แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 3

รหัสโครงการ 57-01501
สัญญาเลขที่ 57-00-0941

ชื่อโครงการ บ้านยางฆ้อร่วมใจพัฒนาคุณค่าประชาชน
รหัสโครงการ 57-01501 สัญญาเลขที่ 57-00-0941
ระยะเวลาตามสัญญา 1 มิถุนายน 2014 - 30 มิถุนายน 2015

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นางสมใจด้วงพิบูลย์
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2 -
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 24 เมษายน 2015
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 5 กรกฎาคม 2015
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นางมะลิวรรณ แสงจันทร์ 35/1 หมู่ที่ 7 ตรอก/ซอย ถนน ตำบล/แขวง ท่าแซะ อำเภอ/เขต จังหวัด ชุมพร 077-599538, 09369421482
2 นาย สถาพร เรืองกำเนิด 47หมู่ที่ 7 ตรอก/ซอย ถนน ตำบล/แขวง ท่าแซะ อำเภอ/เขต จังหวัด ชุมพร
3 น.ส. วรานุช จันทราภักดิ์ 2หมู่ที่ 7 ตรอก/ซอย ถนน ตำบล/แขวง ท่าแซะ อำเภอ/เขต จังหวัด ชุมพร 08486859064
4 นาย สุปัญ ปัญชะนา 68หมู่ที่ 7 ตรอก/ซอย ถนน ตำบล/แขวง ท่าแซะ อำเภอ/เขต จังหวัด ชุมพร
5 นางละเอียด โปร่งจิตร 17 หมู่ที่ 7 ตรอก/ซอย ถนน ตำบล/แขวง ท่าแซะ อำเภอ/เขต จังหวัด ชุมพร

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนในการส่งเสริมอาชีพแบบพอเพียง เพิ่มรายได้และลดภาระหนี้สิน แก่ครัวเรือนของผู้สูงอายุและประชาชนที่ว่างงาน

1.1 ประชาชนมีอาชีพเสริม ลดความฟุ่มเฟือย มีการออมเพิ่มขึ้นและภาวะหนี้สินลดลง 1.2 จำนวนครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้เพิ่มขึ้น ร้อยละ90

2.

เพื่อสร้างกลไกชุมชนในการบริหารจัดการการตลาดอย่างยั่งยืน

2.1 เกิดกองทุนอาชีพบ้านยางฆ้อ 2.2 มีรายได้สบทบเข้ากลุ่มการตลาดจากรายได้ของสมาชิกไม่น้อยกว่า 20%

3.

เพื่อการบริหารและจัดการโครงการ

จำนวนครั้งในการเข้าร่วมกิจกรรมโครงการสสส.และสจรส.

2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมหลัก : ปฐมนิเทศโครงการและร่วมกิจกรรมกับสสส.และสจรส.i

10,000.00 2 ผลผลิต

มีการนำรายงานและหลักฐานทางการเงินให้พี่เลี้ยงตรวจสอบ พบว่าหลักฐานไม่ครบถ้วนต้อง บางกิจกรรมไม่มีภาพถ่าย


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ผู้รับผิดชอบโครงการมีความเข้าใจในการจัดทำรายงานและจัดเก็บเอกสารได้ถูกต้องมากขึ้น เตรียมสำหรับการตรวจสอบต่อไป

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 3 ครั้ง

ผู้รับผิดชอบโครงการ

10,000.00 4,080.00 2 1 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการมีความรู้และเข้าใจในการจัดกิจกรรมโครงการและการรายงาน

ผู้รับผิดชอบโครงการและทีมงาน

10,000.00 500.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

รายงานมีความถูกต้อง และสามารถส่งรายงานทั้งหมดของงวดที่หนึ่งได้

ผู้รับผิดชอบโครงการและเหรัญญิก

0.00 200.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้นำรายงานการจัดทำกิจกรรมและหลักฐานทางการเงินให้พี่เลี้ยงตรวจสอบ พบว่าต้องมีการแก้ไขในเรื่องหลักฐานที่ไม่ครบถ้วนต้องนำมาเพิ่มเติม และเรียบเรียงใหม่ลงในรายงานที่ส่งทางอิเตอร์เน็ต ไม่มีรูปถ่ายในกิจกรรมหลายกิจกรรมเนื่องจากลืมถ่าย 

กิจกรรมหลัก : จัดทำรายงานปิดโครงการและรูปถ่ายและป้ายปลอดบุหรี่i

3,000.00 2 ผลผลิต

คณะกรรมการเข้าใจในการจัดทำรายงานและรายงานการเงินมากขึ้น และเตรียมพร้อมในการจัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

รูปแบบการจัดทำรายงานถูกต้องและพร้อมที่จะส่งให้กับสจรส.มอ.

