stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ บ้านเหนือสะอาด ชุมชนสดใส ประชาร่วมใจพัฒนา
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 57-01507
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2557 - 30 มิถุนายน 2558
งบประมาณ 210,200.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ กอบกุล ชุติมันต์
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวกัญนภัส จันทร์ทอง
พื้นที่ดำเนินการ ชุมชนบ้านเหนือ ต.นาใต้ อ.บ้านนาเดิม จ.สุราษฎร์ธานี
ละติจูด-ลองจิจูด 8.9039749482629,99.272471666336place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 มิ.ย. 2557 31 ต.ค. 2557 1 มิ.ย. 2557 31 ต.ค. 2557 84,080.00
2 1 พ.ย. 2557 30 เม.ย. 2558 1 พ.ย. 2557 30 มิ.ย. 2558 105,100.00
3 1 พ.ค. 2558 30 มิ.ย. 2558 21,020.00
รวมงบประมาณ 210,200.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในการจัดการปัญหาขยะ

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ

  1. มีคนในชุมชนเข้าร่วมกิจกรรมอย่างสม่ำเสมออย่างน้อยร้อยละ 50 ของครัวเรือนทั้งหมด
  2. ขยะในชุมชนลดลงอย่างน้อย 10%

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ

  1. ชุมชนสะอาด มีการจัดการขยะในชุมชนอย่างเป็นระบบ ภูมิทัศน์ในชุมชนสวยงาม ชุมชนน่าอยู่
  2. ชุมชนมีแผนการจัดการขยะ
  3. เกิดองค์กรการจัดการขยะในชุมชน
2 เพื่อส่งเสริมการใช้ภูมิปัญญาในการจัดการปัญหาขยะในชุมชน

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ

  1. เกิดการถ่ายทอด เผยแพร่ภูมิปัญญาในการจัดการขยะสู่เยาวชนและคนใน ชุมชนอย่างน้อย 5 ครั้ง
  2. มีการนำภูมิปัญญามาใช้ในการจัดการปัญหาขยะ อย่างน้อย 5 รูปแบบ
  3. มีจุดเรียนรู้การแปรรูปขยะ และสามารถสร้างรายได้เสริมจากการจัดการขยะในครัวเรือนได้ อย่างน้อย 1 แห่ง

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ

  1. มีการนำภูมิปัญญาด้านการจัดการขยะมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการจัดการปัญหาขยะในชุมชน
  2. คนในชุมชนมีการนำภูมิปัญญาด้านการจัดการขยะที่ได้รับการถ่ายทอดไปใช้จริงในครัวเรือน
3 เพื่อสร้างชุมชนสุขภาวะ ลดเหล้า ลดบุหรี่

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ

  1. คนในชุมชนสามารถลด ละ เลิก เหล้า และบุหรี่- อย่างน้อย 20%ของกลุ่มเป้าหมาย
  2. อุบัติเหตุในชุมชนลดลง อย่างน้อย 20 %

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ

  1. คนในชุมชนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงขึ้น จากการ ลด ละ เลิก เหล้า และบุหรี่
4 เพื่อหนุนเสริมและติดตามการดำเนินงานโครงการ
  1. สามารถจัดทำรายงานกิจกรรม รายงานความก้าวหน้า รายงานการเงินได้อย่างถูกต้อง และเป็นปัจจุบัน
  2. ทีมงานมีศักยภาพในการทำงานเพิ่มขึ้น
  3. มีภาพถ่ายกิจกรรมตลอดทั้งโครงการ
  4. มีการจัดทำป้ายสถานที่นี้ปลอดบุหรี่
  5. มีการเข้าร่วมกิจกรรมกับ สสส.  สจรส.ม.อ. หรือพี่เลี้ยงโครงการทุกครั้ง
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 มิ.ย. 2557 16:58 น.