แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ วัฒนธรรมไทยสายใยชุมชน ”

วัดมาตุคุณารามและหมู่บ้านทุกหมู่บ้าน ในตำบลกระโสม ตำบลใกล้เคียง อำเภอตะกั่วทุ่ง

หัวหน้าโครงการ
นายประวิทย์ เจริญงาน

ชื่อโครงการ วัฒนธรรมไทยสายใยชุมชน

ที่อยู่ วัดมาตุคุณารามและหมู่บ้านทุกหมู่บ้าน ในตำบลกระโสม ตำบลใกล้เคียง อำเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัด พังงา

รหัสโครงการ 56-01494 เลขที่ข้อตกลง 56-00-0901

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2013 ถึง 30 กันยายน 2014


กิตติกรรมประกาศ

"วัฒนธรรมไทยสายใยชุมชน จังหวัดพังงา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน วัดมาตุคุณารามและหมู่บ้านทุกหมู่บ้าน ในตำบลกระโสม ตำบลใกล้เคียง อำเภอตะกั่วทุ่ง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
วัฒนธรรมไทยสายใยชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการ " วัฒนธรรมไทยสายใยชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ วัดมาตุคุณารามและหมู่บ้านทุกหมู่บ้าน ในตำบลกระโสม ตำบลใกล้เคียง อำเภอตะกั่วทุ่ง รหัสโครงการ 56-01494 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2013 - 30 กันยายน 2014 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 146,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 100 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมอนุรักษ์และสืบสานศิลป วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นให้ยั่งยืน
  2. เพื่อพัฒนาศิลปวัฒนธรรมของชุมชนให้เป็นจุดขายแก่นักท่องเที่ยวโดยเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจสร้างสรรค์
  3. เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานและพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมประจำเดือน

    วันที่ 10 ตุลาคม 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมคณะกรรมการ (ผู้นำท้องถิ่น ผู้สูงอายุ และเยาวชน) เพื่อรับทราบรายละเอียดโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. คณะกรรมการเห็นความสำคัญของกิจกรรมมด้านศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น
    2. คณะกรรมการพิจารณาและเสนอรายชื่อผู้รู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ควรสัมภาษณ์

     

    20 20

    2. ประชุมประจำเดือน

    วันที่ 10 พฤศจิกายน 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมคณะกรรมการ (ผู้รับผิดชอบโครงการ ผู้นำท้องถิ่น  แกนนำผู้สูงอายุ และเยาวชน) เพื่อพิจารณากิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรมในท้องถิ่น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. คณะกรรมการเสนอกิจกรรมด้านมด้านศิลปวัฒนธรรมในท้องถิ่น
    2. คณะกรรมการร่วมกันพิจารณากิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรมในท้องถิ่นและสรุปได้ ดังนี้

    2.1  พิธีกรรมและ  ความเชื่อ
    2.2  ประเพณีวัฒนธรรม พื้นบ้าน 2.3  โบราณสถาน 2.4  โบราณวัตถุ
    2.5  สถาปัตยกรรมและประติมากรรม 2.6  อาหารพื้นบ้าน 2.7  อาชีพในท้องถิ่น 2.8 สิ่งประดิษฐ์ 2.9 การละเล่นพื้นบ้าน 2.10 เพลงพื้นบ้าน 2.11 การแสดงพื้นบ้าน 2.12 สมุนไพรพื้นบ้าน

     

    20 20

    3. ประชุมประจำเดือน

    วันที่ 10 ธันวาคม 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมคณะกรรมการ (ผู้รับผิดโครงการ ผู้นำท้องถิ่น ผอ.รร. ผู้สูงอายุ และเยาวชน) เพื่อคัดเลือกผู้รู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ตามประเภทของศิลปวัฒนธรรมที่กำหนดจากกการประชุมครั้งที่แล้ว

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. คณะกรรมการได้พิจารณาผู้รู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น ด้านศิลปวัฒนธรรม ดังนี้
      -ความเชื่อ/พิธีกรรม การทำภูมิบ้าน เกษม นายสุทธิวงค์ ช่วงโชติ

