แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ ปือมูดอบือราเป๊ะ พิทักษ์สิ่งแวดล้อม ”

หมู่บ้านบือราเป๊ะ ม.3 บ้านบือราเป๊ะ ต.โคกเคียน อ.เมือง จ.นราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายเจ๊ะอูมา ปิ

ชื่อโครงการ ปือมูดอบือราเป๊ะ พิทักษ์สิ่งแวดล้อม

ที่อยู่ หมู่บ้านบือราเป๊ะ ม.3 บ้านบือราเป๊ะ ต.โคกเคียน อ.เมือง จ.นราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 57-02562 เลขที่ข้อตกลง 58-00-0144

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 ตุลาคม 2014 ถึง 25 พฤศจิกายน 2015


กิตติกรรมประกาศ

"ปือมูดอบือราเป๊ะ พิทักษ์สิ่งแวดล้อม จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่บ้านบือราเป๊ะ ม.3 บ้านบือราเป๊ะ ต.โคกเคียน อ.เมือง จ.นราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ปือมูดอบือราเป๊ะ พิทักษ์สิ่งแวดล้อม



บทคัดย่อ

โครงการ " ปือมูดอบือราเป๊ะ พิทักษ์สิ่งแวดล้อม " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่บ้านบือราเป๊ะ ม.3 บ้านบือราเป๊ะ ต.โคกเคียน อ.เมือง จ.นราธิวาส รหัสโครงการ 57-02562 ระยะเวลาการดำเนินงาน 25 ตุลาคม 2014 - 25 พฤศจิกายน 2015 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 127,960.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 115 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาศักยภาพเยาวชนให้มีบทบาทในการดูแลสิ่งแวดล้อม
  2. เพื่อจัดตั้งเครือข่ายสภาชุมชนในการดูแลสิ่งแวดล้อม
  3. ติดตามสนับสนุนจาก สสส.สจรส.มอและพี้เลี้ยง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมปฐมนิเทศโครงการชุมชนท้องถิ่น

    วันที่ 29 พฤศจิกายน 2014 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แนวทางในการจัดทำรายงานผล และรายงานการเงิน โดยการทำรายงานการเงินแยกรายกิจกรรม/ครั้ง กระบวนการและระบบการติดตามประเมินผล การทำรายงานโครงการ และ รายงานการเงิน  การป้อนข้อมูลรายละเอียดโครงการในเว็บไซต์ การป้อนแผนการดำเนินงานในปฏิทินโครงการ • การรายงานผลการจัดกิจกรรม และรายจ่ายในกิจกรรมและการจัดทำรายงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้เรียนรู้ถึงการใส่ข้อมูลลงโปรแกรม รวมถึงกระบวนการและระบบการติดตามประเมินผล เพื่อการหนุนเสริมโครงการ และรวมถึงแนวทางการทำรายงานผล รายงานการเงิน

     

    2 2

    2. ประชุมชี้แจงการดำเนินงานโครงการและทำความเข้าใจร่วมกันให้กับแกนนำในชุมชน

    วันที่ 26 ธันวาคม 2014 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง
    • ผู้ใหญ่บ้านกล่าวเปิดกิจกรรมประชุมชี้แจง
    • ประธานชุมชนชี้แจงที่มาของโครงการ
    • แนะนำทีมงานและชีแจงกิจกรรมที่จะดำเนินการในโครงการทั้งหมด
    • ชาวบ้านร่วมแลกเปลี่ยนและเสนอแนะเกี่ยวกับโครงการ
    • ผู้ใหญ่บ้านกล่าวสรุปและขอบคุณผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชุมชนรับทราบแนวทางการสนับสนุนโครงการจาก สสส. และกิจกรรมทีี่จะดำเนินการในโครงการทั้งหมดดังนี้

    1. กิจกรรม สานใจปือมูดอ สู่บือราเป๊ะ โดยมีกิจกรรมการอบรมการทำงานเป็นทีม  อบรมการจัดทำแผนที่เดินดิน และวิเคราะห์ข้อมูลร่วมกัน

    2. กิจกรรม แผ่นที่เดินดินถิ่นบ้านเรา โดยมีกิจกรรมการจัดทำวาดแผ่นที่เดินดิน และคืนข้อมูลให้กับชุมชน

    3. กิจกรรม จัดตั้งเครือข่ายสภาชุมชน  โดยมีกิจกรรมการตั้งกฎกติกาเครือข่ายสภาชุมชน

    4. กิจกรรม ร่วมมือ ร่วมใจ โดยมีกิจกรรมการอบรมเครือข่ายสภาชุมชน กิจกรรมรักษาความสะอาดชุมชน (3 ครั้ง) และกิจกรรมเล่นกีฬาสีพื้นบ้าน

    5. กิจกรรม ถอดบทเรียน (นอกสถานที่ ทีมงาน)

    6. กิจกรรม ประชุมทีมงานหลังมีการการจัดกิจกรรมทุกครั้ง

     

    37 37

    3. ประชุมติดตามกิจกรรม ร่วมกับคณะทำงาน

    วันที่ 16 มกราคม 2015 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ชี้เเจ้งวาระการประชุม
    • ชี้แจงรายละเอียดโครงการให้คณะทำงานทราบ
    • เเจ้งบทบาทหน้าที่ของแต่ละบุคคล
    • วางแผนและเตรียมการจัดเวทีประชุมชี้แจงโครงการแก่ชุมชนในวันที่ 24 มกราคม 2558

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้รับทราบวิธีการถอนเงินคืน ว่าต้องลงบัญชีรับจ่ายในรายงานของ สสส.ด้วย