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 2 ครั้ง

ผู้รับผิดชอบโครงการ นำเอกสารทางการเงิน และเอกสารการทำกิจกรรมมาให้พี่เลี้ยงจังหวัดร่วมตรวจสอบ

0.00 0.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

พี่เลี้ยงตรวจสอบเอกสาร พบความผิดพลาดเพียงเล็กน้อย คือ บัตรประชาชนของผู้รับเหมาทำอาหาร หมดอายุ และป้ายงดบุหรี่ ผิด spec ที่ทาง สสส. กำหนดเอาไว้ และทางโครงการลงรายการค่าใช้จ่ายผิดหมวด
ทางพี่เลี้ยงจึงให้กลับไปแก้ไข เอกสารให้ถูกต้องภายในสิ้นเดือน ส่วนรายละเอียดค่าใช้จ่าย พี่เลี้ยงได้แก้ไขให้ถูกต้องแล้วในวันนี้

ผู้รับผิดชอบโครงการและทีมงาน

3,000.00 3,200.00 15 15 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะกรรมการเข้าใจในการจัดทำรายงานและรายงานการเงิน มอบหมายให้สมาชิกผู้รับผิดชอบงานด้านเอกสารประสานงานการจัดเตรียมพร้อมทั้งการจัดหาภาพถ่ายให้สอดคล้องกับกิจกรรม 

กิจกรรมหลัก : ประชุมทบทวนผลการดำเนินการของแต่ละกลุ่ม 10 ครั้งi

12,000.00 15 ผลผลิต

-จากการทบทวนผลการดำเนินการ พบชุมชนได้ออกระเบียบกลุ่มว่า สมาชิกมีสิทธิในการได้รับเมล็ดพันธ์พืช การใช้ปุ๋ยส่วนกลางที่ทำขึ้นมา การนำผักของตนเองที่ปลูกด้วยกระบวนการปลอดสารพิษเข้ากลุ่มเพื่อขาย ต้องหักค่าใช้จ่ายให้กลุ่มเป็นค่าบริหารจัดการ ร้อยละ ๒๐โดยมีนางมะลิวรรณแสงจันทร์ เป็นประธานกลุ่มนายสถาพรเรืองกำเนิดเป็นผู้บริหารโครงการและติดตามประเมินผลและ น.ส.วรานุชจันทราภักดิ์เป็นเลขานุการ และร่วมกับสมาชิกกลุ่มคนอื่น ๆ รวมทั้งหมด๑๕ คน มีการบริหารจัดการประกอบด้วย ๑) จำหน่ายขายส่งผักปลอดสารพิษที่ปลูกให้กับพ่อค้าและแม่ค้าในตลาดสดในเขตเทศบาลท่าแซะ (ดำเนินการทุกวัน) และตลาดนัดท่าแซะ (ดำเนินการ 4 วัน/สัปดาห์) ๒) จำหน่ายเครื่องจักสาน และดอกไม้จากใบยางพาราที่ศูนย์ชุมชน ๓) จัดหาแหล่งวัตถุดิบในการจักสานโดยการประสานกับวิทยากรและเครือข่ายเพื่อขอซื้อวัตถุดิบในราคาต้นทุน แล้วแจกจ่ายให้กับสมาชิกกลุ่มเพื่อจัดทำเป็นอาชีพเสริมต่อไป
- มีครัวเรือนเข้าร่วมโครงการ30ครัวเรือน สมาชิกมีความเข้าใจในเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงทุกครัวเรือนทำให้มีการเข้าร่วมกิจกรรมอย่างสมำ่เสมอ สรุปค่าใช้จ่ายครัวเรือนทำให้ทราบว่าตนเองมีรายได้เพิ่มขึ้นเล็กน้อยแต่มีการประหยัดมากขึ้นด้วยการลดของฟุ่มเฟือย ลด-ละ-เลิกอบายมุขโดนเฉพาะหวยได้ มีการออมกับกองทุนหมู่บ้านมากขึ้น และมีความรับผิดชอบที่จะนำเงินจากการขายผลผลิตมอบให้กับกองกลางตามที่ตกลงไว้ จนปัจจุบันมีเงินกองกลางอยู่ 8,000 บาท ประชาชนไม่มีหนี้สินเพิ่มขึ้น