    - การตั้งศาลพระภูมิ ถาวร แสวงทรัพย์
    -ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น กินผัก นายสุจินต์ สุขศิริสัมพันธ์ เจ้าอาวาสวัดมาตุคุณาราม ลากพระ สวดตลาด ห่มผ้าพระธาตุเจดีย์ เจ้าอาวาสวัดมาตุคุณาราม แข่งเรือยาว นายบุญหอ เจนการ ลอยกระทง
    -สถาปัตยกรรม โบสถ์วัดมาตุคุณารามบัว ตระกูล ณ นครตึกเก่าตลาดใต้ เจ้าอาวาสวัดมาตุคุณารามนายสุรพงษ์  ณ นคร น.ส.แสงเดือน ถิ่นเกาะยาวน.ส. นันศยา ทองสกุล เจ้าอาวาสวัดมาตุคุณารามนายสถาพร (ครูหยก) - ประติมากรรม พระพุทธรูปประธานวัดมาตุคุณารามพระพุทธรูปวัดเก่ากิ้มซิน(องค์พระในศาลเจ้า เจ้าอาวาสวัดมาตุคุณารามพระครูรัตนเขตตาภิรักษ์ - โบราณสถาน เจดีย์วัดมาตุคุณารามประวัติเมืองเก่าศาลเจ้า เจ้าอาวาสวัดมาตุคุณาราม - - โบราณวัตถุ สิ่งของเครื่องใช้(ของเก่าวัดมาตุคุณาราม และในชุมชนป้ายศาลเจ้าเก่ว เจ้าอาวาสวัดมาตุคุณาราม - การละเล่นพื้นบ้าน อ่าวหวาย  โบ้ยอุด เล้าเดอร์  เป่ากบ  ทอยราว  เรือบินฉุด  ลากตอก เรือบกวิ่งเปี้ยว              ฉับโผล๊ะ เอ็ดสป้อย  เข้ขึ้นบก            หมาชิงเสา  ผันอีแปะ จี้จับจี้เจียว หมากฉับปุก              จ้ำจี้จ้ำจวด แมงมุมจุ้มหลังคาตีคลี ลูกตลก ตุ๊กตานั่งกิด            ปิดตาซ่อนหา  นายอุทัย วิศาล นางจันทรา คันธานนท์ นายอนันต์  ใจเย็น น.ส.ภัทราวดี เนาวนัด - เพลงพื้นบ้าน เพลงกล่อมเด็ก นางประณีต /นางละออ น.ส.อรัญญา ทองสกุล - การแสดงพื้นบ้าน ระบำใบจาก นางกอบเกื้อ อันติมานนท์ น.ส.อรัญญา ทองสกุล - อาหารพื้นบ้าน ขนมอ่าโป้ง อุ๋ย น.ส.กฤษณา เพชรประสงค์ ขนมเบื้อง นางสุมล  ช่อแก้ว
    ขนมผิง นางสุมาลี ชวนชม
    ขนมคู น.ส.ประพิศ ทวีศักดิ์
    ขนมจาก นางจินตนา กุลพันธ์
    เป่าหล้าง นางปานตา อุดม
    ขนมขี้หนู นางนิตยา ณ นคร
    ไส้กรอก
    ขนมจีน นางกอบกุล  สนใจ
    น้ำชุบ นางจิตรา ไอยรา
    เหมี้ยงลาว นางเยาวลักษณ์ มุขแก้ว
    สมุนพื้นบ้าน พืช/ผักสมุนไพร นางสุภาณี ใจเย็น นายประจวบ น.ส.กฤษณา เพชรประสงค์


    ตะกร้า นางเฉลิม  ก้อนทอง
    กระจาด นายสมคิด  ศุภนาม
    บายศรี นางเย็นจิตต์ พัฒนพิชัย
    ดอกไม้เกล็ดปลา นางอารมณ์  วิศาล
    - อาชีพในท้องถิ่น ตัดยอดจาก น.ส.อุษา สุวรรณกุล
    ทำใบจาก น.ส. ลำดับ ณรงค์
    ตกปู นาย อ้วน
    ตีกัด

