แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 2

รหัสโครงการ 57-01438
สัญญาเลขที่ 57-00-0951

ชื่อโครงการ ป่าฟื้น คนฟื้น ที่บ้านทุ่งยูง
รหัสโครงการ 57-01438 สัญญาเลขที่ 57-00-0951
ระยะเวลาตามสัญญา 1 มิถุนายน 2014 - 30 มิถุนายน 2015

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นายเสณี จ่าวิสูตร
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 10 กุมภาพันธ์ 2015
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 16 กรกฎาคม 2015
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นายสมศักดิ์ สุขยูง 72 ม.4 ต.เขาปู่ อ.ศรีบรรพต จ.พัทลุง 93190 0872906164

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

  1. เพื่อสร้างฐานข้อมูลสิ่งมีคุณค่าในป่าต้นน้ำ คลองเพลี๊ยะและคืนข้อมูลให้คนในชุมชนได้เรียนรู้และร่วมกันจัดทำแผนการจัดการป่า

1.1มีชุดข้อมูลเรื่องทรัพยากรป่าต้นน้ำคลองเพลี๊ยะ 1ชุด 1.2คนในชุมชนมีความรู้เรื่องฐานทรัพยากรป่าต้นน้ำคลองเพลี๊ยะ จำนวน 250 คน 1.3มีแผนปฏิบัติการในการจัดการป่าฯจำนวน 1แผน 1.1 มีข้อมูลเรื่องชนิดปริมาณและคุณค่าของพืช สัตว์ แหล่งน้ำที่มีคุณค่าต่อชุมชน 1.2 คนในชุมชนเห็นความสำคัญและมีความตระหนักในการร่วมกันจัดการป่าฯ ผลจากการเรียนรู้ข้อมูลฯ 1.3 มีแผนการจัดการป่าฯที่มีแนวทางการแก้ไขปัญหาที่ร่วมกันกำหนดและเกิดจากข้อมูลข้อเท็จจริงที่เกิดจากการเรียนรู้ร่วมกัน และละเอียดสามารถทำตามได้อย่างชัดเจน

2.

เพื่อร่วมกันจัดการให้มีการอนุรักษ์และฟื้นฟูป่าไม้

มีฝายชะลอน้ำ จำนวน 3 จุด -มีพื้นที่ป่าเสื่อมโทรมได้รับการฟื้นฟู จำนวน15ไร่มีพันธ์ไม้ใช้สอยเพิ่มขึ้นไม่ต่ำกว่า 1,500 ต้น -มีชุดลาดตระเวณเพื่อดูแลพันธ์ไม้และเฝ้าระวังการทำลายป่า จำนวน 7 คนเดินลาดตระเวณเดือนละครั้ง -มีสื่อประชาสัมพันธ์/สื่อรณรงค์/ป้ายแสดงกฏกติกา ไม่ต่ำกว่า 10 ชิ้น -มีกฏกติกาของชุมชนในการดูแลรักษาป่า

3.

เพื่อพัฒนากลุ่มและองค์กรในชุมชนให้สามารถร่วมกันบริหารและจัดการทรัพยากรป่าไม้

มีคณะทำงานที่ร่วมกันรับผิดชอบการดำเนินงานตามโครงการ จำนวน 15 คน -มีกลไกในการบริหารจัดการชุมชนโดยรูปแบบสภาชุมชนผ่านการประชุมหมู่บ้าน

4.

เพื่อการบริหารจัดการและกาารติดตามประเมินผลโครงการ

ำนวนครั้งในการเข้าร่วมกิจกรรมกับ สสส. และ สจรส.

2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมหลัก : กิจกรรมเดินป่าสำรวจข้อมูล -พืชอาหาร -พืชสมุนไพร -พืชใช้สอย -สัตว์ -แหล่งน้ำ จำนวน 6 ครั้งi

12,540.00 17 ผลผลิต

กิจกรรมเดินป่าสำรวจข้อมูล

  • พืชอาหาร
  • พืชสมุนไพร
  • พืชใช้สอย
  • สัตว์
  • แหล่งน้ำ
    จำนวน 6 ครั้ง 18 คนได้แก่คณะทำงานจำนวน 8 คน -เด็กและเยาวชนจำนวน 10 คน

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 18 คนได้แก่ คณะทำงานจำนวน 8 คน เด็กและเยาวชนจำนวน 10 คน เดินป่าสำรวจข้อมูลพืชอาหาร  พืชสมุนไพร  สัตว์น้ำ  รวบรวมข้อมูล เด็กและเยาวชนมีทักษะและรู้ขั้นตอนการจัดเก็บข้อมูล  และรู้จักสัตว์น้ำขนาดเล็ที่มีในบริณคลองเพลี๊ยะ

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 6 ครั้ง

-คณะทำงานจำนวน 7 คน -เด็กและเยาวชนจำนวน 10 คน

2,340.00 2,340.00 17 17 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้ข้อมูลจำนวนพืชที่มีอยู่ในบริเวณป่าต้นน้ำปลายเพลี๊ยะ แยกตามประเภทการใช้งาน โดยประมาณ

คณะทำงานจำนวน 7 คน เด็กและเยาวชนจำนวน 10 คน

2,040.00 2,040.00 17 17 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

กลุ่มเป้าหมายเดินป่าสำรวจข้อมูล -พืชอาหาร -พืชสมุนไพร -พืชใช้สอย -แหล่งน้ำ (ตามเอกสารที่แนบ)

คณะทำงานจำนวน 7 คน -เด็กและเยาวชนจำนวน 12 คน

2,040.00 2,040.00 17 19 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

รวบรวมข้อมูลป่า โดยแยกประเภท พืช สัตว์ แหล่งน้ำ

คณะทำงานจำนวน 8 คน -เด็กและเยาวชนจำนวน 10 คน

2,040.00 2,040.00 18 18 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เด็กและเยาวชนรู้ขั้นตอนการจัดเก็บข้อมูล  และรู้จักสัตว์น้ำขนาดเล็ที่มีในบริณคลองเพลี๊ยะ

คณะทำงานจำนวน 9 คน -เด็กและเยาวชนจำนวน 10 คน

2,040.00 2,040.00 17 19 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เดินเท้าสำรวจพืชสมุนไพร ประเภทยืนต้น และประเภทเถาวัลย์ ที่ค่อนข้างหายาก  เพื่อเก็บเป็นข้อมูลไปวิเคราะห์ปริมาณ  พบว่าพืชสมุนไพยังมีจำนวนที่พอประมาณ อาจจะเป็นเพราะคนไม่รู้จักใช้พืชสมุนไพรเหล่านี้  ภูมิปัญญาหรือปราชญ์ชาวบ้านด้านสมุนไพรลดน้อยลงขาดการถ่ายทอดความรู้ด้านสมุนไพรให้กับชนรุ่นหลัง  จึงทำให้คนรุ่นหลังหันไปใช้ยาแผนปัจจุบันแทนพืชสมุนไพร  คณะทำงานก็ไม่มีความรู้เรื่องสมุนไพร จึงไม่สามารถให้คำแนะนำแก้เด็กและเยาวชนได้เท่าที่ควร  อย่างไรก็ตาม ป่าทางเหนือของคลองเพรี๊ยะ ยังพบไม้อาหารประเภทยืนต้นได้บ้าง เหมือนกับป่าทางด้านใต้ของคลองเพรี๊ยะ ซึ่งจะได้เป็นข้อมูลในการดำเนินการกับพื้ชทั้ง 2 ชนิดต่อไปในโอกาสหน้า

คณะทำงานจำนวน 3 คน -เด็กและเยาวชนจำนวน 16 คน

2,040.00 2,040.00 17 19 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม เดินทางด้วยจักรยานยนต์ ถึงบริเวณคลองเพรี๊ยะ แล้วเดินเท้าต่อไปยังต้นๆของคลอง สำรวจสัตว์น้ำในบริเวณดังกล่าว พบว่า โดยทั่วไปยังมีสัตว์น้ำในปริมาณคงเดิม  แต่จะพบมากบริเวณหน้าฝายชะลอน้ำทั้ง 3 จุด  สัตว์น้ำที่เห็นได้ด้วยตา มีหลายชนิด ล้วนแต่เป็นสัตว์น้ำประจำถิ่นทั้งหมด เช่น ปลาซิว  ปลาโสด (ปลากระสูบลายขวาง) ปลาหยา  ปลาขอ  หอยโหล๊ะ(ภาษาถิ่น)  หอยขม  หอยโข่ง  กุ้งฝอย  ปู  ลูกรวก(ลูกอ๊อด) 

กิจกรรมหลัก : จัดทำฝายชะลอน้ำ จำนวน 3 จุดi

12,600.00 90 ผลผลิต

ทำฝายชะลอน้ำ กลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ 90 คน

  • คณะทำงานจำนวน 10 คน
  • เด็กและเยาวชนจำนวน 20 คน
  • ตัวแทนคนในชุมชนจำนวน 60 คน

จัดทำฝายชะลอน้ำ จำนวน 3 จุด


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 92 คน

  • คณะทำงานจำนวน 10 คน
  • เด็กและเยาวชนจำนวน 20 คน
  • ตัวแทนคนในชุมชนจำนวน 62 คน

จัดทำฝายชะลอน้ำ จำนวน 3 จุด มีฝายชะลอน้ำ ในบริเวสณคลองเพร๊ียะ  จำนวน  3  ชุด

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

-คณะทำงานจำนวน 10 คน -เด็กและเยาวชนจำนวน 20 คน -ตัวแทนคนในชุมชนจำนวน 62 คน

12,600.00 12,600.00 90 92 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะทำงาน ได้แบ่งผู้เข้าร่วมกิจกรรมออกเป็น 3 ชุด ชุดละประมาณ 30 คน มอบหมายให้คณะทำงานเป็นผู้ดูแลแต่ละชุด  แบ่งงานกันทำ  โดยใช้ทรายในพื้นที่บรรจุในกระสอบปุ๋ยที่ใช้แล้ว  นำไปวางขวางทางน้ำคลองเพรี๊ยะ  ในการทำงานนั้น แตละชุดมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีทั้งเด็ก เยาวชน และผู้ใหญ่  จึงต้องแบ่งหน้าที่กันให้เหมาะกับบริบทของผู้เข้าร่วมกิจกรรม  ทำให้การสร้างฝายชะลอน้ำ เป็นไปด้วยความราบรื่น เกิดความสนุกสนานจากการทำงานปนเล่นน้ำประสาเด็ก  เด็กๆ ได้เกิดเการเรียนรู้กระบวนการทำงานได้เป็นอย่างดี  ผลที่ได้เป็นที่น่าพอใจ  ได้ฝายชะลอน้ำ  3  จุด

กิจกรรมหลัก : วันปลูกพืชป่า/คืนธรรมชาติสู่ป่า -เนื้อที่ 15 ไร่ -จำนวน 1,500 ต้น -จำนวน 5 ชนิด จำนวน 3 ครั้งi

36,000.00 150 ผลผลิต

ปลูกป่า ครั้งที่ 3 กลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ 135 คน คณะทำงาน  15  คน สมาชิก  120  คน ปลูกป่าบริเวณป่าต้นน้ำปลายเพรี๊ยะ


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ปลูกป่า ครั้งที่ 3 ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 135 คน คณะทำงาน  15  คน สมาชิก  120  คน ปลูกต้นไม้บริเวณริมอ่างเก็บน้ำป่าพะยอม  จำนวนประมาณ  680  ต้น ปรับเปลี่ยนการปลูกป่าบริเวณป่าต้นน้ำปลายเพรี๊ยะ  มาปลูกบริเวณริมอ่างเก็บน้ำป่าพะยอม  เนื่องจากเกรงอันตรายจากฝนตกหนัก  โดยปลูกต้นพะยูงและต้นตะเคียนทอง จำนวนประมาณ  680  ต้น  ได้รับความร่วมมือจากคณะทำงาน สมาชิก และบุคคลทั่วไปเป็นอย่างดี  และใช้โอกาสนี้ปลูกป่าเนื่องในโอกาสวันพ่อแห่งชาติด้วย

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 3 ครั้ง

คณะทำงาน  15  คน สมาชิก  54  คน

12,000.00 12,000.00 135 69 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ปลูกป่า  ประมาณ  300  ต้น  บริเวณป่าต้นน้ำปลายเพลี๊ยะ

คณะทำงาน 15  คน สมาชิก  120  คน

12,000.00 12,000.00 135 135 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เด็กและเยาวชนเกิดความสามัคคีในการปลูกไม้ได้ทุกขั้นตอน ปลูกไม้ยืนต้น  214  ต้น

คณะทำงาน  15  คน สมาชิก  120  คน

12,000.00 12,000.00 135 135 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ปรับเปลี่ยนการปลูกป่าบริเวณป่าต้นน้ำปลายเพรี๊ยะ  มาปลูกบริเวณริมอ่างเก็บน้ำป่าพะยอม  เนื่องจากเกรงอันตรายจากฝนตกหนัก  โดยปลูกต้นพะยูงและต้นตะเคียนทอง จำนวนประมาณ  680  ต้น  ได้รับความร่วมมือจากคณะทำงาน สมาชิก และบุคคลทั่วไปเป็นอย่างดี  และใช้โอกาสนี้ปลูกป่าเนื่องในโอกาสวันพ่อแห่งชาติด้วย  นอกจากปลูกต้นไม้แล้ว ผู้เข้าร่วมกิจกรรมยังได้ร่วมกันตกแต่งต้นไม้ที่มีอยู่เดิม  โดยการตัดแต่งวัชพืช ตัดแต่งกิ่งที่ไม่เหมาะสมออกไป  ต้นไม้ท้องถิ่นที่มีอยู่เดิมเช่น ชับพรา  เขม้า  กระโดน  แต้ว ฯลฯ ได้รับการดูแลอย่างที่กล่าวข้างต้น  จากการสังเกต  ผู้เข้าร่วมโครงการ ทำกิจกรรมด้วยความสนุกสนาน  โดยแบ่งหน้าที่กันทำ ผู้ใหญ่ขุดหลุ่ม เด็กๆ ช่วยการปลูก  ผู้หญิงลำเลียงพันธุ์ไม้ให้เด็กๆ และให้คำแนะนำในการปลูก  คนที่มีรถยนต์ ทำหน้าที่บรรทุกพันธุ์ไม้จากในหมู่บ้าน  ดูแล้วพวกเขาทำกันด้วยความสุข สนุกสนาน น่าจะเป็นนิมิตหมายว่า ต้นไม่เหล่านี้ จะป็นประโยชน์ต่อเขาในภายภาคหน้า

กิจกรรมหลัก : กิจกรรมเฝ้าระวัง/ดูแลพันธ์ไม้โดยชุดลาดตระเวน เดือนละครั้ง จำนวน 12 ครั้งi

18,000.00 10 ผลผลิต

การเฝ้าระวัง/ดูแลพันธ์ไม้โดยชุดลาดตระเวน จำนวน 10 คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

เด็กและเยาวชนได้ร่วมกิจกรรมและสังเกตการเจริญเติบโตของพันธุ์ไม้ที่ปลูกไว้และพบว่าพันธ์ไม้ที่ปลูกไว้บางส่วนตายไปตั้งสมมุติฐานว่า ส่วนที่ตายไปนั้น เกิดจากสาเหตุ 2 ประการ คือ เถาวัลย์ปกคลุม และพันธุ์ไม้ที่ปลูกมีขนาดเล็กเกินไป ปัญหา/แนวทางแก้ไข ไม่สามารถติดตามดูแลต้นไม้ได้ทั่วถึง เนื่องจากกลุ่มที่ปลูกและกลุ่มที่ดูแล เป็นคนละกลุ่ม  จึงทำให้ดูแลได้เฉพาะส่วนที่ตนเองปลูกเท่านั้น แนวทางแก้ไข ต้องจัดกลุ่มดูแลให้เป็นกลุ่มเดียวกันกับกลุ่มที่ปลูกต้นไม้

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 12 ครั้ง

คณะทำงานเด็กและเยาวชน จำนวน  10  คน

1,500.00 1,200.00 10 10 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ดูแลต้นไม้ที่ได้ปลูกไว้ บริเวณป่าต้นน้ำปลายเพรี๊ยะพบว่า บางส่วนตายไปแล้ว

คณะทำงาน -เด็กและเยาวชน ชุดละ 10 คน

1,500.00 1,500.00 10 10 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เด็กและเยาวชน ชุดละ 10 คน เฝ้าระวัง/ดูแลพันธ์ไม้ที่ปลูก พบว่า ต้นไม้ที่ไม่ตาย เจริญงอกงามดี

คณะทำงาน -เด็กและเยาวชน ชุดละ 10 คน

1,500.00 1,500.00 10 10 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เด็กและเยาวชน ชุดละ 10 คน  ตรวจตรา ดูแลพันธุ์ไม้ที่ปลูกและที่ขึ้นตามธรรมชาติ  รวมถึงสัตว์ป่าขนาดเล็กต่างๆ

คณะทำงาน -เด็กและเยาวชน  10 คน

1,500.00 1,500.00 10 10 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เด็กและเยาวชนสังเกตการเจริญเติบโตของพันธุ์ไม้  และตั้งสมมุติฐานว่า ส่วนที่ตายไปนั้น เกิดจากสาเหตุ 2 ประการ คือ เถาวัลย์ปกคลุม และพันธุ์ไม้ที่ปลูกมีขนาดเล็กเกินไป

คณะทำงาน ชุดลาดตระเวณ -เด็กและเยาวชน ชุดละ 10 คน

1,500.00 1,500.00 10 10 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ลาดตระเวณพื้นที่ตามที่ได้แบ่งเขตไว้แล้วจากที่ประชุม  ครั้งนี้ชุดลาดตระเวณได้ลาดตะเวณพื้นที่ด้านเหนือของคลองเพรี๊ยะ  จากการลาดตระเวณพบว่า ต้นไม้ส่วนใหญ่เจริญเติบโตได้ดี แต่มีบางส่วนที่ตายไป อันเนื่องมาจากพันธุ์ไม้ที่ปลูก มีขนาดเล็กเกินไป  ส่วนต้นไม้เดิมที่มีขาดเล็ก มีบางส่วนโค่นล้ม เนื่องจากการกพังทะลายของดินที่เกิดจากการกัดเซาะของน้ำฝน

คณะทำงาน -เด็กและเยาวชน ชุดละ 10 คน - ผู้สังเกตการณ์  จำนวน 1  คน

1,500.00 1,600.00 10 11 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ชุดลาดตระเวณซึ่งบประกอบด้วยเด็กและเยาวชน จำนวน  10  คน และผู้สังเกตการณ์  1  คน  ลาดตระเวณเพื่อเฝ้าระวังการตัดไม้ทำลายป่า  และการบุกรุกป่า  โดยลาดตระเวณเขตพื้นที่ป่าด้านใต้ของคลองเพรี๊ยะ  ไม่พบการบุกรุกและการตัดไม้ทำลายป่าแต่อย่างใด  ส่วนของต้นไม้ที่ปลูกใหม่พบว่า ส่วนใหญ่เจริญเติบโตได้ดีตามธรรมชาติ  บางส่วนถูกปกคลุมด้วยเถาวัลย์ ชุดลาดตระเวณได้ดูและโดยการตัดแต่งเถาวัลย์

คณะทำงาน  เด็กและเยาวชน ชุดละ 10 คน

1,500.00 1,500.00 10 10 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เดินเท้า เฝ้าระวัง ดูแลต้นไม้ที่ปลูกและที่มีอยูตามธรรมชาติทางด้านทิศใต้ของคลองเพรี๊ยะพบว่าบางส่วนเสียไป เนื่องจากการพังทะลายของดิน และเกิดการปกคลุมของเถาวัลย์ชุดลาดตระเวณได้ทำการตกแต่งเถาวัลย์ที่ปกคลุมต้นไม้ที่ปลูกใหม่เป็นที่เรียบร้อย

คณะทำงาน -เด็กและเยาวชน ชุดละ 10 คน

1,500.00 1,500.00 10 10 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เฝ้าระวัง/ดูแลพันธ์ไม้บริเวณป่าต้นน้ำปลายเพรี๊ยะ โดยชุดลาดตระเวนริเวณ  ประกอบด้วย คณะทำงาน  เด็กและเยาวชน ชุดละ 10 คน พบว่าต้นไม้เจริญเติบโตตามธรรมชาติ เป็นที่น่าพอใจ

คณะทำงาน  6  คน -เด็กและเยาวชน ชุดละ 6 คน

1,500.00 1,500.00 10 12 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ชุดลาดตระเวณเดินเท้าลากตระเวณบริเวณป่าต้นน้ำด้านทิศใต้ของคลองเพรี๊ยะ ไม่พบความผิดปกติใดๆ  พบผู้คนหาของป่าและสัตว์น้ำเพื่อดำรงชีพบ้างเล็กน้อย ซึ่งถือเป็นเรื่องปกติของชุมชนที่นี่  ของป่าที่กล่าวถึงนี้บางชนิดจำเป็นต่อการดำรงชีพของผู้คนในท้องถิ่น  เช่น ดอกยง นำไปทำไม้กวาดดอกหญ้า ใช้ในครัวเรือน  หวายกำพวน ทำด้ามไม้กวาด  หวาย ใช้ทำเป็นเชือกผูกไม้กวาด  ส่วนสัตว์น้ำ นำไปประกอบอาหาร เช่น ปลาซิว  หอยโหล๊ะ (ภาษาถิ่น) กุ้งฝอย ปลาโสด (ปลากระสูบ) สัตว์น้ำเหล่านี้ ล้วนแต่มีอยู่ตามธรรมชาติ  ผู้คนก็หาปลาด้วยเครื่องมือที่ไม่ผิดกฎหมาย เป็นเครื่องมือหากินแบบดั้งเดิม เช่น ไซ  นาง  แห  อีมุ้ม  ชุดลาดตระเวณ ได้ให้คำแนะนำการหาสัตว์ดังกล่าวให้หากินแบบอนุรักษ์  ซึ่งก็ได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดี

ติดตาม เฝ้าระวังดูแบพันธุ์ไม้ที่ปลูกใหม่และไม้ทั่วไป

1,500.00 1,500.00 10 15 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เดินเท้าลาดตระเวณป่าบริเวณด้านเหนือของคลองเพรี๊ยะ พันธุ์ไม้ที่ปลูกใหม่ส่วนใหญ่เจริญเติบโตดี ไม่พบการแผ้วถางหรือบุกรุกป่า ซึ่งพอจะบอกความหมายได้ว่า ประชุาชนเริ่มเห็นความสำคัญของป่าต้นน้ำคลองเพรี๊ยะ อย่างไรก็ตาม ในส่วนที่เป็นที่ทำกันอยู่ก่อนนั้น ก็เป็นปัญหาก้ำกึ่งกับเขาอุทยานแห่งชาติอยู่ ปัญหานี้หมักหมมอยู่นานหลายปี เกิดปัญหาว่้า ไม่ทราบเขตที่แน่นอน ราษฎรทำกินในที่ดินเดิมของบรรพบุรุษ แต่กลายเป็นการบุกรุกป่า เป็นปัญหาเรื่อยมา

คณะทำงาน 8 คน เด็กและเยาวชน 7 คน

1.00 1,500.00 10 15 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ชุดลาดตระเวณเดินเท้า เพื่อเฝ้าระวังป่าต้นน้ำคลองเพรี๊ยะ พบว่า ช่วงนี้เป็นหน้าแล้ง  สภาพป่าขาดความชุ่มชื้น  แต่ก็ไม่ส่งผลกระทบกับกับไม้ที่ปลูกกใหม่มากนัก  น้ำในคลองเพรี๊ยะลดระดับลงมาก ซึ่งเป็นเรื่องปกติทุกปี  แต่บริเวณหน้าฝายชะลอน้ำ ยังมีน้ำในปริมาณพอสมควร สัตว์น้ำต่างๆ มาอาศัยอยู่บริเวณหน้าฝายชะลอน้ำมากกว่าช่วงที่ผ่านมา

คณะทำงาน 7 คน -เด็กและเยาวชน ชุดละ 6 คน

1,500.00 1,500.00 10 13 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ชุดลาดตระเวณเดินเท่าลาดตระเวณบริเวณป่าด้านทิศใต้ของคลองเพรี๊ยะ และบริเวณฝายชะลอน้ำทั้ง 3 จุด  สภาพป่าชุมชื่นขึ้น เนื่องจากมีฝนตกทำให้เกิดความชุมชื่้น  สภาพป่าโดยทั่วไปปกติ  ส่วนบริเวณฝายชะลอน้ำ มีเศษไม้ ใบไม้ ทับถมหน้าฝายชะลอน้ำ ชุดลาดตระเวณได้ดำเนินการเก็บเศษไม้ ใบไม้เหล่านั้นออกไป  และกระอบทรายบางส่วนขาดผุพังไป เนื่องจากใช้กระกอบเก่า  สังเกตสัตว์น้ำบริเวณหน้าฝายชะลอน้ำ  คะเนด้วยสายตา พบว่ามีปริมาณเพิ่มขึ้นเล็กน้อย

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

  ปลูกต้นพะยูงและต้นตะเคียนทอง จำนวนประมาณ  680  ต้น

ปลูกป่า ครั้งที่ 3 ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 135 คน คณะทำงาน  15  คน สมาชิก  120  คน ปลูกต้นไม้บริเวณริมอ่างเก็บน้ำป่าพะยอม  จำนวนประมาณ  680  ต้น ปรับเปลี่ยนการปลูกป่าบริเวณป่าต้นน้ำปลายเพรี๊ยะ  มาปลูกบริเวณริมอ่างเก็บน้ำป่าพะยอม  เนื่องจากเกรงอันตรายจากฝนตกหนัก  โดยปลูกต้นพะยูงและต้นตะเคียนทอง จำนวนประมาณ  680  ต้น  ได้รับความร่วมมือจากคณะทำงาน สมาชิก และบุคคลทั่วไปเป็นอย่างดี  และใช้โอกาสนี้ปลูกป่าเนื่องในโอกาสวันพ่อแห่งชาติด้วย

มีฝายชะลอน้ำ ในบริเวสณคลองเพร๊ียะ  จำนวน  3  ชุด

ตัวแทนคนในชุมชน 92 คนได้แก่คณะทำงานจำนวน 10 คนเด็กและเยาวชนจำนวน 20 คน ตัวแทนครัวเรือนในชุมชนจำนวน 62 คน ร่วมกันจัดทำฝายชะลอน้ำบริเวณคลองเพร๊ียะ  จำนวน  3  ชุด

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

มีการแบ่งหน้าที่กันทำตามที่แบ่งกันไว้อย่างดี มีทีมครูจากร.ร.ชุณหวัณร่วมเป็นคณะทำงาน อีกทั้งบางกิจกรรมยังมีเจ้าหน้าที่พิทักษ์ป่าจากอุทยานแห่งชาติเขาปู่เขาย่า เข้ามาร่วมเป็นทีมงานด้วย เช่นการเดินสำรวจฯการเฝ้าระวัง การปลูกป่าเพิ่มเติม

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

มีพัฒนาการของทักษะในการทำงานมากขึ้น เช่นการทำเอกสารหลักฐาน การจัดประชุมมีการเตรียมการ มีการสรุปแลหาข้อบกพร่องมาแก้ไข มีการเชื่อมกับหน่วยงานให้เข้าร่วมทำงานด้วยกันมากข้น

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

ส่วนใหญ่อยู่ในเกษฑ์ที่น่าพอใจ โดยเฉพาะกิจกรรมที่มีเด็กและเยาวชนเข้าร่วมกิจกรรม เด็กๆจะมีความสนุกสนานมาก และมักจะเรียกร้องให้มีการจัดบ่อยขึ้น ถี่ขึ้น

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

มีการรักษาหน้าที่การเบิกจ่ายได้ถูกต้อง ใครเบิกใครจ่าย แบ่งกันได้ถูกต้องชัดเจน

2.2 การใช้จ่ายเงิน

อยู่ในกรอบงบประมาณที่ตั้งไว้ในโครงการ

2.3 หลักฐานการเงิน

ถูกต้องตามที่กำหนดไว้ในโครงการ แม้จะมีบางส่วนไม่ครบถ้วนแต่ก็สามารถแก้ไขตามคำแนะนำของพี่เลี้ยงได้ครบถ้วนเมื่อปิดงวด

ผลรวม 0 0 0 0
ผลรวมทั้งหมด 0 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

คณะทำงานมีการแบ่งบทบาทหน้าที่กันทำอย่างชัดเจนต่อเนื่อง มีการประชุมทีมประชุมหมู่บ้านเพื่อติดตามประเมินผลการทำงานเป็นระยะ

สามารถดำเนินงานได้ทันและครบตามแผนที่กำหนดไว้ คุณภาพของงานอยู่ในเกณฑ์น่าพอใจ

การใช้จ่ายงบประมาณอยู่ในกรอบของงบฯที่วางไว้ หลักฐานการใช้จ่ายเงินถูกต้อง มีการแจ้งต่อชุมชนทุกเดือน สามารถปิดงวดได้ตามปกติ

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

ในด้านการพัฒนาศักยภาพของคน เห็นการพัฒนาของคณะทำงานที่ชัดเจนขึ้นมากในช่วงที่ผ่านมา ทั้งทักษะการจัดการประชุม การจัดกระบวนกับเด็กและเยาวชน การจัดทำรายงาน การใช้จ่ายเงินมีความชัดเจนถูกต้องมากขึ้น คุณภาพของงานอยู่ในเกณฑ์น่าพอใจ ทำงานโดยการมีส่วนร่วมมากขึ้น มีการเชื่อมต่อกับภาคีภายนอกเช่นเขตห้ามล่าสัตว์ป่าเทือกเขาบรรทัด อุทยานแห่งชาติเขาปู่เขาย่า การทำงานร่วมกับโรงเรียนชุณหวัณ ภายในชุมชนก็ได้รับความร่วมมือกับครัวเรือนอย่างดีเข้าร่วมกิจกรรมและให้ความร่วมมือดี เดินต่อสู่งวดสามได้

สร้างรายงานโดย เสณี จ่าวิสูตร