แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 4

รหัสโครงการ 57-01431
สัญญาเลขที่ 57-00-0744

ชื่อโครงการ บวร ไตรพลังสร้างสุขสู่บ้านนากวดน่าอยู่ (ต่อเนื่อง)
รหัสโครงการ 57-01431 สัญญาเลขที่ 57-00-0744
ระยะเวลาตามสัญญา 20 พฤษภาคม 2014 - 19 มิถุนายน 2015

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม
วันที่ส่งรายงานถึง สสส.
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการหมู่บ้าน คณะกรรมการวัดนาท่อม สภานักเรียนโรงเรียนวัดนาท่อม สู่หลักคิด" บวร ไตรพลังสร้างสุขสู่บ้านนากวดน่าอยู่"

เชิงปริมาณ

  1. คณะกรรมการหมู่บ้าน 15 คน

  2. คณะกรรมการวัด 15 คน

  3. สภานักเรียน 20คน

เชิงคุณภาพ

  1. ทั้ง 3 ฝ่ายเรียกว่าคณะทำงาน บวร ไตรพลัง สร้างสุขสู่บ้านนากวดน่าอยู่

  2. ทั้ง 3 ฝ่ายเรียนรู้ ทบทวนแผนชุมชนบ้านนากวด โดยวิธี -การจัดเก็บข้อมูลโดยเด็กและกรรมการหมู่บ้าน -รวบรวมวิเคราะห์ก่อนจัดทำร่างแผ่นชุมชน -ประชุมเพื่อประชาพิจารณ์ ให้ประชาชนเติมเต็ม -ประชุมเพื่ออนุมัติแผนที่ผ่านประชาพิจารณ์เพื่อนำไปทำแผนชุมชน -จัดทำแผนชุมชนหลังจากได้ผ่านขั้นตอนแยกหมวดหมู่ -ให้ความเห็นชอบรับรองแผน -การประสานแผน -การตรวจสอบและติดตามการดำเนินการ โดยกรรมการหมู่บ้าน กรรมการวัด สภานักเรียน ด้วยการคืนข้อมูลสู่ชุมชน

2.

  1. เพื่อใช้หลัก บวร ไตรพลังสร้างสุขฯเป็นเครือข่าย ร่วมขับเคลื่อนงานพัฒนาชุมชนนากวดอย่างมีคุณภาพ ด้านสังคมเพื่อคุณภาพชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ

  1. คณะ บวร ไตรพลังสร้างสุขสู่นากวดน่าอยู่ เป็นแกนนำเพื่อแก้ไขปัญหาชุมชน จำนวน 50คน
  2. โรงเรียนสร้างและพัฒนาธนาคารขยะเป็นแหล่งเรียนรู้ใน โรงเรียนวัดนาท่อม1 แหล่ง
  3. วัดมีแหล่งเรียนรู้ชุมชนทางด้านศิลป วัฒนธรรมชุมชน 1 แหล่ง
  4. ชุมชนมีกิจกรรมสืบชะตาคลองนาท่อมเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน 1 แหล่ง

เชิงคุณภาพ

1.แหล่งเรียนรู้สืบชะตาคลองนาท่อมในชุมชน โดยใช้เด็กเป็นสื่อในการทำกิจกรรม ใช้กิจกรรมหุ่นเงาเด็กเด็กเล่าเรื่อง หนังตะลุง กลองยาว มโนราห์เด็ก

  1. แหล่งเรียนรู้วัดเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน ใช้ภาพกิจกรรมเล่าเรื่องราว เช่น ภาพในผนังโบสถ์ โดยนายสมัยหมวดมณี

  2. แหล่งเรียนรู้ธนาคารขยะในโรงเรียนโดยมีกิจกรรมทอดผ้าป่าขยะขยะแลกไข่ ตลาดนัดขยะ เป็นระยะโดยใช้สภานักเรียน

4.กลุ่มเด็กและเยาวชน กลุ่มผู้สูงอายุ่ร่วมทำกิจกรรมที่หลากหลายในการขับเคลื่อนกิจกรรมของชุมชน

5.ประชาชนใช้วัดเป็นศูนย์กลางโดยสร้างการมีส่วนร่วมของคน 3 วัยชวนเข้าวัดพัฒนาวัฒนธรรมด้วยกิจกรรม

6.มีการติดตามรายงานความก้าวหน้าของสามแหล่งเรียนรู้โดยคณะกรรมการแต่ละฝ่าย

3.

  1. เพื่อพัฒนากลไก บวร ไตรพลังสร้างสุขสู่บ้่านนากวดน่าอยู่สู่การจัดการตนเอง ด้วยข้อตกลงร่วมกัน กฎกติกาอยู่ร่วมกัน และมีบทบาทหน้าที่แต่ละฝ่าย

เชิงปริมาณ

  1. มีการประชุม 12ครั้ง

  2. แต่ละฝ่ายมีบทบาทหน้าที่ร่วมออกกฎกติกา เช่น ธนาคารขยะจัดการขยะด้วยวิธี 3 R โดยใช้สภานักเรียน, แหล่งเรียนรู้สืบชะตาคลองนาท่อมใช้ สภาเด็กและเยาวชน และครอบครัวจักรยานสานฝันวันอาทิตย์ ในการสื่อสารรณรงค์

เชิงคุณภาพ

  1. ชุมชนบ้านนากวดน่าอยู่อย่างมีกฏกติกาของชุมชนที่ทุกคนในชุมชนเข้าใจ ยอมรับ และปฏิบัติตาม เช่น มีเขตอภัยทานชัด การกำหนดจุดให้อาหารปลา ,จุดทิ้งขยะ

  2. กำหนดประชุมทุกวันที่ 9 ทุกเดือน

3.กฎกติกาเผยแพร่และเป็นข้อปฎิบัติของบุคคลภายนอก เช่นเขตอภัยทานขยะเขตอภัยทานห้ามจับปลาป้ายปฏิญญาของผู้นำ

4.พัฒนาหอกระจายข่าวของชุมชนวัด โรงเรียนสื่อสารกิจกรรมโครงการโดยใช้เด็กเป็นผู้สื่อสาร

  1. ใช้วัดเป็นแหล่งเรียนรู้ชุมชนฝึกให้เด็กเรียนรู้ชุมชน ฝึกเด็กเป็นไกด์นำเสนอ

6.การใช้เด็กและเยาวชนสื่อสารสาธารณะ จำนวน 5 คนสื่อสารผ่านสื่อ

7.สรุปชุดความรู้ถอดบทเรียนไว้เป็นเอกสารเผย

4.

4.การบริหารจัดการและการติดตามประเมินผลตัวชี้วัดเข้าร่วมกับสสส.

จำนวนครั้งที่เข้าร่วมกิจกรรมกับ สสส.และ สจรส.

2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)
2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

 

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

 

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

 

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

 

2.2 การใช้จ่ายเงิน

 

2.3 หลักฐานการเงิน

 

ผลรวม 0 0 0 0
ผลรวมทั้งหมด 0 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

 

สร้างรายงานโดย