แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 1

รหัสโครงการ 57-01438
สัญญาเลขที่ 57-00-0951

ชื่อโครงการ ป่าฟื้น คนฟื้น ที่บ้านทุ่งยูง
รหัสโครงการ 57-01438 สัญญาเลขที่ 57-00-0951
ระยะเวลาตามสัญญา 1 มิถุนายน 2014 - 30 มิถุนายน 2015

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นายเสณี จ่าวิสูตร
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 5 พฤศจิกายน 2014
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 17 พฤศจิกายน 2014
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นายสมศักดิ์ สุขยูง 72 ม.4 ต.เขาปู่ อ.ศรีบรรพต จ.พัทลุง 93190 0872906164

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

  1. เพื่อสร้างฐานข้อมูลสิ่งมีคุณค่าในป่าต้นน้ำ คลองเพลี๊ยะและคืนข้อมูลให้คนในชุมชนได้เรียนรู้และร่วมกันจัดทำแผนการจัดการป่า

1.1มีชุดข้อมูลเรื่องทรัพยากรป่าต้นน้ำคลองเพลี๊ยะ 1ชุด 1.2คนในชุมชนมีความรู้เรื่องฐานทรัพยากรป่าต้นน้ำคลองเพลี๊ยะ จำนวน 250 คน 1.3มีแผนปฏิบัติการในการจัดการป่าฯจำนวน 1แผน 1.1 มีข้อมูลเรื่องชนิดปริมาณและคุณค่าของพืช สัตว์ แหล่งน้ำที่มีคุณค่าต่อชุมชน 1.2 คนในชุมชนเห็นความสำคัญและมีความตระหนักในการร่วมกันจัดการป่าฯ ผลจากการเรียนรู้ข้อมูลฯ 1.3 มีแผนการจัดการป่าฯที่มีแนวทางการแก้ไขปัญหาที่ร่วมกันกำหนดและเกิดจากข้อมูลข้อเท็จจริงที่เกิดจากการเรียนรู้ร่วมกัน และละเอียดสามารถทำตามได้อย่างชัดเจน

2.

เพื่อร่วมกันจัดการให้มีการอนุรักษ์และฟื้นฟูป่าไม้

มีฝายชะลอน้ำ จำนวน 3 จุด -มีพื้นที่ป่าเสื่อมโทรมได้รับการฟื้นฟู จำนวน15ไร่มีพันธ์ไม้ใช้สอยเพิ่มขึ้นไม่ต่ำกว่า 1,500 ต้น -มีชุดลาดตระเวณเพื่อดูแลพันธ์ไม้และเฝ้าระวังการทำลายป่า จำนวน 7 คนเดินลาดตระเวณเดือนละครั้ง -มีสื่อประชาสัมพันธ์/สื่อรณรงค์/ป้ายแสดงกฏกติกา ไม่ต่ำกว่า 10 ชิ้น -มีกฏกติกาของชุมชนในการดูแลรักษาป่า

3.

เพื่อพัฒนากลุ่มและองค์กรในชุมชนให้สามารถร่วมกันบริหารและจัดการทรัพยากรป่าไม้

มีคณะทำงานที่ร่วมกันรับผิดชอบการดำเนินงานตามโครงการ จำนวน 15 คน -มีกลไกในการบริหารจัดการชุมชนโดยรูปแบบสภาชุมชนผ่านการประชุมหมู่บ้าน

4.

เพื่อการบริหารจัดการและกาารติดตามประเมินผลโครงการ

ำนวนครั้งในการเข้าร่วมกิจกรรมกับ สสส. และ สจรส.