    • คณะทำงานทราบรายละเอียดของกิจกรรมที่จะดำเนินการในโครงการ

    • แต่บุคคลทราบบทบาทหน้าความรับผิดชอบของตนเองในโครงการ
    • สามารถวางแผนและเตรียมการจัดเวทีประชุมชี้แจงโครงการแก่ชุมชน วันที่ 24 มกราคม 2558

     

    15 14

    4. ทำป้ายรณรงค์งดสูบบุหรี่ในชุมชน

    วันที่ 21 มกราคม 2015 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทำป้ายรณรงค์จำนวน 1 ป้าย และทำป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้รณรงค์์งดสูบบุหรี่ในชุมชน โดยใช้ป้ายติดตามสถานที่ทำกิจกรรม

     

    115 115

    5. อบรมให้ความรู้กับการทำงานเป็นทีม (ด้านพลเมืองดี)

    วันที่ 24 มกราคม 2015 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ได้จัดกิจกรรม "สานใจปือมูดอ สู่บือราเป๊ะ ภายใต้โครงการ "ปือมูดอบือราเป๊ะ พิทักษ์สิ่งแวดล้อม การจัดกิจกรรมในครั้งนี้ มีผู้เข้าร่วมเป็นเยาวชนจำนวน 32 คน โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้เยาวชนได้ความรู้เกี่ยวกับการสร้างจิตสำนึกของความเป็นพลเมืองดี (การทำงานเป็นทีม)
    • ทีมเยาวชนได้ร่วมแลกเปลี่ยนกับวิทยากร นางสาวฟาร่าห์ นิบือสา ตำแหน่ง หัวหน้าสำนักงาน หน่วยงาน ศูนย์ประสานงานวิชาการให้ความช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบฯ มหาวิยาลัยนราธิวาสราชนครินทร
    • ช่วงบ่ายก็ได้มีวิทยากร พันตรี โสมนัส ล้ำเลิศ หัวหน้าทีมญาลันนันบารู ศูนย์ป้องกันและแก้ไขยาเสพติด กอ.รมน.ภาค 4ส่วนหน้า อาสามาบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับ วัยรุ่นห่างไกลจากยาเสพติด พร้อมสาธิตการทำน้ำยาล้างจานให้กับเยาวชน เพื่อเปิดโอกาศให้เยาวชนได้เรียนรู้และเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัว อีกทั้งใช้เวลาให้เกิดประโยชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เยาวชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการทำงานเป็นทีม สามารถแบ่งทีมได้ โดยจะมีการแบ่งแกนนำเยาวชนหลักในการเชิญชวนเพื่อนๆให้เข้ามาร่วมในกิจกรรมครั้งต่อไป
    • เยาวชนสามารถแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ในกิจกรรมการทำงานเป็นทีมและมีการร่วมสรุปกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยกัน
    • เยาวชนเกิดมีจิตสำนึกในเห็นคุณค่าของชุมชนมากขึ้น และใส่ใจช่วยกันพิทักษ์สิ่งแวดล้อมร่วมกัน
    • เยาวชนมีความกล้ามากขึ้นในการเข้าร่วมกิจกรรม

     

    32 32

    6. ประชุมครั้งแรกกับกลุ่มพี่เลี้ยงและสจรส.

    วันที่ 25 มกราคม 2015 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    รับฟังแลกเปลี่ยนการนำเสนอของรุ่นที่ 1 เพื่อเป็นแนวทางให้กับรุ่นที่ 2 ในการปรับใช้กับกิจกรรมต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เมื่อจัดกิจกรรมเสร็จทุกครั้งต้องเคลียร์การเงินให้เสร็จทันที เพราะจะไม่ทำให้เกิดมั่วและง่ายต่อการบริหารเงิน ส่วนเว็บไซต์ก็เหมือนกัน ก็ควรที่จะใส่ข้อมูลรายงานลงในเว็บทันที เพื่อง่ายต่อพี่เลี้ยงจะเข้ามาตรวจรายงานแต่ละกิจกรรม

     

    2 1

    7. ประชุมคณะทำงานพร้อมสรุปกิจกรรมที่ได้จัดทำและวางแผนการทำงานในเดือนต่อไป

    วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2015 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -ชี้เเจงวาระการประชุม

    • ชี้แจงรายละเอียดโครงการให้คณะทำงานทราบ

    • เเจ้งบทบาทหน้าที่ของแต่ละบุคคล

    • วางแผนและเตรียมการกิจกรรมการอบรมเครื่องมือการศึกษาชุมชนและลงสำรวจพื้นที่ ในวันที่ 6,13 มีนาคม 2558

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • คณะทำงานทราบรายละเอียดของกิจกรรมที่จะดำเนินการในโครงการ
    • แต่บุคคลทราบบทบาทหน้าความรับผิดชอบของตนเองในโครงการ
    • สามารถวางแผนและเตรียมการกิจกรรมการอบรมเครื่องมือการศึกษาชุมชนและลงสำรวจพื้นที่ ในวันที่ 6,13 มีนาคม 2558

     

    15 15

    8. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการเก็บข้อมูลโดยเครื่องมือ 7 ชิ้น

    วันที่ 6 มีนาคม 2015 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ลงทะเบียน
    • ประธานในพิธีกล่าวเปิดพร้อมทั้งให้กำลังใจแก่เยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรม
    • ผู้เข้าร่วมทำกิจกรรมนันทนาการด้วยเกมส์เพื่อสนุกสนานก่อนเข้าสู่อบรม
    • แลกเปลี่ยนการเรียนรู้ระหว่างวิทยากรกับผู้เข้าร่วมอบรมเรื่องการเก็บข้อมูลการศึกษาชุมชนโดยใช้เครื่องมือแผ่นที่เดินดิน
    • แลกเปลี่ยนการเรียนรู้และร่วมสรุปการเรียนรู้กับเยาวชน

    ได้จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เครื่องมือกศึกษาชุมชนโดยใช้แผนที่เดินดินในการลงเก็บข้อมูล  โดยมีผู้เข้าร่วม 22 คน เป็นเยาวชน จำนวน 15 คน สำหรับกิจกรรมครั้งนี้ได้เชิญวิทยากร ว่าที่ร้อยตรี อิสมาแอ มาหะ ตำแหน่ง นักบริหารงานพัฒนาประจำโครงการบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1.เพื่อให้เยาวชนมีทักษะในการเก็บข้อมูลโดยใช้เครื่องมือแผนที่เดินดิน 2.เพื่อให้ได้ชุดข้อมูลทรัพยากรที่เป็นจุดแข็งและจุดอ่อนที่มีีอยู่ในชุมชน
    ช่วงเช้าวิทยากรได้อบรมการใช้เครื่องมือศึกษาชุมชน และร่วมกันทำแผนที่เดินดินพร้อมกับเยาวชน ช่วงบ่ายมีการสำรวจพื้นที่โดยใช้แผนที่เดินดินในการเก็บข้อมูลทรัพยากรที่อยู่ในชุมชน เพื่อง่ายต่อการวางแผนในการพิทักษ์สิ่งแวดล้อม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เยาวชนมีความรู้ และเเนวทางในการจัดเก็บข้อมูลด้วยเครื่องมือศึกษาชุมชนโดยใช้แผนที่เดินดิน
    • เยาวชนสามารถแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ในกิจกรรมการทำงานเป็นทีมและมีการร่วมสรุปกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยกัน
    • เยาวชนมีทักษะในการลงสำรวจชุมชน และจัดเก็บข้อมูลการศึกษาชุมชนโดยใช้เครื่องมือแผ่นที่เดินดิน
    • เยาวชนเกิดมีจิตสำนึกในเห็นคุณค่าของชุมชนมากขึ้น และใส่ใจช่วยกันพิทักษ์สิ่งแวดล้อมร่วมกัน
    • เยาวชนเห็นภาพรวมของชุมชนและสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการดูแลสิ่งแวดล้อมในชุมชนได้

     

    30 37

    9. ลงสำรวจทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชนจุดแข็งและจุดอ่อน (ต่อ)

    วันที่ 13 มีนาคม 2015 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ลงทะเบียน
    • ประธานในพิธีกล่าวเปิดพร้อมทั้งให้กำลังใจแก่เยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรม
    • ผู้เข้าร่วมทำกิจกรรมนันทนาการด้วยเกมส์เพื่อสนุกสนานก่อนเข้าสู่อบรม
    • ลงสำรวจชุมชนดดยใช้แผ่นที่เดินดิน
    • แลกเปลี่ยนการเรียนรู้และร่วมสรุปการเรียนรู้กับเยาวชน

    กิจกรรมในครั้งนี้ให้ความรู้อมรมเชิงปฏิบัติการ โดยมีเข้าร่วมเป็นเยาวชน จำนวน 31 คน โดยมีการลงสำรวจชุมชนพร้อมจัดเก็บข้อมูลต่อ โดยเน้นการเรียนรู้แบบสาระควบคู่ความสนุกในชุมชนพร้อมร่วมกันกับแกนนำชุมชน เพื่อที่จะให้ได้แผนที่ทรัพยากรในชุมชนง่ายต่อการเห็นภาพรวมสิ่งแวดล้อมที่มีอยู่ในชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เยาวชนมีความรู้ และเเนวทางในการจัดเก็บข้อมูลด้วยเครื่องมือศึกษาชุมชนโดยใช้แผนที่เดินดิน
    • เยาวชนสามารถแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ในกิจกรรมการทำงานเป็นทีมและมีการร่วมสรุปกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยกัน
    • เยาวชนมีทักษะในการลงสำรวจชุมชน และจัดเก็บข้อมูลการศึกษาชุมชนโดยใช้เครื่องมือแผ่นที่เดินดิน
    • เยาวชนเกิดมีจิตสำนึกในเห็นคุณค่าของชุมชนมากขึ้น และใส่ใจช่วยกันพิทักษ์สิ่งแวดล้อมร่วมกัน
    • เยาวชนเห็นภาพรวมทรัพยากรสิ่งแวดล้อมในชุมชนและสามารถจัดทำแผนผังทรัพยากรเพื่อนำมาประยุกต์ใช้ในการดูแลสิ่งแวดล้อมในชุมชนได้

     

    31 31

    10. ปิดงวด 1

    วันที่ 14 มีนาคม 2015 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    พี่เลี้ยงจังหวัดตรวจสอบเอกสารรายงานผลความก้าวหน้าผลการดำเนินกิจกรรมโครงการ งวดที่ 1 โดยตรวจสอบเอกสารการเงิน บิลใบเสร็จที่ถูกต้อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทีมงานโครงการรับทราบกระบวนการจัดทำรายงานความก้าวหน้าผลการดำเนินการ และขั้นตอนในการลงข้อมูลลงในเว็บไซด์ สจรส.

     

    1 1

    11. ประชุมติดตามกิจกรรม ร่วมกับคณะทำงาน

    วันที่ 29 มีนาคม 2015 เวลา 20:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ชี้เเจงวาระการประชุม
    • ชี้แจงรายละเอียดโครงการ การทำโครงการที่ผ่านมาในงวด 1 ให้คณะทำงานทราบ
    • เเจ้งบทบาทหน้าที่ของแต่ละบุคคล
    • วางแผนและเตรียมการกิจกรรม จัดวาดแผนที่ผังทรัพยากรชุมชน ในวันที่ 3 เมษายน 2558

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • คณะทำงานทราบรายละเอียดของกิจกรรมที่จะดำเนินการในโครงการ หากจะดูรายละเอียดผลการทำงานให้ย้อนกลับไปดูการรายงานกิจกรรมที่ผ่านมา
    • แต่ละบุคคลทราบบทบาทหน้าความรับผิดชอบของตนเองในโครงการ โดยแบ่งบทบาทผู้ประสานงาน การเงินโครงการ นักจัดกิจกรรม
    • สามารถวางแผนและเตรียมการกิจกรรม จัดวาดแผนที่ผังทรัพยากรชุมชน ในวันที่ 3 เมษายน 2558 โดยจะจัดเวทีมีวิทยากรมาให้ความรู้การทำแผนที่เดินดิน ส่วนวิทยากรจะประสานไปอีกครั้ง

     

    20 20

    12. ประชุมติดตามกิจกรรม ร่วมกับคณะทำงาน

    วันที่ 12 เมษายน 2015 เวลา 08:30-12.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ชี้แจงวาระการประชุม
    • ชี้แจงรายละเอียดโครงการให้คณะทำงานทราบ
    • เเจ้งบทบาทหน้าที่ของแต่ละบุคคล
    • วางแผนและเตรียมการกิจกรรม ทำความสะอาดหมู่บ้าน ในวันที่ 26 เมษายน 2558

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • สามารถวางแผนและเตรียมการกิจกรรม ทำความสะอาดหมู่บ้าน ในวันที่ 26 เมษายน 2558 โดยจะประสานแกนนำชุมชนกรรมการมัสยิด อสม. เยาวชนจิตอาสาร่วมกิจกรรมสาธารณะประโยชน์และประชาชน และกลุ่มเด็ก เข้าร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ และได้แบ่งบทบาทคณะทำงานเพื่อประสานการจัดกิจกรรมดังกล่าว

     

    15 20

    13. จัดทำวาดแผนที่เดินดินในชุมชน

    วันที่ 18 เมษายน 2015 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ลงทะเบียน
    • ประธานในพิธีกล่าวเปิดพร้อมทั้งให้กำลังใจแก่เยาวชนและแกนนำชุมชนที่เข้าร่วมกิจกรรม
    • กิจกรรมสันทนาการ
    • อบรมความรู้ในการจัดทำแผนที่เดินดิน,แผนที่ทรัพยากรชุมชน
    • จัดทำแผนที่เดินดิน,แผนที่ทรัพยากรชุมชนร่วมกันระหว่างเยาวชนและแกนนำชุมชน,ชาวบ้าน วิทยากรคือปราชญ์ผู้รู้ด้านแผนที่ทรัพยากรของชุมชนในการให้ความรู้แก่แกนนำชุมชน,ชาวบ้านและเยาวชนเอง
    • จัดคืนข้อมูลสู่ชุมชนระหว่างแกนนำชุมชน,ชาวบ้านและเยาวชนเอง ร่วมกันแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ประเด็นแผนที่เดินดินและแผนที่ทรัพยากรชุมชนระหว่างเยาวชนกับแกนนำชุมชน,ชาวบ้าน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เยาวชนและแกนนำชุมชนมีปฏิสัมพันธ์ร่วมกัน ร่วมกันคิดร่วมกันทำ ทำให้ลดช่องว่างระหว่างวัยและเปิดโอกาศให้เยาวชนได้แสดงศักยภาพให้เห็นอย่างชัดเจน
    • ได้แผนที่เดินดินและแผนที่ทรัพยากรที่เป็นรูปธรรม โดยแผนที่เดินดินยังทำให้เห็นถึงมิติของความสัมพันธ์ มิติทางกายภาพ ส่วนแผนที่ทรัพยากร (ภาพรวมทรัพยากรในชุมชน) ซึ่งจะทำให้เกิดความรู้สึกรักและเป็นห่วงเป็นใยภายในชุมชน เพราะเห็นถึงความเชื่อมโยงประโยชน์ของระบบนิเวศ์ในชุมชน นอกจากยังสามารถทำให้เห็นความสัมพันธ์ที่มีหลายมิติ ไม่ว่ามิติทางด้านสิ่งแวดล้อมในชุมชนของตนเองมากขึ้น

     

    30 80

    14. กิจกรรมรักษาความสะอาดชุมชน (ครั้งที่ 1)

    วันที่ 26 เมษายน 2015 เวลา 09:30-16.30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • แกนนำชุมชนกรรมการมัสยิด อสม. เยาวชนจิตอาสา ร่วมกับประชาชนในชุมชนที่ว่างจากการทำงานตอนเช้า-บ่าย มาช่วยกันทำความสะอาดมัสยิดและบริเวณรอบๆหมู่บ้านเพื่อให้เกิดความสะอาดผู้คนที่เข้าก็รู้สึกภูมิใจที่มัสยิดสะอาดและได้มาทำการละหมาดบ่อยขึ้นและมัสยิดก็มีผู้คนมากขึ้น ชุมชนได้รับความร่วมมือจาก ทหาร ในการช่วยนำกิ่งไม้ใหญ่ไปทิ้งและขยะจากการทำความสะอาด เกิดความสะดวกในการจัดเก็บขยะของชุมชน เยาวชนมีความสุขที่ได้พัฒนาชุมชน ได้รับการชื่นชมจากบุคคลภายในและภายนอกชุมชนที่มาเยี่ยมเยียนและใช้พื้นที่สาธารณะ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีผู้เข้าร่วมจำนวน 96 คน จากกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ 115 คน คิดเป็น 84 เปอร์เซ็นต์
    • เยาวชนมีความสุขที่ได้พัฒนาชุมชน ได้รับการชื่นชมจากบุคคลภายในและภายนอกชุมชนที่มาเยี่ยมเยียนและใช้พื้นที่สาธารณะ เช่น มัสยิด เยาวชนเข้าถึงมัสยิดมากขึ้น หลังทำกิจกรรมได้มาร่วมละหมาดที่มัสยิด รวมถึงเกิดความสามัคคีในชุมชนของกลุ่มเยาวชน และประชาชนผู้ปกครองที่มาร่วมทำกิจกรรม และได้ดึงกลุ่มเด็กในชุมชนมาร่วมทำกิจกรรม เพื่อสร้างจิตอาสาในชุมชนฝึกวินัยการรักษาความสะอาดให้เด็กในชุมชนตามหลักการของอิสลามที่กำหนดว่า ความสะอาดเป็นส่วนหนึ่งของการศรัทธา ทำให้คนในชุมชน เข้าร่วมในการดำเนินกิจกรรม จัดเก็บขยะของชุมชนที่ได้พัฒนาทำความสะอาด ทำให้คนในชุมชนประทับใจและจะรักษาความสะอาดอย่างนี้อย่างต่อเนื่อง เกิดครอบครัวอบอุ่นตามตัวชี้วัดที่กำหนด

     

    115 96

    15. ประชุมติดตามกิจกรรม ร่วมกับคณะทำงาน

    วันที่ 3 พฤษภาคม 2015 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานประชุมติดตามผลการทำโครงการ และวางแผนการทำกิจกรรมในครั้งต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานได้วางแผนการทำกิจกรรมจัดตั้งเครือข่ายสภาชุมชน ซึ่งจะจัดประชุมเพื่อหารือการจัดตั้งในวันที่ 9 พ.ค.58

     

    15 20

    16. จัดตั้งเครือข่ายสภาชุมชน

    วันที่ 9 พฤษภาคม 2015 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ขั้นตอนที่ดำเนินการ

    1. ลงทะเบียน
    2. ประธานที่ประชุมชี้แจงรายละเอียด โดย นายเจ๊ะอูมาปิผู้ใหญ่บ้าน ม.3 บ้านบือราเป๊ะ
    3. เริ่มดำเนินการจัดตั้ง ตำแหน่ง และบทบาทหน้าที่ของแต่ละคน
    4. สรุป กิจกรรมในครั้งนี้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลสรุปของกิจกรรมในครั้งนี้

    1. เกิดเครือข่ายสภาเยาวชน ทำให้เยาวชนมีความรับผิดชอบในหน้าที่มากขึ้น
    2. เยาวชนสามารถ ทำหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    3. เยาวชนมีความสุข ที่ได้มาพบป่ะกัน

     

    30 30

    17. กิจกรรมรักษาความสะอาดชุมชน (ครั้งที่ 2)

    วันที่ 12 พฤษภาคม 2015 เวลา 09:30-16.30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. จัดเตรียมอุปกรณ์ต่างๆก่อนทำงานได้แก่ กระสอบ ไม้กวาด เครื่องตัดหญ้า มีด เข่ง เหล็กเสียบขยะ
    2. ประชุมคณะทำงานก่อนการทำความสะอาดเพื่อแบ่งพื้นที่และหน้าที่รับผิดชอบในถนนสายหลักและบริเวณรอบๆหมู่บ้าน
    3. ในระหว่างที่ทำงานได้ประชาสัมพันธ์กิจกรรมให้แก่ประชาชนที่สัญจรผ่านไปมา
    4. ประเมินผลความสำเร็จจากทำความสะอาดในครั้งนี้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เกิดเครือข่ายเยาวชนเป็นแกนนำหลักในการทำกิจกรรม เกิดกลุ่มเยาวชนจิตอาสาในหมู่บ้าน ทางเยาวชนได้เรียนรู้หลักการทำความสะอาดควบคู่การเรียนรู้หลักการศาสนา
    • คนในชุมชนเกิดความเอ็นดูเด็กเยาวชนที่มาร่วมกิจกรรม ทำให้คนในชุมชนรู้จักการจัดการขยะตามบ้าน

     

    115 115

    18. กิจกรรมรักษาความสะอาดชุมชน (ครั้งที่ 3)

    วันที่ 20 พฤษภาคม 2015 เวลา 09:30-16.30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. จัดเตรียมอุปกรณ์ต่างๆก่อนทำงานได้แก่ กระสอบ ไม้กวาด เข่ง เหล็กเสียบขยะ
    2. ประชุมคณะทำงานก่อนทำงานเพื่อแบ่งพื้นที่และหน้าที่รับผิดชอบในถนนสายหลักและบริเวณรอบๆหมู่บ้าน
    3. ในระหว่างที่ทำงานได้ประชาสัมพันธ์กิจกรรมให้แก่ประชาชนที่สัญจรผ่านไปมา
    4. ประเมินผลความสำเร็จจากทำความสะอาดในครั้งนี้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. มีกระบวนการทำงานที่แบ่งหน้าที่กันชัดเจนขึ้นจากการทำความสะอาดครั้งที่แล้ว
    2. มีการรวมกลุ่มเยาวชนและผู้ปกครองเยาวชนร่วมกันทำความสะอาด
    3. ชุมชนสะอาดน่าอยู่
    4. เป็นแบบบอย่างให้แก่ชุมชนอื่นๆที่อยู่ใกล้เคียงโดยประเมินได้จากการชื่นชมเยาวชนที่ร่วมทำให้ความสะอาดจากชุมชนใกล้เคียง
    5. เยาวชนมีความสุขที่ได้ทำให้หมู่บ้านตนเองสะอาดขึ้น

     

    115 115

    19. ประชุมติดตามกิจกรรม ร่วมกับคณะทำงาน

    วันที่ 14 มิถุนายน 2015 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานได้ประชุมสรุปการทำกิจกรรม และหารือเรื่องการจัดการครูที่จะมาสอนในโรงเรียนตาดีกา และคุยเรื่องหมู่บ้าน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • สรุปผลการทำกิจกรรมที่ผ่านมา ทำได้ดี มีผู้เข้าร่วมมากกว่า 80 เปอร์เซ็นต์ และหารือการจัดกิจกรรมกีฬาสีที่จะจัดในเดือนถัดไป จะเข้าร่วมกับครูและเด็กในโรงเรียนตาดีกา

     

    15 20

    20. ประชุมติดตามกิจกรรม ร่วมกับคณะทำงาน

    วันที่ 19 กรกฎาคม 2015 เวลา 19.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • คณะทำงานได้ประชุมร่วมกันเพื่อวางแผนและเตรียมกิจกรรมการจัดกีฬาพื้นบ้านในชุมชน มีการคำนวนงบประมาณที่จะใช้ในงานกีฬาสีพื้นบ้าน และนัดไปถอนเงินเพื่อมาทำกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • คณะทำงานทราบรายละเอียดของกิจกรรมที่จะดำเนินการในโครงการ
    • แต่ละบุคคลทราบบทบาทหน้าความรับผิดชอบของตนเองในโครงการ
    • สามารถวางแผนและเตรียมการกิจกรรม จัดกีฬาพื้นบ้านในชุมชน ในวันที่ 1 สิงหาคม 2558

     

    20 20

    21. เล่นกีฬาสีพื้นบ้าน

    วันที่ 1 สิงหาคม 2015 เวลา 09:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง
    • ผู้ใหญ่บ้านกล่าวเปิดกิจกรรมกีฬาพื้นบ้าน
    • ดำเนินกิจกรรมการแบ่งกลุ่มและกำหนดกฎกตีกาในการแข่งขัน โดยแบ่งเป็นผู้หญิง 83 คน ผู้ชาย 85 คน
    • เริ่มการแข่งขันกีฬาตามแผนการที่กำหนด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • การแข่งขันกีฬาสีพื้นบ้าน ทำให้คนในชุมชนมีความรัก ความสามัคคี ของคนในชุม คนในชุมชนมีความสัมพันธ์ของคนในหมู่บ้าน การเล่นกีฬาทำให้ผู้เข้าร่วมในชุมชนมีความสนุกสนาน ผ่อนคลายช่วงที่เศรษฐกิจยางพาราตกต่ำของคนในชุมชน

     

    115 168

    22. เบิกเงินเปิดบัญชี

    วันที่ 11 สิงหาคม 2015 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เบิกเงินค่าเปิดบัญชี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้รับเงินค่าเปิดบัญชี และสามารถลงรายจ่ายในบัญชีได้ถูกต้อง

     

    2 2

    23. ประชุมติดตามกิจกรรม ร่วมกับคณะทำงาน

    วันที่ 23 สิงหาคม 2015 เวลา 10:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมสรุปการทำกิจกรรมที่ผ่านมา และวางแผนการจัดกิจกรรมในเดือนถัดไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ที่ประชุมเสนอการจัดกิจกรรม และเสนอแนวคิดในการทำกิจกรรมในเดือนถัดไป ได้รายงานปัญหาของการจัดกิจกรรม และร่วมเสนอการแก้ปัญหาหาทางออกร่วมกัน

     

    15 20

    24. ร่วมงานสร้างสุขภาคใต้ ปี 2558

    วันที่ 4 กันยายน 2015 เวลา 07:30-17.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในมหกรรมสร้างสุขภาคใต้ ชมบู๊ทนิทรรศการ และเข้าร่วมฟังการเสวนาการปฏิรูปประเทศไทย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในบู๊ทต่าง เห็นผลงานและการนำเสนอของชุมชนต่าง เกิดความรู้ที่สามารถนำมาปรับใช้ในชุมชนต่อไปได้

     

    2 2

    25. ประชุมติดตามกิจกรรม ร่วมกับคณะทำงาน

    วันที่ 20 กันยายน 2015 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานประชุมสรุปการทำโครงการที่ผ่านมา เพื่อเตรียมข้อมูลจัดทำรายงาน และนัดวันพบพี่เลี้ยง เพื่อปรึกษาการทำรายงานโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้เตรียมข้อมูลสำหรับจัดทำรายงาน เตรียมเอกสารการเงิน แต่ยังไม่มั่นใจว่าเอกสารการเงินที่ทำนั้นถูกต้องไม่ ซึ่งจะเข้าไปปรึกษากับพี่เลี้ยงอีกครั้ง

     

    15 20

    26. ประชุมติดตามกิจกรรม ร่วมกับคณะทำงาน

    วันที่ 11 ตุลาคม 2015 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • คณะทำงานได้ประชุม และร่วมกันจัดทำเอกสารการเงินให้เรียบร้อย ก่อนส่งให้พี่เลี้ยงตรวจสอบและให้คำแนะนำอีกครั้ง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้จัดทำเอกสารการเงินได้เสร็จ หาหลักฐานมาแนบให้เรียบร้อย เช่น ค่าอาหารต้องแนบสำเนาบัตรประชาชนด้วย และนัดกับพี่เลี้ยงเพื่อตรวจเอกสารในวันที่ 25 ตุลาคม 2558

     

    15 20

    27. ตรวจสอบเอกสารการดำเนินงานโครงการ

    วันที่ 25 ตุลาคม 2015 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • พี่เลี้ยงตรวจสอบหลักฐานทางการเงิน
    • พี่เลี้ยง ตรวจการลงเวบไซต์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เอกสารการเงินมีครบทุกกิจกรรม แลต่การลงหลักฐานทางการเงินในเวบไซต์ยังไม่ครบ และลงผิดรายการ
    • ได้รายงานกิจกรรมในเวบไซต์ แต่ยังรายงานไม่เสร็จและต้องเพิ่มข้อมูลอีกมาก

     

    2 2

    28. อบรมเครือข่ายสภาชุมชน

    วันที่ 27 ตุลาคม 2015 เวลา 08:30 - 16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    วันที่ 27 ตุลาคม 2558

    1. ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมกิจกรรม
    2. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมในหมู่บ้าน
    3. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการสิ่งแวดล้อมให้คงอยู่สภาพเดิม โดยจะทำอย่างไรไม่ให้เสื่อมคลายไป
    4. พักรับประทานอาหาร

    วันที่ 28 ตุลาคม 2558

    1. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการบำบัดระบบนิเวศ
    2. สาธิตการใช้อีเอ็ม ที่มีประสิทธิภาพในแหล่งน้ำ
    3. รวมกันเก็บขยะ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เยาวชนได้รับความรู้และสามารถปฏิบัติได้ เกี่ยวกับการจัดการสิ่งแวดล้อม ปัญหาขยะ ปัญหาแหล่งน้ำ ทั้งนี้คนในชุมชนมีทัศนะที่ดีต่อระบบนิเวศและมีใจรักต่อสิ่งที่มีอยู่ในชุมชน เช่น ป่าไม้ สัตว์ป่า แหล่งน้ำ คนในชุมชนมีความรับผิดชอบในการดูแลสิ่งแวดล้อมร่วมกัน สมาชิกมีความตระหนักคิดถึงการทำลายสิ่งแวดล้อมและพร้อมที่จะช่วยกันอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เยาวชนสามารถทำอีเอ็มด้วยตนเอง เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในแหล่งน้ำภายในชุมชนต่อไป ชุมชนสามารถบริหารจัดการเรื่องสิ่งแวดล้อม ชุมชนสามารถนำมาประยุกค์ใช้กับวิถีวิชีวิตภายในชุมชนเกี่ยวกับการดำเนินชีวิต

     

    115 80

    29. ถอดบทเรียน การดำเนินโครงการทั้งระบบ

    วันที่ 29 ตุลาคม 2015 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ได้รวมตัวกัน ทั้งคณะทำงานและเยาวชน รวมทั้งผู้สูงอายุในพื้นที่ ในหมู่บ้าน โดยได้ทำกิจกรรมร่วมกัน ได้แลกเปลี่ยนความคิด เกี่ยวกับ สิ่งแวดล้อมในหมู่บ้าน และได้เข้าร่วมกันแก้ไข ปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม เช่น ปัญหาขยะ ก็แก้ไขโดยการรงณรงค์ การฝังขยะ และการแยกขยะ และได้พูดคุยเกี่ยวกับการทำเกษตรกรรม ที่มีในหมู่บ้าน และแหล่งน้ำที่ยังเป็นปัญหาหลักของหมู่บ้าน โดยที่ชาวบ้านไม่สามารถดื่มน้ำจากบ่อได้ เนื่องจากน้ำมีความสกปรกและมีกลิ่นเหม็น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้เรียนรู้เกี่ยวกับการทำงานแบบบูรณาการระหว่าง คณะทำงานในหมู่บ้าน กลุ่มเยาวชน และผู้สูงอายุ และสมาชิกทุกคนมีความสุขที่ได้ร่วมกันเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อมภายในหมู่บ้าน และสมาชิกทุกคนร่วมกันคิดแนวทางแก้ไขปัญหา ในการนี้กลุ่มเยาวชนซึ่งเป็นกลุ่มหลักในกิจกรรมครั้งนี้ สมาชิกทุกคนมีความยินดีที่จะให้ความร่วมมือในการสอดส่องดูแล สิ่งแวดล้อมในหมู่บ้าน และสมาชิกทุกคนมีความสุขที่ได้ออกมาพักผ่อนนอกสถานที่

     

    30 60

    30. ถ่ายภาพและจัดทำรายงาน

    วันที่ 6 พฤศจิกายน 2015 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำภาพถ่ายโครงการ โดยการคัดเลือกภาพลงในรายงานกิจกรรม นำภาพที่คัดเลือกไปล้างเก็บไว้เพื่อทำรายงานและผลงานของชุมชนในการต่อยอดโครงการครั้งต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ภาพถ่ายที่นำไปจัดทำรายงานได้ ก่อนส่งเป็นรายงานฉบับสมบูรณ์ให้ สสส.

     

    2 2

    31. ทำรายงานฉบับสมบูรณ์

    วันที่ 6 พฤศจิกายน 2015 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    บันทึกรายงานกิจกรรม โดยได้รับคำแนะนำจากพี่เลี้ยงเพื่อจัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้รายงานฉบับสมบูรณ์ 

     

    2 2

    32. ตรวจสอบหลักฐานทางการเงิน

    วันที่ 7 พฤศจิกายน 2015 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • เจ้าหน้าที่ สจรส.ม.อ.ตรวจสอบหลักฐานการเงินและการลงกิจกรรมในเวบไซต์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เอกสารการเงินยังไม่เรียบร้อย ให้กลับไปแก้ไขและจัดทำเอกสารให้เรียบร้อยอีกครั้ง และเข้ามาพบ สจรส.มอ.เพื่อตรวจสอบความถูกต้องอีกครั้ง ก่อนทำรายงานการเงิน
    • การรายงานกิจกรรมในเวบไซต์ ไม่เสร็จ และข้อมูลเหมือนกันให้แก้ไขบันทึกการลงกิจกรรมให้เรียบร้อย

     

    2 2

    33. ปิดงวดโครงการ

    วันที่ 21 พฤศจิกายน 2015 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • เข้าพบ สจรส. เพื่อตรวจสอบเอกสารการเงิน และตรวจรายงานกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เอกสารหลักฐานการเงินเรียบร้อย จัดทำรายงานสรุปการเงินได้เสร็จ
    • การรายงานกิจกรรมยังไม่เรียบร้อย ต้องแก้ไขการเขียนกระบวนการและผลที่เกิดขึ้น และเขียนแบบประเมินโครงการ ก่อนปริ้นรายงานส่ง สสส.

     

    2 2

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อพัฒนาศักยภาพเยาวชนให้มีบทบาทในการดูแลสิ่งแวดล้อม
    ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 1.ร้อยละ 80 ของเยาวชนกลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการอบรมมีบทบาทในการดูแลสิ่งแวดล้อม ตัวชี้วัดเชิงนคุณภาพ 1.เยาวชนมีส่วนร่วมในการดูแลสิ่งแวดล้อมและใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 2.มลพิษทางอากาศลดลง 3.คนในชุมชนมีสุขภาพดี

    1.ประเมินจากการเข้าร่วมของกลุ่มเป้าหมาย โดยการทำแบบสอบถาม ความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมในชุมชน เป็นอย่างไร 2.ประเมินจาก สุขภาพวะของกลุ่มเป้าหมาย ก่อน และ หลังเข้าร่วมโครงการ 3. ประเมิน ปริมาณขยะที่ลดลง ภายในขุมชน

    2 เพื่อจัดตั้งเครือข่ายสภาชุมชนในการดูแลสิ่งแวดล้อม
    ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ จัดตั้งเครื่องข่ายสภาชุมชนในการดูแลสิ่งแวดล้อม จำนวน 1 เครือข่าย ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 1.สภาชุมชนมีกฎกติกาของหมู่บ้านในการควบคุมและป้องกันจากมลพิษทางอากาศและสิ่งแวดล้อมอย่างมีประสิทธิภาพ (HUKUM FAKAT) **กฎกติกามีดังนี้ 1. ต้องใช้ทรัพยากรอย่างฉลาด คือ ต้องพิจารณาอย่างรอบคอบ ถึงผลได้ผลเสียจากการใช้ทรัพยากรโดยคิดตามหลักการศาสนาอิสลาม และเมื่อใช้แล้วจะส่งผลอย่างไรในอนาคต 2. ประหยัดของที่หายาก หมายความว่าทรัพยากรใดที่มีน้อยหรือหายากก็ควรเก็บรักษาหรือสงวนเอาไว้ไม่ให้สูญหายไป ของบางอย่างถ้าอยู่ในสภาพที่พอจะใช้ได้ก็ควรจะใช้ต่อไป และใช้อย่างประหยัดอย่าฟุ่มเฟือย 3. หาวิธีฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมที่ไม่ดีหรือเสื่อมโทรมให้ดีขึ้น กล่าวคือ ทรัพยากรใดที่มีสภาพล่อแหลมต่อการสูญเปล่าหรือหมดไป ก็ควรที่จะซ่อมแซมหรือปรับปรุงให้อยู่ในสภาพที่ดีขึ้น 2.สภาชุมชนมีการบังคับใช้กฎกติกาของชุมชน 3.ชุมชนมีการขับเคลื่อนกิจกรรมผ่านสภาชุมชน

    1.มีกิจกรรมทำความสะอาดของทุกเดือน 2.มีการในความรู้ในเรื่องของการดูแล สิ่งแวดล้อมให้ ในแต่ละครัวเรือน 3.มีการปลูกต้นไม้ทดแทน ทรัพยากรที่เสียไป

    3 ติดตามสนับสนุนจาก สสส.สจรส.มอและพี้เลี้ยง
    ตัวชี้วัด : เข้าร่วมกิจกรรมกับ สจรส. ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด มีภาพถ่ายทุกกิจกรรม มีป้ายปลอดบุหรี่ที่สถานที่จัดประชุม ส่งรายงานภายในระยะเวลาที่กำหนด

    1.ส่งรายงานในระยะเวลาที่กำหนด 2.มีการติดป้ายปลอดบุหรีที่สถานที่ประชุม

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพเยาวชนให้มีบทบาทในการดูแลสิ่งแวดล้อม (2) เพื่อจัดตั้งเครือข่ายสภาชุมชนในการดูแลสิ่งแวดล้อม (3) ติดตามสนับสนุนจาก สสส.สจรส.มอและพี้เลี้ยง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ ปือมูดอบือราเป๊ะ พิทักษ์สิ่งแวดล้อม

    รหัสโครงการ 57-02562 รหัสสัญญา 58-00-0144 ระยะเวลาโครงการ 25 ตุลาคม 2014 - 25 พฤศจิกายน 2015

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

    มีการใช้แผนที่เดินดิน

    แผนที่เดินดินของชุมชนจำนวน 1 แผ่น

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

    มีการทำงานในรูปแบบคณะกรรมการ การทำงานเป็นทีมมากขึ้น

    ทีมสภาผู้นำ เมื่อประชุมจะบันทึกการประชุมทุกครั้ง

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    เกิดกลุ่มเยาวชนจิตอาสา

    บันทึกการประชุมและแนวทางการดำเนินงานในชุมชน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

    เยาวชนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์มากขึ้น มีการรวมตัวและเข้ากลุ่มกับผู้ใหญ่ผู้ปกครอง

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

    รู้จักการทำงานเป็นกลุ่มและฟังความคิดเห็นของคนอื่นมากขึ้น

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

    สามารถเข้าร่วมกิจกรรมกับครอบครัวได้

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

    มีการอนุรักษ์ ป่าและต้นน้ำ

    กลุ่มอนุรักษ์ป่าและต้นน้ำในชุมชน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

    มีมาตรการในการดูแลและพิทักษ์สิ่งแวดล้อมในชุมชน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

    ครือข่าย 4 เสาหลัก

    จากผลการดำเนินงานโครงการ มีการร่วมือกันทั้งภาคส่วนชุมชน อบต. ผู้นำชุมชน และทหาร

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

    มีการใช้แผนที่เดินดินและแผนที่ทรัพยากร

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    ปือมูดอบือราเป๊ะ พิทักษ์สิ่งแวดล้อม จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 57-02562

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายเจ๊ะอูมา ปิ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด