แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 1

รหัสโครงการ 56-01324
สัญญาเลขที่ 56-00-1116

ชื่อโครงการ ส่งเสริมและฟื้นฟูป่าชายเลนด้วยพลังชุมชน
รหัสโครงการ 56-01324 สัญญาเลขที่ 56-00-1116
ระยะเวลาตามสัญญา 1 กันยายน 2013 - 30 กันยายน 2014

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นางสาวอารีย์ สุวรรณชาตรี
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 13 มกราคม 2014
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 1 เมษายน 2014
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นายสังสิทธิ สุวรรณเจริญ 96/1 หมู่ที่ 4 ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัด สงขลา 90230 081-9630965

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ตำบลทำนบและเยาวชนตระหนักและเห็นคุณค่าของระบบนิเวศน์ป่าชายเลน

  1. เกิดกลุ่มเยาวชนร่วมศึกษาความสำคัญและระบบความสัมพันธ์ของระบบนิเวศน์ป่าชายเลนต่อการดำรงชีวิตของคนทำนบ ,
  2. เกิดชุดความรู้เรื่อง ความสำคัญของป่าชายเลนต่อชีวิตคนทำนบ

2.

เพื่อพัฒนากลไกด้านการอนุรักษ์ป่าชายเลน ประกอบด้วย การเฝ้าระวังการบุกรุก การสื่อสารประชาสัมพันธ์ กลไกการฟื้นฟูพื้นที่ป่าชายเลน

  1. เกิดเครือข่ายเฝ้าระวังการบุกรุกพื้นที่ป่าชายเลน จำนวน 2 เครือข่าย,
  2. เกิดกติกาชุมชนเรื่อง การอนุรักษ์ป่าชายเลน และถูกนำไปใช้ในการยึดถือปฏิบัติของชาวบ้านตำบลทำนบ,
  3. เกิดเครือข่ายเยาวชนสื่อสารประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับคุณประโยชน์ของป่าชายเลน จำนวน 30 คน,
  4. เกิดการประชาสัมพันธ์ผ่านหอกระจายข่าวจำนวน 20 ครั้ง/ปี,
  5. ชาวบ้านที่สนใจร่วมกิจกรรมเปลี่ยนนากุ้งร้างเป็นพื้นที่บ่อเลี้ยงสัตว์น้ำและปลูกป่าชายเลน จำนวน 50 ราย,
  6. เกิดแผนระยะสั้น ระยะกลางและระยะยาวในการเพิ่มพื้นที่เปลี่ยนนากุ้งร้างเป็นพื้นที่บ่อเลี้ยงสัตว์น้ำและปลูกป่าชายเลน,
  7. ชาวบ้านร่วมกันปลูกป่าชายเลนให้ได้ 3,000 ต้น /ปี และสามารถดูแลรักษาให้รอดได้ไม่น้อยกว่า 50 % ของกล้าที่ปลูก

3.

ติดตาม สนับสนุนการดำเนินโครงการโดยทีม สสส.และสจรส.มอ.หาดใหญ่

1 เพื่อสนับสนุนเพิ่มเติม ในเรื่องของการทำรายงาน ภาพถ่ายกิจกรรม ค่าจัดทำป้ายสถานที่

2 เพื่อสนับสนุนค่าเดินทางและค่าที่พักในการเข้าร่วมประชุมกับ สสส.และสจรส.มอ หาดใหญ่

2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

ประชุมทำความเข้าใจในเรื่องของการดำเนินกิจกรรมของโครงการ

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

ประชุมทำความเข้าใจในเรื่องของการดำเนินกิจกรรมของโครงการ การทำเอกสารการเงิน การป้อนข้อมูลในเว๊ปไซค์ ตนใต้สร้างสุข

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

ผู้รับผิดชอบโครงการสามารถดำเนินการลงข้อมูลในเว๊ปไซค์ ตนใต้สร้างสุข จากการอบรมปฐมนิเทศ จากทีม สจรส และพี่เลี้ยงได้อย่างคล่องแคล่วและมีความถูกต้อง

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

เด็กเยาวชนมีีความรู้ความเข้าใจในระบบนิเวศของป่าชายเลนว่ามีความสำคัญอย่างไร และในระบบนิเวศของป่าชายเลนประกอบไปด้วยอะไรบ้าง

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

วิทยากรบรรยายความรู้เรื่องความสำคัญของป่าชายเลน ที่มีต่อการดำเนินชีวิตในด้านต่าง ไม่ว่าจะเป็นด้านเศรษฐกิจ

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

 

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

เยาวชนมีความรู้ความเข้าใจในการสำรวจพันธ์พืชและสัตว์น้ำในพื้นที่ป่าชายเลน

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจจากการสำรวจพันธ์ไม้ป่าชายเลนในพื้นที่ ตำบลทำนบและเรียนรู้ว่าป่าชายเลนเป็นพื้นที่อนุบาลสัตว์น้ำ

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

จากการดำเนินกิจกรรมสำรวจพันธ์พืชและพันธ์สัตว์ในพื้นที่ป่าชายเลน ตำบลทำนบทำให้นักเรียนและผู้ใหญ่เห็นถึงความสำคัญของพื้นที่ป่าชายเลนในตำบล ว่าเป็นพื้นที่อนุบาลสัตว์น้ำ และเป็นพื้นที่ที่มีต้นไม้ป่าชายเลนที่หลากหลาย เช่น ต้นโกงกาง

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

ประกวดภาพวาดจากงานศิลปะจากระบบนิเวศป่าชายเลน

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

นักเรียนถ่ายทอดงานศิลปะจากการลงพื้นที่สำรวจพื้นที่ป่าชายเลนมาเป็นภาพวาด

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

นักเรียนได้ใช้ความสามารถในการวาดภาพถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิดจากการลงสำรวจพื้นที่ป่าชายเลน

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

ประชุมชี้แจงโครงการเพื่อให้ชุมชนได้รับรู้ และมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรม

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

ประชุมทำความเข้าใจการดำเนินโครงการส่งเสริมและฟื้นฟูป่าชายเลนด้วยพลังชุมชนให้นักเรียน ,ครู ,ประชาชน
หมู่ที่ 4 ตำบลทำนบ อ.สิงหนคร จ.สงขลา ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีการดำเนินกิจกรรมได้รับทราบข้อมูล โดยทางผู้รับผิดชอบโครงการได้ชี้แจงขั้นตอนการดำเนินงานของโครงการให้ประชาชนในพื้นที่ได้รับทราบและร่วมมือที่จะดำเนินโครงการ

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

ประชาชนในพื้นที่รับรู้ถึงโครงการที่มีในชุมชน

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

ทางโครงการดำเนินการชี้แจงแผนนงานที่จะดำเนินการในครั้งต่อไป

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

ทางโครงการพบกับพี่เลี้ยงเพื่อชี้แจงและปรึกษาหารือกับพี่เลี้ยงถึงแนวทางที่จะดำเนินกิจกรรมให้เป้นไปตามแผนงานที่ได้ตั้งไว้

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

ทางโครงการสามารถดำเนินการแก้ไขปัญหาจากการดำเนินงานและสามารถดำเนินงานตามแผนที่ได้ตั้งไว้

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

จัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่ เพื่อให้ในการดำเนินกิจกรรมตลอดทั้งโครงการ

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

จัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่ จำนวน 1ป้าย

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

ทางโครงการนำป้ายเขตปลอดบุหรี่มาใช้ในการดำเนินกิจกรรม จำนวน 1 ป้าย  เพื่อรณรงค์ประชาสัมพันธ็ลดการสูบบุหรี่ และจัดเป็นเขตพื้นที่ปลอดบุหรี่ในการดำเนินกิจกรรม

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

ทางโครงการสามารถดำเนินการ จัดทำรายงาน งวดที่ 1 ได้

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

จัดทำรายงาน งวดที่1 ที่ประกอบด้วย รายงานส.1 รายงาน ส.2 และเอกสารการเงิน รายงานการเงิน งวดที่ 1 และภาพถ่ายกิจกรรมพร้อมบรรยายใต้ภาพ 10 ภาพ

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

ผู้รับผิดชอบโครงการ สามารถจัดทำรายงาน ส1 ,ส2 ,รายงานการเงิน ง.1 และภาพถ่ายกิจกรรม จำนวน 10 ภาพ  เพื่อนำส่ง สสส.

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

โคลงสร้างการดำเนินงานของโครงการ เกิดความล่าช้าเนื่องจากการขับเคลื่อนงานขึ้นอยู่กับการดำเนินงานของเจ้าหน้าที่ อบต.ที่เป็นผู้รับผิดชอบหลัก

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

ศักยภาพและทักษะการดำเนิงานของคณะทำงานมีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานของกิจกรรมโครงการ

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

ผลของการดำเนินงานเกิดควมล่าช้าจากปัจจัยในเรื่องของเวลาที่ไม่ตรงกับแผนที่ได้กำหนดไว้

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

สามารถดำเนินการบริหารจัดการในเรื่องของการเงินไว้ตามแผนที่ได้กำหนดไว้

2.2 การใช้จ่ายเงิน

เป็นไปตามแผนและกรอบการดำเนินงานในเรื่องของการเงิน

2.3 หลักฐานการเงิน

มีหลักฐานค่าใช้จ่ายตามแผนและใบลงทะเบียนผู้เข้าร่วม

ผลรวม 0 4 4 0
ผลรวมทั้งหมด 8 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจากโครงสร้างการดำเนินงานของโครงการมีความสัมพันธ์กับการทำงานของระบบราชการเนื่องจากผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานเป็นเจ้าหน้าที่ของทาง อบต การทำงานจึงมีความล่าช้าไม่ตรงกับแผนที่ได้กำหนดไว้
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

การดำเนินงานของโครงการที่ผ่านมามีความล่าช้าเนื่องจาก

  1. มีการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนตำบลใหม่ ในช่วงของการดำเนินโครงการในช่วงแรก

2.ผู้ดำเนินการขับเคลื่อนงานของโครงการ เป็นเจ้าหน้าที่ของ อบต.เมื่อเกิดความล่าช้าทางโครงการจึงดำเนินการเปลี่ยนผู้ขับเคลื่อนงาน

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

 

สร้างรายงานโดย อารีย์ สุวรรณชาตรี