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

คณะกรรมการโครงการมีความรู้และความเข้าใจในการรวบรวมรายงานเพื่อให้ได้คุณค่าของการดำเนินงานที่ผ่านมาสามารถตอบคำถามประชาชนได้ ประมวลผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการทำกิจกรรมได้ว่าทำแล้วตนได้รายได้เพิ่ม ลดรายจ่ายครัวเรือน รับประทานพืชผักที่ปลอดสารพิษที่ปลูกเอง สุขภาพดีขึ้นพร้อมทั้งนำปัญหาและผลที่ได้จากการทำโครงการเสนอในที่ประชุมเพื่อพัฒนาต่อยอดและขับเคลื่อนเป็นชุมชนต้นแบบที่จะของบประมาณสนับสนุนจากสสส.และผลักดันเข้าสู่นโยบายสาธารณะต่อไป

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 12 ครั้ง

คณะกรรมการหมู่บ้าน ผู้รับผิดชอบโครงการ คณะกรรมการชุมชนแและประชาชน

1,200.00 1,200.00 15 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ประชาชนได้รับความรู้เรื่องการลดรายจ่ายในครัวเรือนด้วยการใช้ผลิตภัณฑ์ชุมชนที่มีอยู่ การลดการใช้นำ้และไฟ การลดสิ่งของฟุ่มเฟือย และการนำสิ่งของที่มีอยู่มาใช้ประโยชน์ เพิ่มรายได้ด้วยการประกอบอาชีพเสริม การปรับแผนการใช้ชีวิตตนเองทั้งการออกกำลังกาย การใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ พร้อมทั้งสมัครเป็นสมาชิกกลุ่มเพื่อเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มต่อไป และเลือกตังผู้ติดตามโครงการ 3 คน และทุกคนที่เป็นสมาชิกกลุ่มต้องนำรายได้หักเข้ากลุ่มร้อยละ 20 และถ้าสมาชิกเข้าร่วมประชุมไม่ได้ต้องให้บุคคลในครอบครัวเข้าร่วมประชุมแทน พร้อมทั้งให้ทุกคนไปคิดหาแนวทางการตลาดของกลุ่มโดยผ่านประธานกลุ่มพิจารณาในเวทีประชุมประจำเดือนของคณะกรรมการต่อไป

ผู้ใหญ่บ้าน รองประธานสภาฯ แกนนำเยาวชน
ผู้ว่างงาน ผู้สูงอายุและคณะกรรมการโครงการ

1,200.00 1,200.00 15 15 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีการเลือกตั้งประธานกลุ่ม 4 กลุ่ม ประกอบด้วย กลุ่มปลูกผักมีนายบุญธรรม ยวงงามเป็นประธาน กลุ่มทำปุ๋ยมีนายชุชวาลย์  สินสมบุญ เป็นประธาน และกลุ่มจักสานมีนายชิน  สมเนียมเป็นประธาน กลุ่มดอกไม้ใบยางมีนางผ่องพรรณ  กาญจนปัทม์ เป็นประธาน และให้แต่ละกลุ่มไปกำหนดกติกากลุ่มแล้วนำมาปรับให้เหมาะสมในการประชุมครั้งต่อไป 

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงาน

1,200.00 1,760.00 15 22 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะกรรมการโครงการได้กำหนดกติกาโดยมีการกำหนดให้ทุกคนในชุมชนสามารถเข้าร่วมกิจกรรมได้ทุกคนแต่จะให้สิทธิในการรับผลประโยชน์เฉพาะผู้สมัครเข้าร่วมกลุ่มเท่านั้น ในการเป็นสมาชิก เข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มได้ทุกกลุ่ม ได้รับผลผลิตที่ตนเองทำไปเป็นตัวอย่างและจัดทำของตัวเองโดยสามารถซื้ออุปกรณ์ต่างๆได้ซึ่งกิจกรรมประกอบด้วยการปลูกพืชผักเพิ่มเติม สามารถรับเมล็ดพันธ์ุได้ที่ประธานกลุ่มและผู้ใหญ่บ้าน อยากให้ผู้ใหญ่ทำเป็นแบบอย่างให้เด็กๆ เห็น และทำเองที่บ้าน

