพดี แข็งแรง สามารถที่สำคัญมีการถ่ายทอดความรู้ให้กับเยาวชนในครัวเรือนได้อย่างดี


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

เกิดการถ่ายทอดความรู้ด้านการทำบัญชีครัวเรือน ทั้งในชุมชนและโรงเรียน  การปลูกผัก การปลูกไม้ดอกไม้ประดับ

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 5 ครั้ง

ตัวแทนครัว 60 ครัวเรือน

7,200.00 7,200.00 60 60 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ตัวแทนครัวเรือนได้ชมผลงานของตัวแทนครัวเรือนคนอื่นที่ได้นำผลงานมา ผลจากผลจากสอบถามเรื่องการทำบัญชีครัวเรือนปรากฎว่าก็ยังทำไม้ครบทุกครัวเรือน แต่เมื่อเห็นตัวแทนครัวเรือนคนอื่นทำก็มีความตระหนักว่าจะกลับไปทำบ้าง

ตัวแทนครัวเรือนจำนวน 60 คน และสมาชิกในชุมชน 3 คน

7,200.00 7,560.00 60 63 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. สมาชิกทุกคนได้ทบทวนความรู้ ความรู้สึกและบรรยากาศที่ร่วมกิจกรรม
  2. สมาชิกได้ความรู้เพิ่มเติม และรู้ปัญหาเพิ่มเติม
  3. สมาชิกได้รู้สาเหตุที่กิจกรรมบางอย่างประสบผลสำเร็จไม่มากพอ และวิธีการของแต่ละคนที่ใช้กแ้ปัญหาต่างๆ
  4. สมาชิกจากตัวแทนครัวเรือนนำไปใช้และประยุกต์ใช้ในรูปแบบต่างๆ
  5. ตัวแทนครัวเรือนแนะนำชักจูงครัวเรือนในชุมชนใกล้เคียงต่อๆกันไป

ตัวแทนครัวเรือน 60 คน และนักเรียนโรงเรียนบ้านคลองแคว 26 คน

7,200.00 8,240.00 60 86 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

นักเรียนมัธยมโรงเรียนบ้านคลองแควจำนวน 26 คน มีความรู้ความเข้าใจในการเพาะเห็ดฟาง การทำปุ๋ยหมัก และการทำบํญชีครัวเรือน  และตัวแทนได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการทำบัญชีครัวเรือนและยังเล่าประสบการณ์แกนักเรียนนักเรียนมัธยมโรงเรียนบ้านคลองแควอีกด้วย

-คณะกรรมการและผู้รับผิดชอบโครงการ

0.00 0.00 4 4 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-รายงานการเงินและบัญชีถูกต้องตรงตามกิจกรรม

ตัวแทนครัวเรือน จำนวน 60 คน
เจ้าหน้าที่จากเทศบาลตำบลพรหมโลก
เจ้าหน้าที่เกษตร

7,200.00 7,200.00 60 60 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ตัวแทนครัวเรือนมีความตระหนักในการจัดบริเวรบ้าน การปลูกพืชผักและเห็นคุณค่าของโครงการและการจัดกิจกรรมสร้างงาน สร้างรายได้ ร่วมมือรู้รักสามัคคีทำการเกษตรแบบชีวภาพทำให้สภาพแวดล้อมและสุขภาพดี แข็งแรง สามารถถ่ายทอดให้เยาวชนในครัวเรือนได้อย่างดีและยังแสดงความพึงพอใจที่มีข่าวว่ามีการผลักดันเรื่องราคามังคุดที่จะสามารถเก็บผลผลิตได้ในไม่กี่วัน

กิจกรรมหลัก : การบริหารจัดการโครงการร่วมกับ สสส./สจรส.มอ.i

13,000.00 5 ผลผลิต

เกิดการประสานงานระหว่างพี่เลี่ยงโครงการและผู้รับผิดชอบโครงการ ทำให้เกิดการดำเนินงานเป็นไปตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายของโครงการ ลดและป้องกันความผิดพลาดที่เกิดจากการทำงาน เช่น การทำกิจกรรม การลงทะเบียนการเงิน การบัญชี การสรุปและถอดบทเรียน สำหรับเป็นรูปแบบการดำเนินงานของพื้นที่โครงการ


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

การดำเนินงานเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการ ปัญหาในการดำเนินงานต่าง ๆ ในโครงการได้รับการแก้ไขปรับปรุงทันตามเวลา มีการสรุปผลและถอดบทเรียน การดำเนินงานตามโครงการ โดยการทำรายงานเสนอผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 7 ครั้ง

ตัวแทนโครงการ 3 คน

800.00 800.00 3 3 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้รับคำแนะนำจากพี้เลี้ยงและเจ้าหน้าที่จากสจรส.มอ.

คณะกรรมการผู้รับผิดชอบโครงการ

800.00 800.00 3 3 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะกรรมการผู้รับผิดชอบโครงการทั้ง 3 คนมีความเข้าใจในการจัดทำเอกสารต่างๆ และได้เล่าความก้าวหน้าของโครงการ

นัดติดตามความก้าวหน้าผลการดำเนินงาน และตรวจสอบเอกสาทางการเงิน หลักฐานต่าง ๆ สอดคล้องกับแผนการดำเนินงาน

800.00 0.00 3 3 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

หลักฐานทางการเงินสอดและคล้องกับแผนการดำเนินงาน เอกสารและรายงานทางการเงินถูกตองตรงเป้าหมาย แนะนำเรื่องบันทึกรายงานให้ละเอียดตรงตามเป้าหมายของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงาน

800.00 1,000.00 3 5 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานมีความเข้าใจในการทำเอกสารต่างๆ เพื่อให้ถูกต้องตามระเบียบ

คณะกรรมการโครงการและผู้เกี่ยวข้องในกิจกรรม

1,000.00 0.00 5 0 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลการดำเนินงาน คณะกรรมการได้นำและเอกสาร และการตรวจสอบผ่านระบบเครือข่าย ทบทวนการทำรายงานการเงิน ให้ตรงกับกิจกรรม

ตัวแทนครัวเรือน 30 ครัวเรือน

8,100.00 8,100.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

คณะทำงานโครงการ 3 คน

857.00 840.00 3 3 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จัดทำเอกสารได้ถูกต้องและได้จัดทำรายงานเสร็จสมบูรณ์

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

 

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

 

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

 

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
ปุ๋ยหมักจากวัสดุเพาะเห็ด

วัสดุในการเพาะเห็ดส่วนมากเมื่อ เสื่อมสภาพแล้วนำไปทิ้งไร้คุณค่า ทางโครงการได้นำเศษวัสดุมาทำการเพาะเห็ดแทนการสูญเปล่า

ครัวเรือนได้ลดค่าใช้จ่ายในการซื้อปุ๋ยเคมี และการใช้วัสดุที่เหลืออย่างชาญฉลาด

2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
การทำบัญชีครัวเรือนในโรงเรียน

สอนการทำบัญชีครัวเรือนให้แก่นักเรียน

เด็กนักเรียน นำบัญชีครัวเรือนไปใช้ในครัวเรือนของตนเอง เป็นการส่งเสริมและขัดเกลาให้ผู้ปกครองเห็นความสำคัญมากขึ้นในเรื่องของการทำบัญชีครัวเรือน

2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
นายพิชาน สำอางศรี 2 หมู่ที่ 4 ตำบลพรหมโลก อำเภอพรหมคีรี จังหวัดนครศรีธรรมราช

กระตุ้นให้เกิดกิจกรรมดี ๆ โดยเฉพาะกิจกรรมตามแนวทาง ศก.พอเพียง และสามารถประสานงานกับหน่วยงานและส่วยราชการได้อย่างดี

2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ชุมชนบ้านตลาดศุกร์  หมู่ที่ 2

เป็นพื้นที่ที่ปลอดบุหรี่อย่างถาวร เช่น ศาลาหมู่บ้าน บ้านและที่ทำการต่าง ๆ

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

 

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

 

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

 

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

 

2.2 การใช้จ่ายเงิน

 

2.3 หลักฐานการเงิน

 

ผลรวม 0 0 0 0
ผลรวมทั้งหมด 0 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

โครงการนี้ดำเนินการได้ตามเป้าหมายและแผนที่วางไว้ มีแนวโน้มเกิดความสำเร็จตามวัตถุประสงค์โครงการ

สร้างรายงานโดย นายอภิวัฒน์ ไชยเดช