2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมหลัก : ประชุมคณะทำงานเพื่อทำความเข้าใจโครงการฯและแบ่งบทบาทหน้าที่i

2,400.00 15 ผลผลิต

จัดประชุมคณะทำงานโครงการ มีผู้เข้าร่วม 15 คน ได้แก่ตัวแทนฝ่ายปกครอง 5 คน ตัวแทนฝ่ายท้องถิ่น 2 คน ตัวแทนองค์กรชุมชน 2 คน อสม. 4 คน ประชาชน 2 คน

โดยมีพี่เลี้ยงโครงการมาทำความเข้าใจในการดำเนินงานตามโครงการฯและแบ่งบทบาทหน้าที่ การใช้จ่ายงบประมาณ การรายงาน การติดตามประเมินผล การแบ่งงวดงาน/เงิน การจัดทำรายงานกิจกรรม รายงานการเงินเอกสารการเงิน การลงปฏิทิน ข้อควรระวัง


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

คณะทำงานมีความรู้และเข้าใจในที่ไปที่มา/เป้าหมาย/วัตถุประสงค์/วิธีการดำเนินงาน/การรายงานผล/การจัดการการเงินงบประมาณ ทำให้สามารถแบ่งงานกันทำได้อย่างถูกกับคน สามารถวางแผนการดำเนินงานในแต่ละช่วง และวางปฏิทินการทำงานได้สอดคล้องกับงาน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 3 ครั้ง

คณะทำงาน จำนวน 15 คน

  • ตัวแทนฝ่ายปกครอง 5 คน
  • ตัวแทนฝ่ายท้องถิ่น 2 คน
  • ตัวแทนองค์กรชุมชน 2 คน
  • อสม. 4 คน
  • ประชาชน 2 คน
2,400.00 2,400.00 15 15 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะทำงานเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเองเป็นอย่างดี

กรรมการหมู่บ้าน/อสม./อพม./ตัวแทนครูโรงเรียนชุณหวัณ/ส.อบต.

0.00 0.00 150 0 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้เข้าร่วมประชุมมความรู้และเข้าใจ ในการดำเนินงานตามโครงการ มีคณะทำงานรวม 15 คน

ผู้ใหญ่บ้าน 1 คน ผู้ช่วยฯ 3 คน คนตัดยาง 20 คน อสม.15 คน ครูโรงเรียนชุณหวัณ 1 คน แม่ค้า 10 คน เด็กเล็ก (ประถม)15 คน คนขับรถเครื่องรับจ้าง 5 คน เด็กใหญ่(ประถมปลาย) 8 คน กลุ่มคนชรา 10 คน อาสาสมัครพิทักษ์ป่า 15 คน รวมแล้ว 135 คน

0.00 0.00 120 135 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คนในหมู่บ้านให้ความสนใจในการที่จะเข้ามาร่วมเรียนรู้รายละเอียดของการดำเนินงานตามโครงการ โดยเข้าร่วมเกินกว่าที่กำหนดไว้ อีกทั้งสนใจและเข้าร่วมในการประชุมจนถึงเวลาเลิกประชุมประมาณ 17.00 น. และตอบรับที่จะให้ความร่วมมือในการดำเนินงานตามโครงการอย่างดี ทั้งระดับครัวเรือนและการส่งเด็กและเยาวชนสมัครเข้าร่วมโครงการ

กิจกรรมหลัก : ประชุมหมู่บ้านเพื่อสร้างความเข้าใจการดำเนินงานโครงการแก่คนในชุมชนและร่วมมือในการดำเนินงานตามโครงการ -รับสมัครคณะทำงาน(เพิ่มเติม)i

18,500.00 135 ผลผลิต

จัดประชุมเพื่อทำความเข้าใจในการดำเนินงานตามโครงการโดยมีผู้เข้าร่วมจริง 135 คน จากกลุ่มเป้าหมายที่วางไว้ 120 คน โดยมีพี่เลี้ยงโครงการมาทำความเข้าใจในการดำเนินงานตามโครงการฯ การใช้จ่ายงบประมาณ การรายงาน การติดตามประเมินผล การแบ่งงวดงาน/เงิน การจัดทำรายงานกิจกรรม รายงานการเงินเอกสารการเงิน การลงปฏิทิน ข้อควรระวัง  และขอความร่วมมือในการดำเนินงานตามโครงการ รับสมัคร ครัวเรือนที่เข้าร่วม รับสมัครเด็กและเยาวชนเข้าร่วมโครงการ


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

คนในหมู่บ้านให้ความสนใจในการที่จะเข้ามาร่วมเรียนรู้รายละเอียดของการดำเนินงานตามโครงการ โดยเข้าร่วมเกินกว่าที่กำหนดไว้ อีกทั้งสนใจและเข้าร่วมในการประชุมจนถึงเวลาเลิกประชุมประมาณ 17.00 น. และตอบรับที่จะให้ความร่วมมือในการดำเนินงานตามโครงการอย่างดี ทั้งระดับครัวเรือนและการส่งเด็กและเยาวชนสมัครเข้าร่วมโครงการ

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

ประชาชน 120 คน คณะทำงาน 15 คน

18,500.00 18,500.00 135 135 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ประชาชนทั่วไปได้รับรู้ความเป็นมาของโครงการและเกิดการรวมกลุ่มเพื่อดำเนินงานโครงการ

กิจกรรมหลัก : หนุนเสริมติดตามการดำเนินโครงการในพื้นที่i

7,900.00 15 ผลผลิต

ติดตามผลการดำเนินงานตามโครงการ การจัดทำรายงาน เอกสารการเงิน และประเมินผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดของโครงการ โดยมีผู้ใหญ่บ้านและผู้รับผิดชอบการจัดทำรายงานและการเงินของโครงการเข้าร่วม จำนวน 3 คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

พบว่าพื้นที่นี้สามารถดำเนินงานได้ครบและทันตามที่กำหนดไว้ในโครงการ และสามารถจัดได้บรรลุวัตถุประสงค์ที่วางไว้ มีการจัดการประชุมคณะทำงานเพื่อเตรียมการ วางแผน จัดกิจกรรม ตามที่กำหนดไว้ในการแบ่งงาน สามารถจัดทำรายงานผลทางเว็บไซส์ได้ถูกต้องแม้จะรายงานล่าช้ากว่าที่กำหนดไว้บ้าง  ทางพี่เลี้ยงก็ได้ให้คำแนะนำ พร้อมทั้งนัดหมายในการไปปิดงวดแรกโครงการ

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 9 ครั้ง

ผู้รับผิดชอบโครงการ 1  คน ผู้รายงานผลโครงการ  1  คน

1,000.00 1,000.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ประชุมกิจกรรมพัฒนาศักยภาพและติดตามรายงานผลโครงการร่วมกับพี่เลี้ยง

ตัวแทนคณะทำงาน 2 คน

500.00 500.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ทำความเข้าใจการจัดทำสื่อเผยแพร่โครงการ

ผู้รับผิดชอบโครงการ และคณะทำงาน 3 คน

1,500.00 1,500.00 3 3 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ประชุมสรุปและรายงานผลการดำเนินกิจกรรมโครงการ  ตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารการเงินและเอกสารที่เกี่ยวข้อง  การรายงานผลตามแบบรายงานต่างๆ  ระยะเวลาดำเนินการ  2  วัน และสามารถรายงาน ปิดงวดแรกของโครงการได้

ผู้รับผิดชอบโครงการ/การเงิน/ผู้จัดทำรายงาน

0.00 0.00 3 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

พบว่าพื้นที่นี้สามารถดำเนินงานได้ครบและทันตามที่กำหนดไว้ในโครงการ และสามารถจัดได้บรรลุวัตถุประสงค์ที่วางไว้ มีการจัดการประชุมคณะทำงานเพื่อเตรียมการ วางแผน จัดกิจกรรม ตามที่กำหนดไว้ในการแบ่งงาน สามารถจัดทำรายงานผลทางเว็บไซส์ได้ถูกต้องแม้จะรายงานล่าช้ากว่าที่กำหนดไว้บ้าง  ทางพี่เลี้ยงก็ได้ให้คำแนะนำ เพื่อให้สามารถปิดงวดแรกโครงการได้

ผู้มีอานาจเบิกถอนเงิน 2 คน

300.00 300.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ถอนเงินเปิดบัญชีใหม่ จำนวน 300 บาท

ตัวแทนคณะทำงาน 2  คน

2,000.00 1,500.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

นำเสนอการประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

คณะทำงานผู้รับผิดชอบโครงการและผู้รับผิดชอบการเงิน ผู้รับผิดชอบการทำรายงาน

0.00 0.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีการปรับปฏิทินและปรับเพิ่มเติมรายงานผลให้ถูกต้องสมบูรณ์

คณะทำงานจำนวน 15 คน -นักเรียนโรงเรียนชุณหะวัณและเยาวชนจำนวน 20 คน -ประชาชน/พลังมวลชนจำนวน 75 คน

0.00 0.00 124 124 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้รับความร่วมมืออย่างดี จากชาวบ้านในพื้นที่และหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง มีนายอำเภอมาร่วมเป็นประธาน เชิญพระสงฆ์มาผูกผ้าเหลืองตามต้นไม้ใหญ่ เกิดการอนุรักษ์ป่าไม้ของชุมชนร่วมกัน

ผู้รับผิดชอบโครงการ  1  คน คณะทำงาน  1  คน การเงิน  1  คน

2,000.00 1,500.00 3 3 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ติดตามผลการดำเนินงานร่วมกับพี่เลี้ยง  ที่ วิทยาลัยภูมิปัญญาชุมชน

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
เดินป่าสำรวจข้อมูล -พืชอาหาร -พืชสมุนไพร -พืชใช้สอย -สัตว์ เพื่อจัดทำฐานข้อมูลป่าชุมชน

ทำความเข้าใจกับชุมชนในการทำให้เห็นความสำคัญของการที่ชุมชนต้องลุกขึ้นมาจัดการป่าไม้ด้วยชุมชนเอง รณรงต์จนคนเห็นความสำคัญ สมัครเข้าร่วมโครงการ และส่งเด็กและเยาวชนเข้าร่วมกิจกรรม และช่วยกันจัดทำแบบสำรวจข้อมูลโดยมีทีมเจ้าหน้าที่จากอุทยานแห่งชาติเขาปู่เขาย่าร่วมให้คำปรึกษาในการออกแบบ ทำให้ผู้เก็บคือคณะทำงาน เด็กและเยาวชนเข้าใจ ทำให้สามารถจัดเก็บข้อมูลได้อย่างสมบูรณ์ สามารถนำมาใช้ประกอบในการดำเนินงานตามโครงการได้อย่างดี ทำแผนที่ป่าไม้ ทราบว่ามีพันธ์ไม้อะไรขนาดใด อายุเท่าไร อยู่ตรงไหน สะดวกต่อการจัดการดูแล

สามารถทราบได้ว่ามีพันธ์พืชพันธ์สัตว์หรือทรัพยากรอื่นอะไรอยู่ที่ไหนจุดไหน มีสภาพอย่างไร สามารถนำมาวางแผนในการรักษา ฟื้นฟู และเฝ้าระว้งได้อย่างสอดคล้องกับความจริงและเหมาะสมกับสถานการณ์

2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ป่าเพลี๊ยะ บ้านทุ่งยูง หมู่ที่ 4 ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง

มีการจัดชุดลาดตระเวณซึ่งมีเด็กและเยาชนเข้าร่วมด้วยจำนวน ชุดละ 10 คนเพื่อเฝ้าระวัง/ดูแลพันธ์ไม้และสัตว์ เดือนละครั้ง ทำให้สามารถยับยั้งการลอบทำลายป่าไม้หรือล่าสัตว์ในพื้นที่ป่าเพลี๊ยะได้และสามารถดูแลพันธ์ไม้ที่เพิ่งนำไปปลูกและที่ขึ้นตามธรรมชาติ

ป่าเพลี๊ยะ บ้านทุ่งยูง หมู่ที่ 4 ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง

เกิดการเพิ่มขึ้นของพันธ์ไม้ใช้สอยในป่าที่มีการปลูกเพิ่มขึ้น จำนวน 250 ต้น

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม

ชาวบ้านบางส่วนเกรงว่าจะได้รับผลกระทบในกรณีที่ได้บุกเบิกพื้นที่ป่าในอดีตเพื่อทำสวนยาง และอาจจะนำไปสู่การไม่ร่วมมือในการดำเนินงานตามโครงการ

ทำความเข้าใจกับกลุ่มนี้ถึงการไม่เข้าไปจัดการกับผู้ทำอยู่เดิม เพียงแต่ไม่ให้มีการบุกรุกเพิ่มพื้นที่ขึ้นในพื้นที่ป่าเพลี๊ยะ

ให้คณะทำงานรณรงค์ข้อมูลผลกระทบที่จะเกิดขึ้นหากมีการทำลายป่าต้นน้ำเพิ่มขึ้น โดยเน้นการดึงกลุ่มเด็กและเยาวชนเข้าร่วมกิจกรรม เพื่อเป็นสะพานเชื่อมไปสู่ครอบครัว

3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

ในระยะแรกผู้ทำหน้าที่การเงินและรายงานผลทางเว็บไซส์ ยังไม่ลงตัว เพราะหารคนมาทำยาก ภายหลังจึงมีการดึงเอาผู้ทำหน้าที่การเงินของกลุ่มออมทรัพย์มาดูและการเงิน จึง แก้ไขปัญหาได้ ส่วนผู้จัดทำรายงานประสานไปยังโรงเรียนชุณหวัณ ได้ตัวครูมาเป็นผู้จัดทำรายงานทางเว็บไซส์ได้

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

 

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

 

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

ในช่วงแรกซึ่งพื้นที่นี้ยังไม่เคยสัมผัสกับการจัดการกับงาน สสส.ก่อน แต่เมื่อผ่านไปสามเดือนก็สามารถจัดการบริหารได้ลงตัวมากขึ้น มีการจัดแบ่งหน้าที่กันทำตามที่กำหนดว้ได้มากขึ้น

2.2 การใช้จ่ายเงิน

 

2.3 หลักฐานการเงิน

 

ผลรวม 0 0 2 0
ผลรวมทั้งหมด 2 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

ในภาพรวมพื้นที่นี้สามารถบริหารจัดการโครงการได้อยู่ในเกณฑ์ดี มีการแบ่งบทบาทหน้าที่กันทำอย่างเหมาะสม และกระจายกันทำ มีความร่วมมือกันดีในทีมคณะทำงาน สามารถดำเนินงานได้ตรงและทันตามที่กำหนดไว้ในโครงการ งานมีคุณภาพตรงตามที่กำหนดไว้ในตัวชี้วัด  การจัดการด้านการเงินมีความถูกต้องและโปร่งใสมีการแจ้งค่าใช้จ่ายผ่านที่ประชุมหมู่บ้านทุกเดือน เอกสารการเงินอาจจะมีความผิดพลาดอยู่บ้างจากการที่ไม่เคยมีประสบการณ์ ก็สามารถเรียนรู้จนทำได้ถูกต้อง  การรายงานผลทางเว็บไซส์แม้จะไม่ค่อยทันกับเหตุการณ์แต่ก็น่าเห็นใจตรงที่ ในพื้นที่หมู่บ้านไม่มีสัญญานอินเตอร์เน็ต หรือจุดบริการไวไฟ ทำให้ต้องไปทำที่ รพสต.บ้านเขาปู่ ซึ่งไม่สะดวกนัก แต่ก็สามารถจัดการรายงานทันและถูกต้องในที่สุด และที่น่าประทับใจสำหรับพื้นที่นี้ก็คือคนใหความสนใจเข้าร่วมโครงการและให้ความร่วมมือสูง ตั้งแต่เริ่มต้นโครงการ และโดยเฉพาะเด็กและเยาวชนที่ได้ร่วมในการเดินป่า สำรวจข้อมูลและปลูกไม้ฯ สนุกสนานกันมาก รอคอยที่จะถึงวันที่จะได้ร่วมกิจกรรม คอยสอบถามคณะทำงานว่าเมื่อไรจะถึงวันเดินป่า ก็เป็นมุมที่ทำให้เห็นถึงความร่วมมือที่จะทำให้บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการได้วามเห็นโดยสรุปเห็นควรสนับสนุนให้เบิกจ่ายงบประมาณในงวดต่อไปได้

สร้างรายงานโดย เสณี จ่าวิสูตร