แกนนำเยาวชน  ผู้ว่างงาน ผู้สูงอายุ  ประชาชนทั่วไปและผู้รับผิดชอบโครงการ

1,200.00 2,800.00 15 35 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ทีมงานและผู้รับผิดชอบโครงการได้ประชุมพูดคุยกันถึงเรื่องที่จะต้องย้ายแปลงเพาะพันธ์ุใหม่เนื่องจากพื้นที่เดิมนำ้ท่วมถึงทำให้ผลผลิตที่ได้ไม่คุ้มการลงทุน ต้องหาสถานที่ใหม่ โดยการใช้พื้นที่หน้าแปลงปลูกปาล์มของผู้ใหญ่บ้าน ให้เป็นพื้นที่แปลงผักสาธารณะ ให้ได้ผลผลิตตามที่วางไว้ ซึ่งมีผลผลิตที่เหลือจากนำ้ท่วมส่วนหนึ่งนำมาแจกจ่ายทีมงาน เพื่อใช้เป็นอาหารของสมาชิกกลุ่ม และใช้เป็นวัสดุในการทำอาหารเลี้ยงผู้เข้าร่วมประชุมต่อไป พร้อมทั้งนัดหมายที่จะประชุมครั้งต่อไป คือ วันที่5 มกราคม 2558 และนัดทำกิจกรรมการจักสานต่อไปเมื่อได้รับเงินโอนจากสสส.โดยมีสมาชิกสภาตำบลท่าแซะ ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน ขรก.บำนาญเข้าร่วมประชุมด้วย

แกนนำเยาวชน ผู้ว่างงาน ผู้สูงอายุ และผู้รับผิดชอบโครงการ (กลุ่มการออม 7 คน) จำนวน 15 คน

1,200.00 1,200.00 15 15 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จำหน่ายขายส่งผักปลอดสารพิษที่ปลูกให้กับพ่อค้า แม่ค้า ในตลาดสดเขตเทศบาลท่าแซะ (ดำเนินการทุกวัน) และตลาดนัดท่าแซะ (ดำเนินการ 4 วัน/สัปดาห์) จัดจำหน่ายเครื่องจักรสาน และดอกไม้จากใบยางพาราที่ศูนย์ชุมชน ประชาสัมพันธ์และรับงานการผูกผ้าตามงานพิธีต่าง ๆ  

แกนนำเยาวชน ผู้ว่างงาน ผู้สูงอายุและผู้รับผิดชอบโครงการ(กลุ่มการออม 7 คน) จำนวน 15 คน

1,200.00 1,200.00 15 15 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีการปลูกพืชผักที่มีฟักทอง ผักกาดขาว ถั่วฝักยาว ในพื้นทีสาธารณะในวัดส่วนหนึ่ง และพื้นที่มีไม่เพียงพอกับจำนวนสมาชิกจึงต้องใช้พื้นที่บ้านของสมาชิกเป็นแปลงพืชผักปลอดสารพิษ เพื่อขยายพื้นที่เพาะปลูกทำให้เกิดอาชีพ และรายได้เพิ่มขึ้น

แกนนำเยาวชน ผู้ว่างงาน ผู้สูงอายุและผู้รับผิดชอบโครงการ(กลุ่มการออม 7 คน) จำนวน 35 คน

1,200.00 2,800.00 15 35 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

นำปัญหาที่พบเจอจากการดำเนินการกิจกรรมที่ผ่านมาของแต่ละกลุ่มสมาชิก โดยกลุ่มผักมีการปรับพื้นที่ปลูกในบ้านของตนเองเพิ่มขึ้นทั้งพืชผักสวนครัวรั้วกินได้และพืชสมุนไพรท้องถิ่น เช่น ข่า ตะไคร้ ขมิ้น เป็นต้น และจัดเยาวชนช่วยพระดูแลแปลงผักกลางด้วยการกำหนดให้ค่าตอบแทนถ้ามีการขายผักได้ เป็นต้น เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาเหล่านั้นอีกมีผู้รับผิดชอบกลุ่มทุกกลุ่มที่เป็นตัวแทนเข้าร่วมประชุมและรายงานความก้าวหน้าของกิจกรรม เช่นการมีผู้รับผิดชอบแปลงผักร่วมกับพระภิกษุในวัดยางฆ้อ ที่ต้องมีการรดนำ้ ถอนหญ้า ใส่ปุ๋ย  และเก็บผักเพื่อนำไปขาย และติดต่อประสานงานภายนอกในการขายผลผลิดชุมชน มีประชุมร่วมกันทุกเดือน สรุปงาน แก้ไขปัญหา และบริหารจัดการกลุ่ม พร้อมทั้งจัดทำตะกร้าเพิ่มเติมเพื่อการขายตามใบสั่งซื้อ

คณะกรรมการหมู่บ้านและผู้รับผิดชอบโครงการ 11 คน สมาชิกกลุ่ม (เครือข่ายกลุ่มองค์กรในชุมชน เยาวชน ผู้ว่างงาน และผู้สูงอายุที่อยู่ในครัวเรือน)และแกนนำชุมชนประกอบด้วยประธานสภาฯ /สมาชิกอบต.

0.00 0.00 40 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ประชุมสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมาชุมชนได้มีการจัดทำกิจกรรมแล้วในเรื่องการผุกพืชผักปลอดสารพิษบนพื้นที่ส่วนรวมและพื้นที่ของบ้านสมาชิกกลุ่มที่มีการแลกเปลี่ยนกันใช้และขายได้ส่วนหนึ่ง การทำดอกไม้ การผูกผ้าซึ่งได้มีการจัดทำต่อเนื่องในกลุ่มมีการนำรายได้ที่เกิดจากการให้คนนอกชุมชนเช่าผ้าไปใช้ในงานบุญส่วนคนในชุมชนจะมีบริการผูกผ้าให้ฟรีแต่ต้องทำความสะอาดแล้วเก็บไว้ในกลุ่ม(ห้องเก็บของที่วัดยางฆ้อด้วยการอนุญาตให้ใช้สถานที่จากเจ้าอาวาส) ได้มีการจัดตั้งคณะกรรมการเพื่อเก็บรักษาเงินกองกลางของกลุ่ม และแจ้งวันที่จะทำกลุ่มจักสานต่อไปในวันที่ ๑๔-๑๕ ก.พ.๕๘ ซึ่งมีการนำตัวอย่างของการทำจักสานให้สมาชิกกลุ่มได้ดูเป็นตัวอย่าง

แกนนำเยาวชน ผู้ว่างงาน ผู้สูงอายุและผู้รับผิดชอบโครงการ (กลุ่มการออม 7 คน) จำนวน 20 คน

1,200.00 1,600.00 15 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้ระเบียบกลุ่มตั้งแต่การสมัครสมาชิก สิทธิในการได้รับเมล็ดพันธ์พืช การใช้ปุ๋ยส่วนกลางที่ทำขึ้นมา การนำผักของตนเองที่ปลูกด้วยกระบวนการปลอดสารพิษเข้ากลุ่มเพื่อขาย การหักค่าใช้จ่ายให้กลุ่มเป็นค่าบริหารจัดการ ร้อยละ 20 และการประสานหาสถานที่ขายผลผลิตชุมชนบ้านยางฆ้อต่อไป โดยมี นางมะลิวรรณ  แสงจันทร์ เป็นประธานกลุ่ม  นายสถาพร  เรืองกำเนิด  เป็นผู้บริหารโครงการและติดตามประเมินผล  และ น.ส.วรานุช  จันทราภักดิ์  เป็นเลขานุการ และร่วมกับสมาชิกกลุ่มคนอื่น ๆ รวมทั้งหมด  15 คน  นั้น ได้ผลสรุปว่า
มีการจัดหาตลาดการขาย ประกอบด้วย
-จำหน่ายขายส่งผักปลอดสารพิษที่ปลูกให้กับพ่อค้าและแม่ค้าในตลาดสดในเขตเทศบาลท่าแซะ (ดำเนินการทุกวัน) และตลาดนัดท่าแซะ (ดำเนินการ 4 วัน/สัปดาห์)
-จัดจำหน่ายเครื่องจักสาน และดอกไม้จากใบยางพาราที่ศูนย์ชุมชน  โดยรายได้ทั้งหมดจะแบ่งให้กับสมาชิกในกลุ่ม 80% และเข้าบัญชีกลุ่มออม 20% เพื่อไว้เป็นทุนหมุนเวียนต่อไป -จัดหาแหล่งวัตถุดิบในการจักสานโดยการประสานกับวิทยากรและเครือข่ายเพื่อขอซื้อวัตถุดิบในราคาต้นทุน แล้วแจกจ่ายให้กับสมาชิกกลุ่มเพื่อจัดทำเป็นอาชีพเสริมต่อไป สามารถเพิ่มรายได้จากผลิตภัณฑ์นั้น ๆ ู

กำนันตำบลท่าแซะ  ผู้ใหญ่บ้าน/ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน  ประธานสภาฯ  อบต.ประชาชน และเจ้าหน้าที่จากอบต.ท่าแซะ

0.00 0.00 15 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะกรรมการโครงการมีความรู้และความเข้าใจในการรวบรวมรายงานเพื่อให้ได้คุณค่าของการดำเนินงานที่ผ่านมา  สามารถตอบคำถามประชาชนได้ ประมวลผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการทำกิจกรรมได้ว่าทำแล้วตนได้รายได้เพิ่ม ลดรายจ่ายครัวเรือน รับประทานพืชผักที่ปลอดสารพิษที่ปลูกเอง สุขภาพดีขึ้น  พร้อมทั้งนำปัญหาและผลที่ได้จากการทำโครงการเสนอในที่ประชุมเพื่อพัฒนาต่อยอดและขับเคลื่อนเป็นชุมชนต้นแบบที่จะของบประมาณสนับสนุนจากสสส.และผลักดนเข้าสู่นโยบายสาธารณะต่อไป

คณะกรรมการกลุ่ม คณะกรรมการโครงการ ผู้รับผิดชอบโครงการ ประชาชนทั่วไป และหน่วยงานราชการ

1,200.00 4,000.00 15 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการ นำเสนอปัญหาการปลูกพืชในพื้นที่ดินเดิมที่เป็นที่สาธารณะ ต้องเพิ่มเติมพื้นที่เพื่อให้มีการปลูกผักให้พอจำหน่าย และจัดเตรียมหาแหล่งวัตถุดิบต่างๆ เพื่อหนุนเสริมชุมชน โดยมีการสนับสนุนจากกำนันตำบลท่าแซะ และเทศบาลตำบลท่าแซะ  ประชาชนช่วยการประเมินคุณค่าของโครงการเพื่อการต่อยอดในปีต่อไป

แกนนำเยาวชน ผู้ว่างงาน ผู้สูงอายุและผู้รับผิดชอบโครงการ 

1,200.00 1,200.00 15 15 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีการประชุมชี้แจงสำหรับกิจกรรมที่ผ่านมา โดยมี นางมะลิวรรณ  แสงจันทร์  เป็นประธาน  นายสถาพร  เรืองกำเนิด เป็นผู้บริหารโครงการและติดตามผล  น.ส.วรานุช  จันทราภักดิ์  เป็นเลขานุการ  และรวมด้วยสมาชิกกลุ่มคนอื่น ๆ รวมทั้งหมด 15 คน ร่วมมือกันแก้ไขปัญหา และบริหารจัดการกลุ่มอาชีพบ้านยางฆ้อ เพื่อให้เป็นไปตามแนวทางเดียวกัน และเพื่อการบริหารจัดการการตลาดอย่างยั่งยืน มีครัวเรือนเข้าร่วมโครงการ30ครัวเรือน สมาชิกมีความเข้าใจในเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงทุกครัวเรือนทำให้มีการเข้าร่วมกิจกรรมอย่างสมำ่เสมอ สรุปค่าใช้จ่ายครัวเรือนทำให้ทราบว่าตนเองมีรายได้เพิ่มขึ้นเล็กน้อยแต่มีการประหยัดมากขึ้นด้วยการลดของฟุ่มเฟือย ลด-ละ-เลิกอบายมุขโดนเฉพาะหวยได้ มีการอมกับกองทุนหมู่บ้านมากขึ้น และมีความรับผิดชอบที่จะนำเงินจากการขายผลผลิตมอบให้กับกองกลางตามที่ตกลงไว้ จนปัจจุบันมีเงินกองกลางอยู่ 8,000 บาท ประชาชนไม่มีหนี้สินเพิ่มขึ้น

กิจกรรมหลัก : ประชุมสรุปบทเรียน และผลการดำเนินงานโครงการให้ประชาชนทราบเพื่อเป็นแนวทางการดำเนินงานi

18,750.00 150 ผลผลิต

ผลการดำเนินงานที่ผ่านมาของชุมชนพบว่าสามารถดำเนินกิจกรรมครบทั้งหมดตั้งแต่ การประชุมชี้แจงและรับสมัครผู้เข้าร่วมกิจกรรม สำรวจข้อมูลหนี้สินร้อยละ60 ทั้งในและนอกระบบ เกิด๑)กลุ่มปลูกพืชผักปลอดสารพิษและทำปุ๋ยอินทรีย์ใช้ในแปลงผักส่วนรวมและนำไปทำใช้เองที่บ้าน ๒)กลุ่มผูกผ้าและทำดอกไม้จากใบยางพารามีการจัดทำเพื่อใช้ในชุมชนและบางคนนำความรู้ที่ได้รับไปจัดทำและขายเป็นรายได้ครัวเรือนและมีรายได้เข้ากลุ่มเป็นจำนวน ๓,๘๕๐บาท ๓)กลุ่มจักสานมีการจัดทำตะกร้าและกระเป๋าสวยงามเพื่อใช้ในครัวเรือนคณะกรรมการโครงการได้มีการประชุมและติดตามงานอย่างสมำ่เสมอโดยมีแกนนำชุมชนเข้าร่วมและนำผลจากดำเนินกิจกรรมโครงการนำเสนอในที่ประชุมคณะกรรมระดับหมู่บ้านและตำบลทำให้เกิดการนำผลการมีส่วนร่วมของชุมชนเข้าแผนพัฒนาชุมชนต่อไป


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ชุมชนได้รับความรู้เพิ่มขึ้น รายได้เพิ่มขึ้น มีการออม การลดรายจ่ายที่ฟุ่มเฟือย(สูบบุหรี่ เล่นหวย เล่นการพนัน) และ ทำให้ชุมชนเกิดความสามัคคีรวมทั้งเป็นแบบอย่างให้กับชุมชนใกล้เคียงได้ มีความสุข สุขภาพดีทั้งกายและใจและทุกคนสนับสนุนให้มีการทำโครงการต่อไป

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 2 ครั้ง

ประชาชนในชุมชนจำนวน 152 คนประกอบด้วย พี่เลี้ยง  ประธานโครงการฯ  และสมาชิกในชุมชน  หมู่ 7, หมู่ 4, หมู่ 8 ต.ท่าแซะ

18,750.00 18,750.00 150 152 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ประธานสรุปผลการดำเนินการที่ผ่านมาซึ่งประกอบด้วย 1.ผูกผ้า 2.ดอกไม้ใยบัว 3.ปลูกผัก 4.จักสาน 5.ทำปุ๋ย มีสมาชิกเข้าร่วมกิจกรรมอย่างสมำ่เสมอ และสามารถปรับกิจกรรมให้เหมาะสมกับการทำผลิตภัณฑ์ที่บ้านและนำมาขายให้กับกลุ่มโดยมีการหักเงินค่าขายเป็นค่าบริหารจัดการโครงการร้อยละ20 สิ่งที่ได้จากการทำโครงการฯ ในครั้งนี้ คือ 1.ได้ความสุข 2.ได้สุขภาพ 3.มีรายได้จากการขายผักปลอดสารพิษ จำนวน 5851.56 บาท 4.ได้รับความรู้เพิ่มขึ้น ทุกคนสนับสนุนให้มีการทำโครงการต่อไป ซึ่งการประชุมครั้งนี้ได้มีเพื่อนบ้านจากหมู่บ้านใกล้เคียง คือ หมู่ที่ 4  และ หมู่ที่ 8 ในเขตตำบลท่าแซะ ให้ความสนใจ และอยากจะทำโครงการแบบนี้ด้วย พี่เลี้ยงจึงแนะนำให้ดูตัวอย่างจากหมู่ 7 ก่อน ว่าจะต้องเริ่มต้นจากอะไรก่อน-หลัง ซึ่งประธานโครงการฯ คือ นางมะลิวรรณ  แสงจันทร์ ได้บอกกับสมาชิกทุก ๆ คน ว่า สำหรับโครงการในครั้งนี้ ที่สำเร็จได้  เกิดจากความร่วมมือ ของทุกคน หากใครมีอะไรให้ช่วยเหลือ หรือขอความร่วมมือ ทางประธานและสมาชิกทุก ๆ คน จะให้ความช่วยเหลือเต็มที่ และจะสนับสนุนทุกอย่างที่จะสามารถช่วยได้ ซึ่งจากการดำเนินการที่ผ่านมา ทำให้ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น และ ทำให้ชุมชนเกิดความสามัคคี  และเป็นแบบอย่างให้กับชุมชนใกล้เคียงได้

ประธานสภาฯ  ผู้ใหญ่บ้าน อสม. แกนนำเยาวชน ประชาชนในหมู่ที่7,4 และหมู่ที่8

0.00 0.00 40 152 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ประชาชนได้รับทราบผลการดำเนินงานที่ผ่านมาตั้งแต่ที่มาของโครงการ ผลการจัดกิจกรรมแต่ละครั้งตั้งแต่1) การประชุมชี้แจงโครงการทำให้สมาชิกมีความรู้ เข้าใจถึงกิจกรรมและเงินที่มาของโครงการทำให้ประชาชนเห็นความสำคัญและเข้าร่วมกิจกรรมอย่างสมำ่เสมอ 2) การสำรวจข้อมูลหนี้สินของชุมชนที่พบว่าร้อยละ60 ของประชาชนในชุมชนมีหนี้สินทั้งในและนอกระบบ จากการประกอบอาชีพทำสวน เลี้ยงสัตว์ การใช้จ่ายในครัวเรือนและการศึกษาบุตร  มีอบายมุขบ้างเล็กน้อย 3)การจัดตั้งกลุ่มปฏิบัติการ 3 กลุ่มเพื่อการหารายได้เสริมได้ซึ่งแต่ละกลุ่มมีการจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง ได้แก่(1)กลุ่มปลูกพืชผักปลอดสารพิษและทำปุ๋ย โดยมีวิทยากรจากเกษตรอำเภอท่าแซะสอนทำให้ประชาชนมีความรู้ในเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง มีการออม การลดรายจ่ายที่ฟุ่มเฟือย(สูบบุหรี่ เล่นหวย เล่นการพนัน) การปลูกพืชผักที่ถูกต้องและการทำปุ๋ยอินทรีย์ที่ใช้ในแปลงผักส่วนรวมและนำไปทำใช้เองที่บ้าน (2)กลุ่มผูกผ้าและทำดอกไม้จากใบยางพารามีการจัดทำเพื่อใช้ในชุมชนและบางคนนำความรู้ที่ได้รับไปจัดทำและขายเป็นรายได้ครัวเรือนและมีรายได้เข้ากลุ่มเป็นจำนวน 3,850บาท (3)กลุ่มจักสานมีการจัดทำตะกร้าและกระเป๋าสวยงามเพื่อใช้ในครัวเรือนและกำลังประสานกับหน่วยงานพัฒนาชุมชนเพื่อเข้ากลุ่มพัฒนาต่อยอดต่อไปโดยการสนับสนุนของอบต.ท่าแซะ นอกจากนี้คณะกรรมการโครงการได้มีการประชุมและติดตามงานอย่างสมำ่เสมอโดยมีแกนนำชุมชนเข้าร่วมและนำผลจากดำเนินกิจกรรมโครงการนำเสนอในที่ประชุมคณะกรรมระดับหมู่บ้านและตำบลทำให้เกิดการนำผลการมีส่วนร่วมของชุมชนเข้าแผนพัฒนาชุมชนต่อไป ก่อนหน้านี้18ปีแล้วที่ไม่มีการประชุมของหมู่บ้าน การประชุมที่ต่อเนื่องและประชาชนเข้าร่วมประชุมทุกครั้งเกิดจากมีโครงการชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่เข้าดำเนินการ

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
นางมะลิวรรณแสงจันทร์ 35/1 หมู่ที่ 7 ตรอก/ซอย ถนน ตำบล/แขวง ท่าแซะ อำเภอ/เขต จังหวัด ชุมพร

เป็นผู้ที่เข้มแข็ง เสียสละ อดทน กล้าได้กล้าเสีย ไม่เกรงกลัวกับอิทธิพลมืด มีความจริงจังกับงานในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ประชาชนส่วนใหญ่ให้การสนับสนุน(ยกเว้นฝ่ายตรงกันข้ามที่พลาดตำแหน่งผู้ใหญ่บ้าน:โครงการสสส.มีส่วนทำให้ได้เป็นผู้ใหญ่บ้านจากเวทีประชุมชาวบ้าน)

2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ชุมชนบ้านยางฆ้อ

มีการนำพื้นที่ว่างเปล่าที่เป็นที่สาธารณะในวัดทำเป็นแปลงสาธิตการปลูกพืชผักปลอดสารพิษ ชุมชนมีส่วนร่วมเป็นอย่างดี มีการแบ่งหน้าที่กันช่วยดูแลแปลงผัก ร่วมกับพระภิกษุที่ท่านให้คำแนะนำ ทำให้ชุมชนมีความสัมพันธ์กันมากขึ้น

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

 

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

 

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

 

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

 

2.2 การใช้จ่ายเงิน

 

2.3 หลักฐานการเงิน

 

ผลรวม 0 0 0 0
ผลรวมทั้งหมด 0 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

ชุมชนได้แนวคิดการประชุมเป็นการบริหารจัดการชุมชน ที่ทุกคนต้องมาร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และมีข้อตกลงร่วมกัน (จากเดิมไม่เคยมีการประชุมในชุมชนมาเลย ๑๘ ปี)

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

ชุมชนสามารถบริหารจัดการการเงินได้อย่างถูกต้อง และสามารถนำเงินจากผลผลิตที่ได้จัดทำเป็นกองทุนสสส.ได้อีกจำนวนหนึ่ง

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

ชุมชนถือว่าเป็นกิจกรรมที่ดีที่ทำให้ชุมชนเมืองสามารถร่วมมือกันได้จากเดิมไม่เคยมีการประชุมประจำเดือนเลย ๑๘ ปี แล้ว

สร้างรายงานโดย Yuttipong Kaewtong