     

    20 20

    4. ประชุมประชาสัมพันธ์สร้างความเข้าใจแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง

    วันที่ 21 ธันวาคม 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมสร้างความตระหลักโดยการระดมความคิดเห็น เกี่ยวกับ การอนุรักษ์ และการสืบสาน ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี ในท้องถิ่น จัดกลุ่มประเภท หมวด  ของศิลปวัฒนธรรม ประเพณี ในท้องถิ่น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สรุปกิจกรรม และจัดหมวดหมู่ ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี ในท้องถิ่น ได้ 13 ประเภท ดังนี้

    1. ความเชื่อ/พิธีกรรม เช่น การทำภูมิบ้าน  การตั้งศาลพระภูมิ
    2. ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น เช่น กินผัก ลากพระ ห่มผ้าพระธาตุเจดีย์ แข่งเรือยาว ลอยกระทง สงกรานต์ วันตรุษจีน
    3. สถาปัตยกรรม เช่น โบสถ์วัดมาตุคุณาราม บัวตระกลู ณ นคร  ตึกเก่าตลาดใต้
    4. ประติมากรรม เช่น พระพุทธรูปประธานวัดมาตุคุณาราม พระพุทธวัดเก่า กิ้ทชิน(องค์พระในศาลเจ้า)
    5. โบราณสถาน เช่น เจดีย์วัดมาตุคุณาราม ประวัติเมืองเก่า ศาลเจ้า ป่าไทรวัดเก่า
    6. โบราณวัตถุ เช่น สิ่งของเครื่องใช้(ของเก่าวัดมาตุคุณาราม และในชุมชน ป้ายศาลเจ้าเก่า)
    7. การละเล่นพื้นบ้าน เช่น อ่าวหวาย โบ้ยอุด เล้าเดอร์ เป่ากบ ทอยราว เรือบินฉุด ลากตอก เอ็ดสป้อย เรือบก วิ่งเปี้ยว ฉับโผล๊ะ เข้ขึ้นบก หมาชิงเสา ผันอีแปะ จี้จับตี้เจียว หมากฉับปุก จ้ำจี้จ้ำจวด แมงมุมจุ้มหลังคา ตึีคลี ลูกตลก ตุ๊กตานั่งกิด ปิดตาซ่อนหา
    8. เพลงพื้นบ้าน เช่น เพลงกล่อมเด็ก
    9. การแสดงพื้นบ้าน เช่น เพลงกล่อมเด็ก
    10. อาหารพื้นบ้าน เช่น ขนมอ่าโป้ง ขนมเบื้อง ขนมผิง ขนมคู ขนมจาก เป่าหล้าง ขนมขี้หนู ไส้กรอก ขนามจีน น้ำชุป เหมี้ยงลาว
    11. ผักพื้นที่บ้าน เช่น พืช/ผักสมุนไพร
    12. ด้านสิ่งประดิษฐ์ในท้องถิ่น เช่น กันหม้อ ตะกร้า กระจาด ยสบศรี ดอกไม้เกล็ดปลา
    13. อาชีพในท้องถิ่น เช่น ตัดยอดจาก ทำในจาก ตกปู ตีกัด แต่ละประเภท มีผู้รับผิดชอบ    มีผู้รู้ภูมิปัญญา  และ ที่ปรึกษา

     

    100 100

    5. สัมภาษณ์ ผู้รู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และบันทึกข้อมูล

    วันที่ 28 ธันวาคม 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมชี้แจงอาสาสมัครที่จะสืบค้นข้อมูล ตามแบบฟอร์มการสำรวจ
    2. แนะนำข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่นแต่ละประเภท 13 ประเภท
    3. แนะนำผู้รู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นและที่ปรึกษา
    4. ผู้รู้ภูมิปัญญาแต่ละด้าน จับคู่ กับเด็กเยาวชนในชุมชน 10 คู่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. อาสาสมัครมีความรู้และเข้าใจ วิธีการเก็บและบันทึกข้อมูล ตามแบบสำรวจ
    2. ผู้รู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นให้ความสำคัญและร่วมมืในการให้ข้อมูล
    3. กำหนดระยะเวลาในการเก็บข้อมูล

     

    20 20

    6. ประชุมประจำเดือน

    วันที่ 10 มกราคม 2014 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมคณะกรรมการ (ผู้รับผิดโครงการ เจ้าอาวาส ผู้นำท้องถิ่น ผู้สูงอายุ ) กำหนดรูปแบบการจัดประชุมดังนี้ 1. วิทยากรผู้เชี่ยวชาญให้ความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น 2. การแสดงพื้นบ้าน 3. แลกเปลี่ยนเรียนรู้การสืบค้นข้อมูล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. คณะกรรมการเห็นชอบให้เชิญวิทยากรเชี่ยวชาญมาให้ความรู้ จาก ม.ราชภัฎภูเก็ต คือ อ.สมหมาย ปิ่นพุทธศิลป์
    2. การแสดงพื้นบ้านเกี่ยวกับ อาชีพในท้องถิ่น คือ การแสดงชุด ระบำกรีดยาง
    3. อาสาสมัครที่ไปสืบค้นข้อมูล มานำเสนอข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้

     

    20 17

    7. ประชุมให้ความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และจัดแสดงศิลปพื้นบ้าน

    วันที่ 19 มกราคม 2014 เวลา 09:00 - 12.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • เวลา 09.00- 09.30 น.พิธีเปิด โดย เจ้าอาวาสวัดมาตุคุณาราม
    • เวลา 09.30-10.00 น ชุดการแสดงเปิดงาน ระบำกรีดยาง
    • เวลา 10.30-12.00 น.นักเรียนแสดงกิจกรรมการละเล่นพื้นบ้าน หมากเก็บ  เป่ากบ  ตักเม็ดขะขาม
    • เวลา 10.00-12.00 น.วิทยากรผู้เชี่ยวชาญให้ความรู้เกี่ยวกับ ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี ท้องถิ่นและการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น
                                    ภูมิปัญญาท้องถิ่นขับเพลงกล่อมเด็ก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

      ผู้เข้าร่วมงาน มีความตระหนักเห็นคุณค่า และให้ความสำคัญในการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น และร่วมมือในการอนุรักษ์ เช่น การสืบสานอนุรักษ์วัฒนธรรมเพิ่มขึ้น

     

    100 110

    8. คืนเงินเปิดบัญชี

    วันที่ 19 มกราคม 2014 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คืนเงินเปิดบัญชีโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นำเงินค่าเปิดบัญชีโครงการคืนให้กับเจ้าหนี้

     

    2 2

    9. ประชุมประจำเดือน

    วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2014 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ชี้แจงกำหนดการจัดกิจกรรม มอบหมายผู้รับผิดชอบแต่ละกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

      มีกำหนดการจัดกิจกรรมที่ชัดเจน   มีผู้รับผิดชอบกิจกรรมแต่ละกิจกรรมทุกครบทุกกิจกรรม

     

    20 20

    10. จัดทำไวนีล และถ่ายภาพกิจกรรม

    วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2014 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำป้ายไวนีลสถานที่นี้ปลอดบุหรี่ และอัดขยายภาพกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการติดตั้งและจัดพื้นที่ปลอดบุหรี่ในชุมชน มีหลักฐาน(ภาพถ่าย)การดำเนินกิจกรรมในโครงการ

     

    2 2

    11. จัดกิจกรรมวันมาฆบูชา และประเพณีแห่ผ้าห่มพระธาตุเจดีย์ และจัดนิทรรศการ

    วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2014 เวลา 07:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ปฎิบัติกิจกรรมทางศิลปวัฒนธรรมประเพณีของชุมชนโดยให้ชุมชนร่วมกันวางแผนทำกิจกรรม ดังนี้ - ผู้สูงอายุลงทะเบียนปฎิบัติกิจกรรมทางศาสนา - กิจกรรมแห่ผ้าห่มพระบรมธาตุเจดีย์ - ทำพิธีมาฆบูชาเวียนเทียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้สูงอายุวัดมาตุคุณารามให้ความสนใจเข้าร่วมกิจกรรมปฎิบัติธรรมวันมาฆบูชาพุทธประทีป เป็นจำนวนมากและปฎิบัติเป็นเวลา 3 วัน 3 คืน  ตั้งแต่ วันที่ 13 - 16 กุมภาพันธ์   ประชาชนในท้องถิ่น  นักเรียน/นักศึกษา เข้าร่วมกิจกรรมแห่ผ้าห่มพระบรมธาตุเจดีย์ด้วยความตระหนักและให้ความสำคัญกับขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนาธรรมของท้องถิ่น   ประชาชนในท้องถิ่น  นักเรียน/นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมพุทธประทีปมาฆบูชาและร่วมเวียนเทียนตอนกลางคืนด้วยความสนใจ

     

    300 320

    12. จัดนิทรรศการเเลกเปลี่ยนเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรม

    วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2014 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ปฎิบัติกิจกรรมทางศิลปวัฒนธรรมประเพณีของชุมชนโดยให้ชุมชนร่วมกันวางแผนทำกิจกรรม ดังนี้ - ผู้สูงอายุลงทะเบียนปฎิบัติกิจกรรมทางศาสนา - กิจกรรมแห่ผ้าห่มพระบรมธาตุเจดีย์ - ทำพิธีมาฆบูชาเวียนเทียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้สูงอายุวัดมาตุคุณารามให้ความสนใจเข้าร่วมกิจกรรมปฎิบัติธรรมวันมาฆบูชาพุทธประทีป เป็นจำนวนมากและปฎิบัติเป็นเวลา 3 วัน 3 คืน  ตั้งแต่ วันที่ 13 - 16 กุมภาพันธ์   ประชาชนในท้องถิ่น  นักเรียน/นักศึกษา เข้าร่วมกิจกรรมแห่ผ้าห่มพระบรมธาตุเจดีย์ด้วยความหระหนักและให้ความสำคัญกับขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนาธรรมของท้องถิ่น   ประชาชนในท้องถิ่น  นักเรียน/นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมพุทธประทีปมาฆบูชาและร่วมเวียนเทียนตอนกลางคืนด้วยความสนใจ

     

    150 160

    13. ประชุมประจำเดือน

    วันที่ 10 มีนาคม 2014 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประธานชี้แจงวัตถุประสงค์การประชุม
    2. สรุปผลการดำเนินงานของโครงการและการใช้จ่ายงบประมาณ โครงการงวดที่ 1
    3. การดำเนินงานตามกิจกรรมครั้งต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. การดำเนินการสำรวจภูมิปัญญาท้องถิ่น ได้ข้อมูล แต่ละด้าน ดังนี้
          - ด้านพิธีกรรมและความเชื่อ     - ด้านประเพณีท้องถิ่น     - ด้านศิลปการแสดง     - ด้านอาชีพ     - ประวัิตศาสตร์ท้องถิ่น     - อาหารท้องถิ่น     - สิ่งประดิษฐ์ในท้องถิ่น     - วัตุถโบราณ     - โบราณสถาน

     

    20 20

    14. ประชุมประจำเดือน

    วันที่ 10 เมษายน 2014 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประธานสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมา 2.นำเสนอข้อมูลที่ได้จากการสำรวจและให้ที่ประชุมพิจารณาเนื้อหา ความถูกต้องของข้อมูล 3.มีข้อมูลบางประเภทไม่ชัดเจนได้มอบหมายให้ผู้รู้ไปเก็บข้อมูลเพิ่มเติมนำมาเสนอในเดิอนต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.สรุปข้อมูลที่ได้จากการสำรวจแบ่งเป็น ดังนี้   1) ภูมิปัญญาท้องถิ่น ด้านความเชื่อ   2) ด้านศิลปการแสดงพื้นบ้าน   3) ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น   4) การละเล่นพื้นบ้าน   5) อาหารพื้นบ้าน   6) โบราณสถาน 2. ออกแบบรูปเล่มเอกสาร
    3. จัดทำทะเบียน  

     

    20 20

    15. ประชุมประจำเดือน

    วันที่ 10 พฤษภาคม 2014 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประธานสรุปผลการดำเนินงาน และให้ที่ประชุมนำเสนอข้อมูลแต่ละประเภท

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดหมวดหมู่ของข้อมูลแต่ละประเภทและปรับปรุงข้อมูล จัดทำทะเบียนข้อมูลแต่ละประเภท

     

    20 20

    16. ประชุมคณะทำงานโครงการ

    วันที่ 22 พฤษภาคม 2014 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประธานชี้แจงการเตรียมการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ แจ้งกำหนดการ มอบหมายภารกิจเพื่อเตรียมการจัดกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

      ทำกหนดการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้

     

    20 20

    17. รวบรวมข้อมูล จัดทำทะเบียน และรูปเล่มศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น

    วันที่ 8 มิถุนายน 2014 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประธานติดตามผลงานที่มอบหมาย แบ่งกลุ่มรับผิดชอบจัดทำเอกสารและทะเบียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดทำเอกสารและทะเบียนข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่นแต่ละประเภท

     

    20 20

    18. ประชุมประจำเดือน

    วันที่ 10 มิถุนายน 2014 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานจัดทำเอกสารและจัดทำทะเบียนข้อมูล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

      จัดทำทะเบียนพิพิธภัณฑ์   จัดทำเอกสารแต่ละประเภท

     

    20 20

    19. ประชุมประจำเดือน

    วันที่ 10 กรกฎาคม 2014 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกรรมการจัดทำข้อมูลแต่ละหใวดตามที่รับผิดชอบ จัดหมวดหมู่ข้อมูลลงทะเบียนข้อมูล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

      จัดระบบข้อมูลแต่ละหมวด   จัดพิพิธภัณฑ์   จัดทำร่างเอกสารแต่ละเล่ม

     

    20 20

    20. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และคืนข้อมูลสู่ชุมชน

    วันที่ 9 สิงหาคม 2014 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    พิธีเปิด โดยปลัดอำภอ
    การแสดงศิลปพื้นบ้านระบำใบจาก การสาธิตอาชีการทำใบจาก
    สาธิตการทำกันหม้อ การละเล่นพื้นบ้าน การเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์พื้นบ้านวัดมาตุคุณาราม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สรุปผลการจัดกิจกรรมประชาชนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้  เกี่ยวขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่น  พิธีกรรมและความเชื่อ การทำอาชีพในท้องถิ่นและมีการฝึกทำไปยังคนรุ่นหลัง รวมกลุ่มจัดทำสิ่งประดิษฐ์ กันหม้อ เป็นของใช้  ของชำร่วย ผลงานศิลปการแสดงพื้นบ้านที่คิดประดิษฐ์ท่ารำจากอาชีพการทำใบจากของคนในท้องถิ่น และจัดทำเสียงดนตรีประกอบการแสดงจากเครื่องดนตรีพื้นบ้าน

     

    100 100

    21. จัดทำรายงานสรุปปิดโครงการ

    วันที่ 1 กันยายน 2014 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ๑. รวบรวมเอกสารที่จัดกิจกรรมทั้งหมดเพื่อสรุปรายงานปิดโครงการ ๒. จัดเอกสารการเงินให้ถูกต้อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ไม่มี

     

    2 2

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อส่งเสริมอนุรักษ์และสืบสานศิลป วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นให้ยั่งยืน
    ตัวชี้วัด : 1. คนในชุมชนเข้าร่วม ปฏิบัติ และถ่ายทอดกิจกรรมทางศาสนาศิลปวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นสู่คนรุ่นหลังเพิ่มขึ้น

    คนในชุมชนเข้าร่วมปฏิบัติ และถ่ายทอดกิจกรรมทางศาสนาศิลปวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นสู่คนรุ่นหลังเพิ่มขึ้น โดยมีจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมแต่ละครั้งเกินกว่าเป้าหมาย คิดเป็นร้อยละ 14 จำนวนผู้เข้าร่วมเป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ คิดเป็นร้อยละ 95 ส่วนจำนวนผู้เข้าร่วมน้อยกว่าเป้าหมาย ร้อยละ 4 ของจำนวนกิจกรรมที่จัดขึ้นตลอดทั้งโครงการ ซึ่งมี 21 กิจกรรม นอกจากนี้ หลายท่านร่วมมือในการบริจาคสิ่งของที่เป็นวัตถุโบราณ ของเก่า เพื่อมาจัดแสดงในพิพิธภัณฑ์

    2 เพื่อพัฒนาศิลปวัฒนธรรมของชุมชนให้เป็นจุดขายแก่นักท่องเที่ยวโดยเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจสร้างสรรค์
    ตัวชี้วัด : 1. มีแหล่งเรียนรู้ด้าน ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น และเศรษฐกิจสร้างสรรค์

    มีพิพิธภัณฑ์ชุมชนพื้นบ้าน ซึ่งได้พัฒนาขึ้นมาเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน ด้วยความภาคภูมิใจให้เป็นจุดขายของนักท่องเที่ยวโดยเชื่อมโยงกับเศรษฐศาสตร์สร้างสรรค์

    3 เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานและพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ
    ตัวชี้วัด : 1. มีรายงานความก้าวหน้าและรายงานฉบับสมบูรณ์จัดส่ง สสส. 2. มีภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรมตลอดโครงการ 3. มีป้ายสถานที่นี้ปลอดบุหรี่ติดในบริเวณที่จัดกิจกรรม 4. เข้าร่วมการประชุมกับสสส. หรือสจรส.ม.อ.ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัดการประชุม

    มีการส่งรายงานความก้าวหน้าและรายงานฉบับสมบูรณ์ครบถ้วน

    มีภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรมตลอดโครงการ

    ีมีป้ายสถานที่นี้ปลอดบุหรี่ติดในบริเวณที่จัดกิจกรรม และจัดตั้งอย่างถาวร

    เข้าร่วมการประชุมกับสจรส.ม.อ.ครบทุกครั้ง

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมอนุรักษ์และสืบสานศิลป วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นให้ยั่งยืน (2) เพื่อพัฒนาศิลปวัฒนธรรมของชุมชนให้เป็นจุดขายแก่นักท่องเที่ยวโดยเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (3) เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานและพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ วัฒนธรรมไทยสายใยชุมชน

    รหัสโครงการ 56-01494 รหัสสัญญา 56-00-0901 ระยะเวลาโครงการ 1 กันยายน 2013 - 30 กันยายน 2014

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    มีกลุ่มข้าราชการเกษียณที่มีศักยภาพเป็นที่ยอมรับของสังคม ออกมาช่วยด้านวัฒนธรรมไม่ให้สูญหายไป

    มีหลักสูตรการเรียนการสอนด้านวัฒนธรรม(การละเล่น ประเพณี) ในโรงเรียนบ้านกระโสม

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

    มีพิพิธภัณฑ์ด้านวัฒนธรรมของชุมชน เป็นศูนย์เรียนรู้ของชุมชน เกิดจากการชุมชนโดยการบริจาคสิ่งของต่างๆ

    พิพิธภัณฑ์ในวัดมาตุคุณาราม

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

    การนำการละเล่นพื้นบ้านมาถ่ายทอดให้นักเรียน เช่น หมากเก็บ เป่ากลบ  ตักมะขาม ทำให้เด็กได้ออกกำลังกาย ใช้เวลาว่างให้หมดไป ลดการเล่นคอมพิวเตอร์ได้ และเกิดความผูกพันธ์ในสังคม

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    วัฒนธรรมไทยสายใยชุมชน จังหวัด พังงา

    รหัสโครงการ 56-01494

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายประวิทย์ เจริญงาน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด