แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 2

รหัสโครงการ 57-01477
สัญญาเลขที่ 57-00-1029

ชื่อโครงการ บ้านหนองชีพูน เป็นบ้านอยู่เย็นเป็นสุข
รหัสโครงการ 57-01477 สัญญาเลขที่ 57-00-1029
ระยะเวลาตามสัญญา 10 มิถุนายน 2014 - 10 กรกฎาคม 2015

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นายยงยุทธ์ สุขพิทักษ์
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2 นายมนูญ พลายชุม
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 31 มีนาคม 2015
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 31 มีนาคม 2015
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นายเจริญ วิทา 13 หมู่ที่ 7 ตำบลเขาพระบาท อำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช 0846302870
2 นางกัณหา จงไกรจักร 152 หมู่ที่ 7 ตำบลเขาพระบาท อำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช 0862784954
3 นางอารีย์ กรรมแต่ง 27 หมู่ที่ 7 ตำบลเขาพระบาท อำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช 087201130
4 นางวิลาวัณย์ สมบูรณ์ 165 หมู่ที่ 7 ตำบลเขาพระบาท อำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช 0817282031
5 นางรัตนพร บางหรง 168 หมู่ที่ 7 ตำบลเขาพระบาท อำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช 0878957633
6 นางละเมียด แก้วนุ้ย 166 หมู่ที่ 7 ตำบลเขาพระบาท อำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช
7 นางเสน่ห์ เต็มเปี่ยม 98 หมู่ที่ 7 ตำบลเขาพระบาท อำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช
8 นางโสภา บางหรง 43/1 หมู่ที่ 7 ตำบลเขาพระบาท อำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

เพื่อให้บ้านหนองชีพูน เป็นบ้านอยู่เย็นเป็นสุข

  1. คณะทำงานบริหารโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ
  2. ประชาชนทุกครัวเรือนมีส่วนร่วมในการจัดทำข้อมูลชุมชน ร้อยละ 100
  3. มีการคืนข้อมูลชุมชนให้กับทุกครัวเรือน ร้อยละ 100
  4. มีการประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับโครงการไปยังครัวเรือนเป้าหมาย ร้อยละ 85
  5. ครัวเรือนเป้าหมายมีการเรียนรู้และจัดทำบัญชีครัวเรือน ร้อยละ 100
  6. กลุ่มเป้าหมายมีแนวทางการลดใช้สารเคมีในชีวิตประจำวันอย่างน้อย 1 เรื่อง
  7. กลุ่มเป้าหมายมีแผนการลดรายจ่ายครัวเรือน ร้อยละ 90

2.

เพื่อปรับสภาพแวดล้อมชุมชน ปรับวิถีการดำรงชีวิตตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง

  1. คนสามวัยได้เรียนรู้การนำวัสดุเหลือใช้มาประดิษฐ์ดอกไม้จันทน์ ดอกไม้สดและทำเป็นชุดความรู้ 1 เรื่อง
  2. คนสามวัยได้เรียนรู้การทำเกษตรอินทรีย์และทำเป็นชุดความรู้ 1 เรื่อง

3.

เพื่อส่งเสริม ขยายผลการเรียนรู้ และความต่อเนืองในการปรับวิถีการดำรงชีวิต

  1. มีมหกรรมสุขภาพปรับวิถีชีวิต เรียนรู้ อยู่อย่างสุข เพื่อขยายผลการเรียนรู้และสร้างให้เกิดการรับรู้ในกลุ่มประชาชน 1 ครั้ง
  2. มีการสื่อสารข้อมูลการดำเนินงานก่อนและหลังกิจกรรมพร้อมทั้งคืนข้อมูลสู่ครัวเรือน 1 ชุด
  3. มีถอดบทเรียนการดำเนินงาน 1 เรื่อง

4.

เพื่อบริหารจัดการและติดตามผลการดำเนินงานโครงการ

จำนวนครั้งในการเข้าร่วมกิจกรรมกับ สสส.หรือ สจรส.ม.อ.

2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมหลัก : ประชุมคณะทำงาน (12 ครั้ง)i

10,000.00 20 ผลผลิต

1.มีแผนการทำงานร่วมกัน 2.มีการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ 3.มีการเรียนรู้กิจกรรมตามโครงการ และการบันทึกออนไลน์ 4.มีการเรียนรู้บัญชีครัวเรือน 5.มีแนวทางการลดราจ่ายครัวเรือน 6.มีเครือข่ายร่วมทำงาน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

การเปลี่ยนแปลงในคน : มีการเรียนรู้ร่วมกัน มีการวางแผนการทำงาน เปลี่ยนทัศนคติ การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม : มีภาคีเครือข่ายเข้ามาร่วมทำงาน การเปลี่ยนแปลงกลไก : มีการแบ่งหน้าที่ มอบหมายการทำาน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 12 ครั้ง

คณะทำงานเข้าร่วมประชุมตามแผน

700.00 700.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. คณะทำงานได้เรียนรู้กระบวนการพัฒนางาน ให้ความร่วมมีกันดีในการทำกิจกรรม เกิดความสามัคคีในกลุ่ม อยากทำงานเพื่อให้เกิดประโยชน์กับชุมชน
  2. มีการวางแผนการทำงาน
  3. แบ่งหน้าที่มอบหมายการทำงานตามโครงการ
  4. สร้างความรัก ความสามัคคีในการทำาน ให้ความร่วมมีกันดีในการทำกิจกรรม

คณะทำงาน 20 คน

700.00 700.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. มีการประชุมตามแผนที่กำหนด
  2. วางแผนการสำรวจข้อมูลชุมชน
  3. ได้เรียนรู้ระหว่างกันและกันในหมู่บ้าน
  4. มีการแลกเปลี่ยนความคิดแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกัน โดยสิ่งที่เกิดขึ้นเกินความคาดหมาย ราษฎรในหมู่บ้านให้ความร่วมมือเกินความคาดหมายของคณะทำงาน ทำให้เกิดการเรียนรู้ซึ่งกันและกันในหมู่บ้าน

คณะทำงาน 20 คน

2,300.00 2,300.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีการประชุมตามแผนที่กำหนด 2.มีการวางแผนการทำงานล่วงหน้า 3.มีการมอบหมายหน้าที่ในการจัดประชุม 4.เป็นการส่งเสริมให้เกิดความรัก ความสามัคคีกันมากขึ้น 5.ส่งเสริมการเรียนรู้การทำน้ำยาล้างจาน 6.เป็นการลดต้นทุนในครัวเรือน

คณะทำงาน 20 คน 

700.00 700.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.คณะทำงานประชุมตามแผนที่กำหนด 2.มีการวางแนวทางการลดค่าใช้จ่ายครัวเรือน 3.ส่งเสริมให้ครัวเรือน ลด ละ เลิกบุหรี่ และหันมาออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ 4.คณะทำงานให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมทุกครั้ง 5.คณะทำงานมีจิตสำนึกในการลดใช้สารคมี

คณะทำงาน 20 คน 

700.00 700.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. มีการประชุมตามแผนที่กำหนด
  2. มีการติดตามผลการทำงานของโครงการ
  3. มีการวางแผนการทำงานและกลไกขับเคลื่อนงาน
  4. จากการประเมินพบว่าชาวบ้านให้ความสนใจในโครงการมาก
  5. ชุมชนและคณะทำงานได้เรียนรู้ปัญหาในชุมชน สิ่งที่เกิดขึ้นเกินความคาดหมาย ชาวบ้านมีความสนใจในโครงการนี้ดี แต่สิ่งที่ยังเป็นปัญหาคือชาวบ้านบางคนยังติดการใช้ผงชูรสในคัวเรือน

คณะทำงานเข้าร่วมประชุม 20 คน 

700.00 700.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีการประชุมตามแผนงานที่กำหนด และมีการติดตามผลการดำเนินงานและความก้าวหน้าของกิจกรรม 2.คณะทำงานมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำงาน เกิดภาพการทำงานแบบมีส่วนร่วม

แกนนำชุมชน  เยาวชน แกนนำครัวเรือน และทีมงาน

700.00 700.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีการประชุมตามแผนงานที่กำหนด มีการติดตามผลการดำเนินงานและความก้าวหน้าของกิจกรรม 2.คณะทำงานมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำงาน เกิดภาพการทำงานแบบมีส่วนร่วม 3.มีการแสดงความคิดเห็น  ระดมความคิดเห็นของคนในหมู่บ้าน 4.ได้วางแผนการทำกิจกรรมไว้ล่วงหน้า

แกนนำชุมชน  และทีมงาน

700.00 700.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีการประชุมตามแผนงานที่กำหนด มีการติดตามผลการดำเนินงานและความก้าวหน้าของกิจกรรม 2.คณะทำงานมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำงาน เกิดภาพการทำงานแบบมีส่วนร่วม 3.มีการแสดงความคิดเห็น  ระดมความคิดเห็นของทีมงาน 4.ได้วางแผนการทำกิจกรรมไว้ล่วงหน้า

แกนนำชุมชน  และทีมงาน

700.00 700.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีการประชุมตามแผนงานที่กำหนด มีการติดตามผลการดำเนินงานและความก้าวหน้าของกิจกรรม 2.คณะทำงานมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำงาน เกิดภาพการทำงานแบบมีส่วนร่วม 3.มีการแสดงความคิดเห็น  ระดมความคิดเห็นของทีมงาน 4.ได้วางแผนการทำกิจกรรมไว้ล่วงหน้า

แกนนำชุมชน และทีมงาน

700.00 700.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีการประชุมตามแผนงานที่กำหนด มีการติดตามผลการดำเนินงานและความก้าวหน้าของกิจกรรม 2.คณะทำงานมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำงาน เกิดภาพการทำงานแบบมีส่วนร่วม 3.มีการแสดงความคิดเห็น  ระดมความคิดเห็นของทีมงาน 4.ได้วางแผนการทำกิจกรรมไว้ล่วงหน้า

แกนนำชุมชน และทีมงาน

700.00 700.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีการประชุมตามแผนงานที่กำหนด มีการติดตามผลการดำเนินงานและความก้าวหน้าของกิจกรรม 2.คณะทำงานมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำงาน เกิดภาพการทำงานแบบมีส่วนร่วม 3.มีการแสดงความคิดเห็นของทีมงาน 4.ได้วางแผนการทำกิจกรรมไว้ล่วงหน้า

แกนนำชุมชน และทีมงาน

700.00 700.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีการประชุมตามแผนงานที่กำหนด มีการติดตามผลการดำเนินงานและความก้าวหน้าของกิจกรรม 2.คณะทำงานมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำงาน เกิดภาพการทำงานแบบมีส่วนร่วม 3.มีการแสดงความคิดเห็น  ระดมความคิดเห็นของทีมงาน 4.ได้วางแผนการทำกิจกรรมไว้ล่วงหน้า 5.แบ่งหน้าที่ในการรับผิดชอบในกิจกรรมครั้งต่อไป

กิจกรรมหลัก : การปฐมนิเทศกิจกรรมตามโครงการi

2,000.00 3 ผลผลิต

1.คณะทำงานได้เรียนรู้การบันทึกโปรแกรมออนไลน์ 2.คณะทำงานได้เรียนรู้แนวคิดการทำงาน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

การเปลี่ยนแปลงในคน : ทีมงานได้ปรับแนวคิด ได้ทำความเข้าใจและเรียนรุ้โครงการ การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม : เรียนรู้การนำทุนชุมชน มาใช้ในการพัฒนาโครงการ การเปลี่ยนแปลงกลไก : มีการแบ่งหน้าที่และมอบหมายการทำงาน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

คณะทำงานเข้าร่วมประชุม 5 คน 

2,000.00 2,000.00 5 5 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. คณะกรรมการได้เรียนรู้และเกิดความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินโครงการ
  2. คณะทำงานเรียนรู้วิธีคิดในการดำเนินโครงการตามแผนงาน รวมถึงวิธีการดำเนินกิจกรรมของโครงการ
  3. เรียนรู้วิธีการใช้งานระบบการทำงานบนเว็บไซต์คนใต้สร้างสุข

กิจกรรมหลัก : หนุนเสริมและติดตามในพื้นที่ ร่วมกับ สจรส.มอ.i

8,000.00 5 ผลผลิต

1.ได้นำเสนอผลการพัฒนางานตามโครงการ ให้กับภาคีเครือข่าย 2.มีภาคีเครือข่ายมาร่วมทำงาน 3.มีแนวทางการพัฒนาชุมชนตามแนววิถีชุมชน 4.เกิดกระบวนการพัฒนาแบบมีส่วนร่วมด้วยกลุ่มคนสามวัย


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

การเปลี่ยนแปลงในคน : ทีมงานและภาคีเครือข่าย มีการปรับแนวคิดทำงาน และร่วมสร้างแนวทางการพัฒนาชุมชนด้วยกัน การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม : นำภูมิปัญญา วิถีชุมชน และทรัพยากรในชุมชนมาร่วมพัฒนา การเปลี่ยนแปลงกลไก : หน่วยงานรัฐโรงเรียน ภาคประชาชน ร่วมกันพัฒนาเป็นทีม และเป็นพี่เลี้ยงการทำงาน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 15 ครั้ง

กลุ่มเป้าหมาย 100 คน

0.00 0.00 100 100 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ประชาชนเห็นด้วยกับกิจกรรมที่เสนอ และสมัครใจเข้าร่วมกิจกรรม 2.กลุ่มเป้าหมายมองเห็นแนวทงการพัฒนาหมู่บ้าน
3.เป็นการสร้างการมีส่วนร่วมในการพัฒนาหมู่บ้าน 4.การทำงานมีทั้งคนในชุมชนและภาคี 5.ใช้ทรัพยากรในชุมชนให้เกิดประโยชน์ 6.ทุกคนให้เกียรติกันและกัน

คณะทำงาน 5 คน 

0.00 0.00 5 5 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ตัวแทนโครงการเข้าร่วมกิจกรรม เพื่อทำความเข้าใจเกี่ยวกับกลวิธีการดำเนินงานตามโครงการ และให้ทบทวนกิจกรรมการดำเนินงาน 2.ให้ทำการปรับปรุงปฏิทิน การดำเนินงาน ให้สอดคล้องกับกระบวนการพัฒนางานในพื้นที่
3.เรียนรู้วิธีการบันทึกกิจกรรมในแบบบันทึก การจัดเก็บเอกสาร
4.เรียนรู้วิธีการเขียนใบเสร็จรับเงิน ใบสำคัญรับเงิน
5.เรียนรู้วิธีการบันทึกข้อมูลในโปรแกรมออนไลน์

ส่ิิ่งที่ได้เรียนรู้คือ คณะทำงานมีความตั้งใจ โครงการนี้ สามารถดำเนินงานได้ เพราะทุกคนในทีมงานเข้าใจ และสามัคคี

คณะทำงาน 3 คน 

0.00 0.00 3 3 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการร่วมประชุม ได้ผลสรุปดังนี้

  1. การบันทึกเอกสารการทำกิจกรรมให้ใช้แบบฟอร์มที่ร่วมกันกำหนด
  2. หลักฐานการดำเนินงานให้แนบตามแบบฟอร์ม
  3. การทำกิจกรรมให้ยึดตามปฏิทินที่ได้ร่วมกันกำหนด
  4. เมื่อดำเนินกิจกรรมเรียบร้อยแล้วให้บันทึกรายงานกิจกรรมลงในเว็บไซต์
  5. รายงานบนเว็บไซต์ต้องตรงกับเอกสารการเงิน เอกสารรายงานกิจกรรรม
  6. กำหนดวันทำรายงานปิดโครงการงวดแรก ภายในเดือนตุลาคม 57
  7. กำหนดให้ตัวแทนคณะทำงานนำสมุดบัญชีเงินฝากไปปรับตรวจเช็คเงินสนับสนุนโครงการ

คณะทำงาน 5 คน

0.00 0.00 5 5 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีภาคีเครือข่าย เข้ามีส่วนร่วมในการทำงาน
2.มีภาคีเข้ามาร่วมตรวจสอบการทำงาน และเกิดความโปร่งใสในการทำงาน 3.เป็นการประชาสัมพันธ์ให้ภาคีเครือข่ายรับทราบกิจกรรมการพัฒนาหมู่บ้าน 4.เป็นการสร้างคุณค่าให้เกิดกับชุมชน 5.นำทุนที่มีอยุ่ในชุมชนมาร่วมพันฒนา 6.เกิดความรัก ความอาทรกันในตำบล

คณะทำงาน 5 คน 

0.00 0.00 5 5 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.คณะทำงานได้พูดคุยเกี่ยวกับการพัฒนาโครงการในหมู่บ้าน และสิ่งดีดีที่เกิดขึั้น ให้กับคณะกรรมการพัฒนาพื้นที่ตำบลเขาพระบาท ผู้นำชุมชน และหน่วยงานราชการในพื้นที่
2.ทุกคนได้รับรู้นโยบายการพัฒนาพื้นที่ตำบลเขาพระบาทและหมู่บ้านตนเองร่วมกัน 3.เป็นการบูรณาการร่วมของหน่วยงานและพื้นที่ของตำบลเขาพระบาท
4.เกิดแนวทางการการขับเคลื่อนงานหมู่บ้านสุขภาพดีและตำบลสุขภาพดี 5.เป็นการตรวจสอบการทำงาน เน้นความโปร่งใส 6.เป็นการประเมินโครงการแบบไขว้ ร่วมกับชุมชน 7.เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างคนสามวัย 

คณะทำงาน 5 คน

0.00 0.00 5 5 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. เป็นการเผยแพร่ผลงานให้ภาคี ได้รับรู้
  2. สร้างกระบวนการมีส่วนร่วมในการทำงานระหว่างชุมชนและภาคีภายนอก
  3. ผู้นำชุมชน หน่วยงานราชการ ให้ความสำคัญ
  4. เกิดการเปลี่ยนแปลงกลไก ที่หน่วยงานรัฐมาช่วยดูแล

คณะทำงาน 5 คน 

0.00 0.00 5 5 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สำหรับบ้านหนองชีพู เดือนนี้ได้เล่าให้กับคณะกรรมการได้รับฟังคือ
1.มีการเรียนรู้ในการทำดอกไม้จันทร์ และการจัดดอกไม้
2.มีการเก็บข้อมูลชุมชน โดยการมีส่วนร่วมของทุกคน 3.สร้างกลไกการมีส่วนร่วมระหว่างชุมชน
4.มีภาคีเครือข่ายเข้ามาช่วยเหลือในการทำงาน

คณะทำงาน 2 คน

500.00 500.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะทำงานเบิกถอนเงินค่าเปิดบัญชี 500 บาท

คณะทำงาน 3 คน 

1,500.00 1,500.00 3 3 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. เกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันระหว่างพื้นที่ เครือข่าย และพี่เลี้ยง
  2. มีข้อมุลชุมชน เพื่อเป็นแนวทางการพัฒนาหมู่บ้าน
  3. ทำให้มองเห็นปัญหาของชุมชน
  4. เป็นการสร้างกระบวนการเรียนรู้ และตระหนักในครอบครัวมากขึ้น
  5. สร้างความเสียสละ จิตอาสาในการพัฒนาชุมชน
  6. ประชาชนมีการเปลี่ยนแปลงทัศนคติ

คณะทำงาน 5 คน

0.00 0.00 5 5 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จาการพูดคุยแลกเปลี่ยนพบว่า บ้านหนองชีพูน มีกิจกรรมดังนี้ 1.มีการสำรวจข้อมูลชุมชน
2.มีการเรียนรู้การทำดอกไม้จันทน์ 3.เรียนรู้การทำดอกไม้สด 4.เรียนการลดการใช้สารเคมี 5.เรียนรู้เรื่องเกษตรอินทรีย์


กิจกรรมที่ทำในวันนี้คือ 1. ประชุมสรุปบทเรียนที่ผ่านมา 2. คณะทำงานเข้าร่วมประชุมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ นครศรีธรรมราช เพื่อสรุปผลงาน และปิดงวดรายงาน งวดที่ 1
3. มีการตรวจสอบเอกสาร  การดำเนินงาน พร้อมรายชื่อผู้เข้าร่วมประชุม และการบันทึกข้อมูลในเอกสาร โดยพี่เลี้ยง
4. พี่เลี้ยงตรวจสอบเอกสารหลักฐานทางการเงิน และการเขียนใบเสร็จ
5. ตรวจสอบการบันทึกข้อมุลในโปรแกรมออนไลน์ 6. ร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในพื้นที่ของจังหวัดนครศรีธรรมราช

คณะทำงาน 10 คน ร่วมกับพี่เลี้ยง

0.00 0.00 10 10 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ฃุมชนได้ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมด้วยความภูมิใจ 2.กลุ่มเป้าหมาย ได้เรียนรู้วิธีลดเคมี วิธีสร้างสุขภาพ 3.กลุ่มเป้าหมายพึ่งตนเองได้ 4.กลุ่มเป้าหมายเข้มแข็ง

คณะทำงาน 10 คน ร่วมกับพี่เลี้ยง

0.00 0.00 10 10 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ทุกหมู่บ้านได้แสดงนิทรรศการผลการดำเนินงานของตนเอง
2.ได้เห็นภาพความเข็มแข็งของชุมชน 3.ทุกหมู่บ้านพึ่งตนเองได้
4.ประชาชนได้เรียนรู้การดำเนินชีวิตที่ปลอดภัย 5.เป็นแหล่งแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านสุขภาพ 6.เป็นแหล่งรวบรวมอาหารที่ปลอดภัย 7.ประชาชนทุกคนที่เข้าร่วมงานได้ออกกำลังกาย 8.ทุกคนมีความสุข

คณะทำงาน

2,000.00 2,000.00 5 5 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ได้เรียนรู้วิธีการปิดโครงการ 2.ได้มีการนำภาพถ่าย เข้าโปรแกรม  ให้เห็นถึงการทำกิจกรรมของโครงการ 3.ได้ตรวจสอบความถูกต้องของระบบทางการเงิน  และการรายงานผล

คณะทำงานร่วมกันสรุปผลการดำเนินงานตามโครงการและเรียนรู้วิธีปิดโครงการ

0.00 0.00 5 5 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการการดำเนินงาน ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้แก่
1.สร้างคุณค่าให้กับผู้สูงอายุโดยการทำดอกไม้จันทน์และสอนกลุ่มเยาชน 2.เปลี่ยนแนวคิดในการดูแลสุขภาพตนเอง จากเดิมซื้อข้าวสาร ปัจจุบันผลิตข้าวกล้อง 3. คนในครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการมองเห็นคุณค่าขยะในครัวเรือน 4.ร่วมกันเรียนรู้ลดสารเคมีในชีวิตประจำวัน
5.ปรับเปลี่ยนวิถีดำรงชีวิตในครัวเรือนโดยปลูกผักไว้กินเอง
6.เกิดความเอื้ออาทรและความสามัคคีในชุมชน
7.เกิดระบบการแบ่งปันที่ยุติธรรม
8.เกิดกลไกในการติดตามงาน
9.มีการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างโครงการเก่า และโครงการใหม่ในชุมชน

คณะทำงาน 5 คน และผู้เข้าร่วมงาน 150 คน

4,000.00 4,000.00 5 150 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ได้มีการนำเสนอและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับพื้นที่ต่างๆ 2.เกิดคุณค่าจากการพัฒนางาน 3.ทำให้มองเห็นทุนในชุมชนมากขึ้น และเห็นคุณค่าของทีมงาน 4.ได้รับการเสริมแรงจากหน่วยงานภาครัฐ

กิจกรรมหลัก : ค่าจัดทำป้ายปลอดบุหรี่i

1,000.00 0 ผลผลิต

1.มีการจัดทำป้ายโครงการและป้ายปลอดบุหรี่
2.มีการติดตั้งป้ายบุหรี่ในอาคารเอนกประสงค์ 3.มีกฎห้ามสูบบุหรี่อย่างถาวร


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

การเปลี่ยนแปลงในคน : 1.กระตุ้นให้ประชาชนเลิกบุหรี่ การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม : 1.มีสถานท่ี่งดสูบบุหรี่่ในชุมชน การเปลี่ยนแปลงกลไก : 1.มีกฎห้ามสูบบุหรี่ในท่ี่ชุมชน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

คณะทำงาน 2 คน 

1,000.00 1,000.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีป้ายรณรงค์ไม่สูบบุหรี่ติดไว้ที่อาคารประชุม 2.มีป้ายโครงการเพื่อประชาสัมพันธ์โครงการ

กิจกรรมหลัก : สำรวจข้อมูลชุมชน (3วัน)i

14,200.00 40 ผลผลิต

1.มีข้อมูลชุมชนสำหรับการพัฒนาหมู่บ้าน 2.มีการวางแผนการทำงานร่วมกัน 3.เกิดกระบวนการสอนงานซึ่งกันและกัน 4.มีการคืนข้อมูลสู่ชุมชนและครัวเรือน 5.มีการเรียนรู้ร่วมกัน เพื่อวางแผนแก้ปัญหาชุมชน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

การเปลี่ยนแปลงในคน1.ได้รับทราบข้อมูลและเปลี่ยนแนวคิดในการดำรงชีิวิต2.รับรู้สภาพปัญหาชุมชน และหาทางแก้ไขปัญหาร่วมกัน การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม1.มีข้อมูลชุมชนและจัดทำเป็นศุูนย์ข้อมูล2.มีการคืนข้อมุลไปสู่ประชาชนเพื่อนำไปใชัปรับวิถีชัวิต การเปลี่ยนแปลงกลไก1.มีการใช้ข้อมูลในการพัฒนาร่วมกัน2.นำขอ้มูลที่ได้ไปจัดตั้งเป็นกฎ กติกา ในการดำรงชีิวิต

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 3 ครั้ง

คณะทำงาน 5 คน

0.00 0.00 5 5 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีแบบสำรวจข้อมูลชุมชน
2.แบบสอบถามมีทั้งหมด 5 ส่วน 86 ข้อ
ส่วนที่ 1 ข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถามและประชากรในครัวเรือน
ส่วนที่ 2 ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมประเพณี
ส่วนที่ 3 ข้อมูลด้านสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงสุขภาพ
ส่วนที่ 4 ข้อมูลด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
ส่วนที่ 5 ข้อมูลด้านความมั่นคงทางอาหาร

คณะทำงานและทีมสำรวจ 30  คน 

14,200.00 14,200.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. มีการสำรวจข้อมูลชุมชน
  2. มีการปรับปรุงวิธีการทำงานเป็นระยะๆ เพื่อแก้ปัญหาในกรณีที่สำรวจไม่ได้
  3. มีการสอบถามเกี่ยวกับ รายรับ – รายจ่าย  ข้อมูล ด้านสุขภาพ  การดำรงชีวิต  การอนุรักษ์ทรัพยากรและ ภูมิปัญญาท้องถิ่น
  4. มีการแบ่งกลุ่มและหน้าที่รับผิดชอบในการสำรวจข้อมูล
  5. ได้เห็นภาพที่เกินความคาดหมายคือชาวบ้านให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีในการตอบแบบสอบถาม
  6. ทำให้ได้เรียนรู้เกี่ยวกับปัญหาในชุมชนกับชาวบ้าน

คณะทำงาน 5 คน

0.00 0.00 5 5 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. สำรวจข้อมูล 150 ครอบครัว คิดเป็นร้อยละ 88.23 ซึ่งพบว่ามีความซ้ำซ้อนกัน 20 ครอบครัว คิดเป็นร้อยละ 11.87
  2. ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ เป็นเพศหญิง ร้อยละ 71.20
  3. ทุกครัวเรือนเต็มใจที่จะตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 100
  4. ครัวเรือนส่วนใหญ่ไม่มีปัญหาจากการประกอบอาชีพ และมีอาชีพเกษตรกรรม
  5. มีฐานข้อมูลชุมชน 6.รับทราบปัญหาชุมชน

กิจกรรมหลัก : ประชาสัมพันธ์โครงการ (1ครั้ง)i

12,000.00 150 ผลผลิต

1.ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้รับรู้เกี่ยวกับโครงการ 2.รับสมัครประชาชนเข้าร่วมกิจกรรม 3.มีแนวทางการดำเนินกิจกรรม


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

การเปลี่ยนแปลงในคน : ประชาชนปรับทัศนคติ รับรู้ และตัดสินใจเข้าร่วมกิจกรรมด้วยความสมัครใจ การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม : เปิดโอกาสให้ทุกคน ทุกกลุ่ม เข้าร่วมพัฒนา การเปลี่ยนแปลงกลไก : การเข้าร่วมกิจกรรมด้วยความสมัครใจ

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

ประชาชน 150 คน 

12,000.00 12,000.00 150 150 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ประชาสัมพันธ์โครงการได้รับรู้
  2. รับสมัครกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมแบบสมัครใจ
  3. สร้างกระบวนการพัฒนางานด้วยคน 3 วัน
  4. เป็นการให้คุณค่ากับผู้สูงวัยในชุมชน
  5. ประชาชนสนใจและสมัครเข้าร่วมโครงการ เนื่องจากเรียนรู้วิถีชุมชน

กิจกรรมหลัก : เรียนรู้การทำบัญชีครัวเรือน (2 ครั้ง)i

31,500.00 150 ผลผลิต

1.เรียนรู้การทำบัญชีครัวเรือน 2.มีกฎ กติกาในการทำงาน 3.รับรู้ปัญหาของชุมชน 4.มีแนวทางการลดรายจ่ายครัวเรือน 5.ส่งเสริมให้ประชาชนมีความสุข


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

การเปลี่ยนแปลงในคน : เรียนรุ้การลดค่าใช้จ่ายครัวเรือน และมีแนวทางการดำเนินชีวิต การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม : มีการนำภูมิปัญญาและวิถีชุมชน มาใช้ในการพัฒนา การเปลี่ยนแปลงกลไก : มีการสร้างพี่เลี้ยง เพื่อดูแลกลุ่มเป้าหมาย

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 2 ครั้ง

ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย 150 คน 

19,500.00 19,500.00 150 150 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. เรียนรู้การทำบัญชีครัวเรือน และฝึกทำบัญชีครัวเรือน
  2. มีกฎ กติกาในการทำงาน
  3. ชาวบ้านให้ความสนใจมากขึ้นและจะมีการแข่งขันในการทำบัญชีครัวเรือน
  4. ได้รับรู้ปัญหาว่าสิ่งที่ยังเป็นปัญหา ชาวบ้านบางคนยังไม่เข้าใจในการลงช่างรับ-จ่าย
  5. เกิดแนวทางการเรียนรู้การทำรายรับ – รายจ่าย ของแต่ละครัวเรือน

กลุ่มเป้าหมาย 150 คน 

12,000.00 12,000.00 150 150 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีการประชุมตามแผนงานที่กำหนด 2.มีการวางแผนการพัฒนาหมู่บ้าน 3.มีการติดตามความก้าวหน้าในการทำงาน 4.ส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายออกกำลังกายตามความเหมาะสม 5.รณรงค์ให้ชาวบ้านที่เข้าร่วมกิจกรรม ให้ลดบุหรี่ สุรา 6.ได้เรียนรู้คือชาวบ้านให้ความสนใจเกี่ยวกับโครงการเป็นจำนวนมากและมีความกระตือรือร้นในการจดบันทึก รายรับ – รายจ่าย

กิจกรรมหลัก : เรียนรู้การลดการใช้สารเคมีในครัวเรือน (3ครั้ง)i

13,000.00 50 ผลผลิต

1.เรียนรุ้วิธีการลดสารเคมี 2.มีการนำสมุนไพรมาใช้ในวิถีชีวิต 3.มีแนวทางการลดต้นทุนและรายจ่ายครัวเรือน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

การเปลี่ยนแปลงในคน : ปรับแนวคิดในการดำรงชีวิต และการลดสารเคมี การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม : มีการนำสมุนไพรและภูมิปัญญามาลดการใช้สารเคมี การเปลี่ยนแปลงกลไก : ใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 3 ครั้ง

กลุ่มเป้าหมาย 50 คน

4,000.00 4,000.00 50 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ชุมชนเรียนรู้การลดใช้สารเคมี 2.ชุมชนได้เรียนรู้การทำน้ำยาล้างจาน น้ำยาสระผม
3.ลดรายจ่ายและลดต้นทุนในการซื้อของใช้ในครัวเรือน 4.ส่งเสริมการพึ่งตนเอง
5.ชาวบ้านมีจิตสำนึกในการลดสารเคมีโดยทำน้ำยาล้างจานใช้เองมากขึ้น 6.เป็นการเพิ่มความตระหนักและคุณค่าทำให้รู้ถึงการลดต้นทุนในครัวเรือน

คณะทำงาน  ผู้นำชุมชน  ตัวแทนแต่ละครัวเรือน  ผู้เข้าร่วมโครงการ

5,000.00 5,000.00 50 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ พบปะพูดคุยกัน 2.มีการยอมรับกันมากขึ้น 3.ในครัวเรือนสามารถลดการใช้สารปรุงรส 4.ได้มีการแบ่งหน้าที่แต่ละคนในการสำรวจการใช้ผงชูรส ภายยในบ้าน

แกนนำชุมชน แกนนำครัวเรือน เยาวชน และทีมงาน

4,000.00 4,000.00 50 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีการยอมรับมากขึ้นระหว่างบุคคล 2.มีการพูดคุยแลกเปลี่ยนกันระหว่างทำกิจกรรม 3.ได้มีตัวอย่างการลดใช้ผงชูรสและเป็นแบบอย่างให้คนอื่น 4.มีนำยาเอนกประสงค์ไว้ใช้

กิจกรรมหลัก : เรียนรู้การทำปุ๋ยหมัก (3 ครั้ง)i

15,000.00 50 ผลผลิต

1.มีการผลิตปุ๋ยชีวภาพ 2.มีการทำงานเป็นทีม3.มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปุ๋ยชีวภาพ 4.มีสูตรในการทำปุ๋ยชีวภาพ


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

การเปลี่ยนแปลงในคน 1.มีการยอมรับกันระหว่างบุคคลมากขึ้น2.มีการสอนงานระหว่างกัน 3.มีการคิดค้นสูตรปุ๋ยชีวภาพ การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม1.มีการจัดทำแหล่งเรียนรู้และใช้บ้านของสมาชิกกลุ่ม2.มีการช่วยเหลือกันในการทำงาน3.มีการจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในชุมชน การเปลี่ยนแปลงกลไก1.มีการมอบหมายหน้าที่ทำงาน2.มีแหล่งเรียนรู้ในชุมชน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 3 ครั้ง

แกนนำชุมชน  เยาวชน แกนนำครัวเรือน และทีมงาน

4,000.00 4,000.00 50 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

๑.เกิดกระบวนการทำงานเป็นทีมมากขึ้น
๒มีการช่วยเหลือและแบ่งหน้าที่การทำปุ๋ยกันทุกคน
๓.มีการพูดกันตลอดเวลา ก่อนทำปุ๋ยหมัก ระหว่างทำปุ๋ยหมัก เพื่อให้ได้ความรู้ในการทำปุ๋ยหมัก
๔.เกิดการยอมรับระหว่างบุคคลมากขึ้น
๕.ได้พูดคุยสอบถามความคืบหน้าจากการทำปุ๋ยเมื่อครั้งก่อน 5.ได้มีปุ๋ยไว้ใช้เอง ลดต้นทุนในการผลิต


แกนนำชุมชน ตัวแทนครัวเรือน  เยาวชน และทีมงาน

4,000.00 4,000.00 50 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีการพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันขณะทำกิจกรรม เพื่อให้ได้ความรู้ 2.ได้มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ ปัญหา ในการทำปุ๋ยหมัก 3.มีกระบวนการทำงานเป็นทีมเป็นขั้นตอน 4.มีการยอมรับกันระหว่างบุคคลกันมากขึ้น 5.มีสูตรในการทำปุ๋ยหมักที่หลากหลาย

แกนนำชุมชน  เยาวชน แกนนำครัวเรือน และทีมงาน

7,000.00 7,000.00 50 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีการพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันขณะทำกิจกรรม เพื่อให้ได้ความรู้ 2.ได้มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ ปัญหา ในการทำปุ๋ยหมัก 3.มีกระบวนการทำงานเป็นทีมเป็นขั้นตอน 4.มีการยอมรับกันระหว่างบุคคลกันมากขึ้น 5.มีสูตรในการทำปุ๋ยหมักที่สามารถใช้ได้ผลดีจาการทดลองใช้จากสมาชิก

กิจกรรมหลัก : เรียนรู้การทำน้ำหมักจากขยะครัวเรือน (3 ครั้ง)i

15,000.00 50 ผลผลิต

1.มีการผลิตน้ำหมักชีวภาพ 2.ขยะครัวเรือนลดลง 3.มีการทำงานเป็นทีม4.มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การน้ำหมักชีวภาพ 5.มีสูตรในการทน้ำหมักชีวภาพ


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

การเปลี่ยนแปลงในคน 1.มีการยอมรับกันระหว่างบุคคลมากขึ้น2.มีการสอนงานระหว่างกัน 3.มีการคิดค้นสูตรน้ำหมักชีวภาพ การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม1.มีการจัดทำแหล่งเรียนรู้และใช้บ้านของสมาชิกกลุ่ม2.มีการช่วยเหลือกันในการทำงาน3.มีการจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในชุมชน การเปลี่ยนแปลงกลไก1.มีการมอบหมายหน้าที่ทำงาน2.มีแหล่งเรียนรู้ในชุมชน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 3 ครั้ง

เป้าหมาย 50 คน 

4,000.00 4,000.00 50 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีการพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันตลอด ก่อนที่จะทำ ระหว่างทำ  และหลังทำเสร็จ  เพื่อให้ได้ความรู้แลกเปลี่ยนกัน 2.มีการมอบหมายให้นำวัสดุอุปกรณ์ เพื่อใช้ในการทำนำหมัก 3.มีกระบวนการทำงานเป็นทีมเป็นขั้นตอน 4.มีการยอมรับกันระหว่างบุคคลกันมากขึ้น 5.คนในครัวเรือนรู้จักการทำน้ำหมัก  มีน้ำหมักไว้ใช้เอง 6.คนในชุมชนได้รวมกลุ่มกัน ทำให้มีความสามัคคี

แกนนำชุมชน  เยาวชน แกนนำครัวเรือน และทีมงาน

4,000.00 4,000.00 50 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีการพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันขณะทำจนเสร็จ  เพื่อให้ได้ความรู้แลกเปลี่ยนกัน 2.ได้มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ ปัญหา ในการทำปุ๋ยหมัก 3.มีกระบวนการทำงานเป็นทีมเป็นขั้นตอน 4.มีการยอมรับกันระหว่างบุคคลกันมากขึ้น

แกนนำชุมชน  เยาวชน แกนนำครัวเรือน และทีมงาน

7,000.00 7,000.00 50 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีการพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน 2.ได้มีการแลกเปลี่ยนสูตร วิธีการในการทำปุ๋ยหมัก 3.มีกระบวนการทำงานเป็นทีมเป็นขั้นตอน 4.มีการยอมรับกันระหว่างบุคคลกันมากขึ้น 5.เกิดความความสามัคคีกันในหมู่คณะ  เข้าใจกันมากขึ้น

กิจกรรมหลัก : เรียนรู้เกษตรอินทรีย์ (4 ครั้ง)i

21,270.00 50 ผลผลิต

1.เรียนรุุ้การทำเกษตรอินทรีย์แบบผสมผสาน 2.ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษ 3.ลดต้นทุนครัวเรือน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

การเปลี่ยนแปลงในคน : ปรับแนวคิดในการทำเกษตรผสมผสาน การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม : ใช้สมุนไพรและวิถีชุมชน มาใช้ในการดำรงชีวิต การเปลี่ยนแปลงกลไก : กระบวนการเรียนรุ้ด้านภูมิปัญญา มาเป็นกลไกขับเคลื่อนกิจกรรม

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 4 ครั้ง

กลุ่มเป้าหมาย 50 คน 

9,270.00 9,270.00 50 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. เรียนรู้การทำเกษตรอินทรีย์
  2. เป็นการส่งเสริมให้ชุมชนปลูกผักปลอดสารพิษไว้กินเอง
  3. ส่งเสริมการใช้ผักและสมุนไพรเป็นยา
  4. คนในชุมชนมีความสามัคคี เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ซึ่งกันและกัน
  5. ส่งเสริมให้คนในชุมชนมีสุขภาพที่ดีขึ้นและมีรายได้เพิ่มขึ้น

แกนนำชุมชน ตัวแทนครัวเรือน เยาวชน และทีมงาน

4,000.00 4,000.00 50 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีการพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันขณะทำกิจกรรม  เพื่อให้ได้ความรู้แลกเปลี่ยนกัน 2.มีกระบวนการทำงานเป็นทีมเป็นขั้นตอน 3.มีการยอมรับกันระหว่างบุคคลกันมากขึ้น

แกนนำชุมชน  แกนนำครัวเรือน  เยาวชน และทีมงาน

4,000.00 4,000.00 50 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีการพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันขณะทำกิจกรรม เพื่อให้ได้ความรู้ 2.ได้มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ ปัญหา ในการปลูกผัก 3.มีการยอมรับกันระหว่างบุคคลกันมากขึ้น 4.สมาชิกได้เมล็ดผักเพื่อนำไปปลูกที่บ้าน

แกนนำชุมชน  ตัวแทนครัวเรือน เยาวชน และทีมงาน

4,000.00 4,000.00 50 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีการพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันขณะทำกิจกรรม ลงเยี่ยนบ้านและได้พูดคุยแลกเปลี่ยนความรู้กับชาวบ้าน เพื่อให้ได้ความรู้ 2.มีกระบวนการทำงานเป็นทีมเป็นขั้นตอน 3.มีการยอมรับกันระหว่างบุคคลกันและชาวบ้านมากขึ้น

กิจกรรมหลัก : เรียนรู้การทำข้าวกล้องและจมูกข้าวกล้อง (5 ครั้ง)i

20,000.00 50 ผลผลิต

1.มีการผลิตข้าวกล้อง2.ข้าวกล้องปลอดสารเคมี3.ได้ออกกำลังกายจากการผลิตข้าวกล้อง


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

การเปลี่ยนแปลงในคน 1.มีการยอมรับกันระหว่างบุคคลมากขึ้น2.มีการสอนงานระหว่างกัน
การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม1.มีการจัดทำแหล่งเรียนรู้และใช้บ้านของสมาชิกกลุ่มข้าวกล้อง2.มีการช่วยเหลือกันในการทำงาน
การเปลี่ยนแปลงกลไก1.มีการมอบหมายหน้าที่ทำงาน2.มีแหล่งเรียนรู้ในชุมชน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 5 ครั้ง

เป้าหมาย 50 คน

4,000.00 4,000.00 50 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีการพูดคุยกันระหว่างการทำกิจกรรม 2.เกิดการยอมรับระหว่างบุคคลมากขึ้น
3.มีครกสีข้าวของชุมชน 4ได้รู้ถึงประโยชน์ของข้าวกล้อง

แกนนำชุมชน  เยาวชน แกนนำครัวเรือน และทีมงาน

4,000.00 4,000.00 50 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.เรียนรู้ประโยชน์ของข้าวกล้อง 2.ทราบถึงประโยชน์ และข้อแตกต่าง ระหว่างการกินข้างกล้องกับข้าวขาว 3.สมาชิกได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้  และพูดคุยกันระหว่างทำกิจกรรม 4.เกิดการยอมรับกันมากขึ้น

แกนนำชุมชน  เยาวชน แกนนำครัวเรือน และทีมงาน

4,000.00 4,000.00 50 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีการพูดคุยแลกเปลี่ยนกัน ระหว่างการทำกิจกรรม 2.เกิดการยอมรับกันมากขึ้น 3.มีข้างกล้องไว้กินเอง 4.ได้ออกกำลังกายแถมยังได้ประหยัดค่าใช้จ่ายอีกด้วย

แกนนำชุมชน  เยาวชน แกนนำครัวเรือน และทีมงาน

4,000.00 4,000.00 50 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.เกิดความสามัคคี เพราะได้ช่วยกันสีข้าวกัน 2.มีการยอมรับกันมากขึ้นเพราะได้ช่วยเหลือกัน 3.มีข้าวกล้องไว้กินเอง จากการช่วยกันสีข้าว 4.มีการพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันระหว่างการการทำกิจกรรม

แกนนำชุมชน ตัวแทนครัวเรือน เยาวชน และทีมงาน

4,000.00 4,000.00 50 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีการพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันขณะทำกิจกรรม
2.ได้มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ ในการทำข้าวกล้อง กินข้าวกล้อง 3.มีกระบวนการทำงานเป็นทีมเป็นขั้นตอน 4.มีการยอมรับกันระหว่างบุคคลกันมากขึ้น

กิจกรรมหลัก : มหกรรมปรับวิถีชีวิตเรียนรู้ อยู่อย่างสุขi

19,000.00 212 ผลผลิต

1.มีการแสดงนิทรรศการผลการดำเนินงาน 2.เห็นภาพกระบวนการพัฒนาของโครงการ 3.มีภาคีสุขภาพร่วมทำงาน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

1.เกิดความสามัคคีในกลุ่มและทำงานร่วมกัน
2.ชุมชนมีความเข้มแข็ง 3.แสดงให้เห็นศักยภาพของชุมชน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

คณะทำงาน แกนนำชุมชนและกลุ่มเป้าหมาย

19,000.00 19,000.00 200 200 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีการจัดนิทรรศการร่วมกันทั้งตำบล และเผยแพร่นิทรรศการบ้านอุ่แก้วให้ประชาชนได้รับทราบ 2.ได้สร้างภาคีเครือข่ายเพิ่ม และมีภาคีมาร่วมทำงานเพิ่ม 3.ได้เรียนรู้กระบวนการพัฒนา ในหมู่บ้านใกล้เคียง 4.ได้ปรับกระบวนทัศน์ในการพัฒนาหมู่บ้าน 5.เป็นการสร้างความสามัคคีให้เกิดขึ้นภายในหมู่บ้าน และภายในตำบล 6.ประชาชนและผู้นำระดับตำบล หน่วยงานราชการในพื้นที่ ให้ความสำคัญและเห็นคุณค่าในการพัฒนา 7.เป็นหมู่บ้านต้นแบบของตำบลในการพัฒนาด้าน การลดสารเคมี 8.เกิดการทำงานร่วมกันเป็นทีม

กิจกรรมหลัก : เรียนรู้การทำดอกไม้จันทน์และดอกไม้ (4 ครั้ง)i

16,000.00 0 ผลผลิต

1.มีกลุ่มทำดอกไม้จันทน์ 2.เป็นการส่งเสริมอาชีพในชุมชน 3.นำวัสดุเหลือใช้มาให้เกิดประโยชน์ 4.มีภาคีภายนอกมาร่วมทำกิจกรรม


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

การเปลี่ยนแปลงในคน : กลุ่มเป้าหมายได้เรียนรู้การทำอาชีพเสริม แนวคิดการลดรายจ่าย การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม : มีการนำวัสดุเหลือใช้มาทำเป็นดอกไม้ การเปลี่ยนแปลงกลไก : ใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของคนสามวัย

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 4 ครั้ง

กลุ่มเป้าหมาย 50 คน 

4,000.00 4,000.00 50 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ชุมชนได้เรียนรู้การทำดอกไม้สดและดอกไม้จันทน์ 2.สร้างคุณค่าให้เกิดสมาชิกกลุ่มในชุมชน 3.เป็นแนวทางการในการสร้างอาชีพเสริมให้คนในชุมชนและจะเป็นการลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ให้กับครอบครัว 4.เป็นการนำวัสดุเหลือใช้ในชุมชนมาแปรรูปให้เกิดประโยชน์ 5.ส่งเสริมให้เกิดความรัก ความสามัคคี รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์

กลุ่มเป้าหมาย 50 คน 

4,000.00 4,000.00 50 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. มีภาคีภายนอกมาเป็นพี่เลี้ยงในการจัดกิจกรรม
  2. เรียนรู้การทำอาชีพเสริม
  3. พัฒนาความรุ้ ความสามารถของคนในชุมชน
  4. ชาวบ้านรวมกลุ่มกันร่วมทำงาน สิ่งที่เกิดขึ้นเกินความคาดหมาย มีชาวบ้านสามารถตั้งกลุ่มร่วมกันทำดอกไม้สด สิ่งที่ยังเป็นปัญหา ยังไม่ค่อยมีงานเข้าในกลุ่มมากเท่าที่ควรเพราะกลุ่มเพิ่งเปิด สิ่งที่ได้เรียนรู้คือ ชาวบ้านได้รู้จักวิธีการทำดอกไม้ การเลือกประเภท โทนสีของดอกไม้ให้เหมาะกับงานนั้นๆ

แกนนำชุมชน ตัวแทนครัวเรือน เยาวชน และทีมงาน

4,000.00 4,000.00 50 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีการยอมรับกันมากขึ้น 2.สมาชิกได้ฝึกและสามารถทำดอกไม้จันทน์ได้ 3.ได้พูดคุย แลกเลี่ยนประสบการณ์กันระหว่างการทำกิจกรรม

แกนนำชุมชน ตัวแทนครัวเรือน เยาวชน และทีมงาน

4,000.00 4,000.00 50 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.เกิดการยอมรับกันมากขึ้น 2.มีการพูดคุย แลกเปลี่ยนความคิดขณะทำกิจกรรม

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
ดอกไม้จันทน์

1.กลุ่มผู้สูงอายุ มีการรวมกลุ่มทำดอกไม้จันทน์ โดยใช้วัสดุที่เหลือใช้ในชุมชนมาให้เกิดประโยชน์ 2.มีการรวมกลุ่มที่บ้านนางฟื้น มากทอง 3.ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์

1.เป็นการส่งเสริมการทำอาชีพ 2.ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยขน์ 3.ลดความเหงาในกลุ่มผู้สูงอายุ 4.ส่งเสริมให้เกิดคุณค่าในกลุ่มสูงอายุ

น้ำยาเอนกประสงค์สมุนไพร

1.นำสมุนไพรที่มีอยู่ในชุมชนมาใช้ทำน้ำยาเอนกประสงค์ โดยใช้มะกรูด  เพื่อใช้เป็นน้ำยาเอนกประสงค์

1.ลดการใช้สารเคมี 2.ลดต้นทุนของครัวเรือน 3.สร้างคุณค่าของสมุนไพร

2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
ข้อมูลชุมขน

1.ทีมงานร่วมกับชุมชน คิดแบบสอบถาม เพื่อสำรวจข้อมูลชุมชน 2.การสำรวจข้อมุลชุมชน ใช้หลักการมีส่วนร่วมของเยาวชนและวัยทำงาน

1.ได้รับรู้ปัญหาของชุมชน 2.มีแนวทางการพัฒนาชุมชน ตามสภาพปัญหาและความต้องการของชุมชน 3.มีการสอนงานระหว่างวัยทำงานและนักเรียน

ปุ๋ยชีวภาพ

1.เป็นการนำเอา วัสดุที่มีอยู่ในชุมชนมาใช้ในการทำปุ๋ยหมัก โดยทั้ง 4 จุด แต่ละจุดไม่เหมือนกัน จุดที่ 1 เป็นการนำเอาขยะจากครัวเรือน มาทำปุ๋ยชีวภาพจุดที่ 2 เป็นการนำเอาผักที่ได้จากการการทำเกษตรจุดที่ 3 เป็นการนำเอาเศษวัชพืชมาทำเป็นปุ๋ยชีวภาพจุดที่ 4 เป็นการนำเอาฟางข้าว ขี้วัว ขี้ไก่ แกลบ มาใช้ในการทำปุ๋ยชีวภาพ

1.ทำให้ได้เรียนรู้ว่าแต่ละวิธี มีระยะเวลาในการหมักแตกต่างกัน
2.ปุ๋ยแต่ละชนิด พื้ชมีการเจริญแตกต่างต่างกัน พบว่่าปุ๋ยจากฟางข้าวและแกลบหมักไ้ด้เร็วกว่าและกลายเป็นปุ๋ยได้เร็วกว่า

2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
นางกัณหา จงไกรจักร 152 หมู่ที่ 7 ตำบลเขาพระบาท อำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช

1.เป็นผู้นำชุมชน ที่มีแนวคิดในการพัฒนา 2.มีความเสียสละ 3.เปิดโอกาสให้ทุกคนมีส่วนร่วม โดยเข้าร่วมกิจกรรมตามความสามารถของตนเอง 4.ทุ่มเททั้งแรงกาย และเวลา

นางฟื้น มากทอง 1 หมู่ที่ 7 ตำบลเขาพระบาท อำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช

1.เป็นแกนนำของผู้สูงอายุ 2.มีความรักที่จะพัฒนาชุมชน 3.มีความสามารถในการรวมกลุ่มผุู้สุงอายุ

นางอารีย์ กรรมแต่ง 24 หมู่ที่ 7 ตำบลเขาพระบาท อำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช

1.เป็นแกนนำที่มีความเสียสละ และเป็นผู้ที่ทำหน้าที่ติดตามสมาชิกกลุ่ม ให้ทำกิจกรรมต่อเนื่อง

2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

บ้านนางฟื้น มากทอง

1.เป็นสถานที่รวมกลุ่มของผุ้สูงอายุ มีการทำกิจกรรม โดยทำดอกไม้จันทน์ทุกวัน 2.มีการจัดกลุ่ม ทำความสะอาดสถานที่

บ้านนางกัณหา จงไกรจักร

จัดทำเป็นสถานที่สำหรับทำปุ๋ยหมัก นำ้หมักชีวภาพในชุมชน เพื่อให้สมาชิกได้มาเรียนรู้

บ้านนางอารีย์ กรรมแต่ง

จัดทำเป็นสถานที่สำหรับทำปุ๋ยหมัก นำ้หมักชีวภาพในชุมชน เพื่อให้สมาชิกได้มาเรียนรู้

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

มีระบบการทำงานที่ชัดเจน ตรวจสอบได้ ทุกคนให้ความร่วมมือ

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

ทุกคนตั้งใจทำงาน และมีการทำงานเป็นทีม

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

ผลลัพธ์การทำงาน เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

มีระบบการบริหารจัดการที่ดี มอบหมายหน้าที่การทำงาน

2.2 การใช้จ่ายเงิน

การใช้จ่ายเงินเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้

2.3 หลักฐานการเงิน

หลักฐานการเงินตรวจสอบได้

ผลรวม 0 0 0 0
ผลรวมทั้งหมด 0 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

1.การดำเนินงานตามกิจกรรม เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ 2.การบริหารการเงินโปร่งใส เป็นไปตามกิจกรรมที่กำหนดและตรวจสอบได้ 3.สามารถปิดเอกสารตามโครงการได้ตามเวลาที่กำหนด

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

บทเรียนที่ได้จากการทำงาน 1.การทำงานให้ประสบความสำเร็จต้องมีผู้นำ และผู้นำต้องมีความเสียสละ คิดบวก 2.การทำงานต้องมีกระบวนการทำงานที่ชัดเจน มีการมอบหมายงาน 3.การนำภูมิปัญญาและทุนที่มีอยู่ในชุมชน มาร่วมพัฒนาทำให้เกิดการยอมรับ 4ผู้สูงอายุ และปราชญ์ในชุมชน เป็นกลุ่มที่มีอยู่ทุกชุมชน และการเชิญกลุ่มเหล่านี้มาร่วมพัฒนา ทำให้เกิดการยอมรับสูงขึ้น

สร้างรายงานโดย Nongluk_R