แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 3

รหัสโครงการ 57-02600
สัญญาเลขที่ 58-00-0125

ชื่อโครงการ พันธมิตรพิชิตขยะ บ้านบางหละจัดการตนเอง
รหัสโครงการ 57-02600 สัญญาเลขที่ 58-00-0125
ระยะเวลาตามสัญญา 20 ตุลาคม 2014 - 20 พฤศจิกายน 2015

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นายศักดิ์ชาย เรืองศรี
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม
วันที่ส่งรายงานถึง สสส.
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

เพื่อให้เกิดกระบวนการจัดการขยะอย่างเป็นระบบ

  1. จัดตั้งคณะทำงานเพื่อจัดการขยะ อย่างน้อย 1 ชุด
  2. มีมาตรการทางสังคมและกฏกติกา ทางสังคมอย่างถูกต้อง
  3. ครัวเรือนมีการจัดการขยะอย่างถูกต้อง
  4. ปริมาณขยะลดลง อย่างน้อยร้อยละ 20

2.

เพื่อส่งเสริมการสร้างงานสร้างรายได้

  1. มีการจัดตั้งกองทุนขยะและสิ่งแวดล้อม 1 กองทุน
  2. มีการนำขยะมาทำปุ๋ยใช้ในชมชน

3.

เพื่อสนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมเพื่อลดการบริโภคสุราและบุหรี่

  1. สมาชิกในครัวเรือนและชุมชนลดการดื่มสุราและสูบบุหรี่ ร้อยละ 10

4.

เพื่อประชุมติดตามโครงการอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่องเป็นสภาชุมชน

  1. คณะทำงานและเครือข่ายในชุมชนมีการประชุมวิเคราะห์และร่วมกันขับเคลื่อนโครงการตามวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดร่วมกันอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่องเป็นสภาชุมชน

5.

ติดตามสนับสนุนจาก สสส. สจรส.และพี่เลี้ยง

  1. จัดทำรายงานประจำงวด
  2. ประชุมชี้แจงโครงการ
  3. จัดทำรายงานประจำงวดส่ง
2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมหลัก : จัดทำรายงานสรุปโครงการi

1,000.00 0 ผลผลิต

คณะทำงานได้จัดทำเอกสารปิดโครงการ จัดทำเป็นรูปเล่มนำไปสู่การเผยแพร่ในชุมชนต่อไป


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

เอกสารนำไปสู่การเผยแพร่กับผู้สนใจ

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 2 ครั้ง

  • ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวรุ่งนภา ตุลา
  • เหรัญญิกโครงการ นางไกรวัน  บุญทวี
  • พี่เลี้ยงโครงการ นายศักดิ์ชาย  เรืองศรี
  • พี่เลี้ยง สสส. นางสาวกัญนภัส  จันทร์ทอง
0.00 0.00 3 4 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

การประชุมในครั้งนี้จึงเป็นการสรุปเอกสารที่เกี่ยวข้องทั้งหมด ได้แก่

  1. สัญญาโครงการ
  2. เอกสารการเงิน ใบเสร็จ ค่าใช้จ่ายต่างๆ, ใบลงทะเบียนแต่ละกิจกรรม
  3. ส.2 แบบติดตามการสนับสนุนโครงการ เซ็นรับรองมี 1 จุด
  4. ง.1 งวด 1 รายงานการเงินโครงการ เซ็นรับรองมี 3 จุด
  5. สมุดบัญชีธนาคาร ต้องอัปเดทปรับสมุดให้เป็นปัจจุบัน และถ่ายสำเนาทุกหน้าและเซ็นรับรองทุกหน้า
  6. ส.1 รายงานความก้าวหน้าโครงการ

ผู้รับผิดชอบโครงการ

  1. นางสาวรุ่งนภา ตุลา
  2. นางนิตยา บุญเทียม
1,000.00 1,000.00 3 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการรวบรวม ตรวจสอบรายละเอียดของกิจกรรมโครงการตลอดโครงการของโครงการพันธมิตรพิชิตขยะ บ้านบางหละจัดการตนเอง ได้สรุปเป็นข้อดังนี้

  1. มีการรวบรวมเอกสารรายงาน ตรวจสอบความถูกต้อง
  2. ตรวจสอบรายละเอียดขั้นตอนการดำเนินกิจกรรมตลอดโครงการ มีเอกสารที่ผิดพลาด และต้องแก้ไข จำนวน3 ฉบับ และได้แก้ไขให้ถูกต้องแล้ว
  3. สรุปผลการดำเนินโครงการเพื่อรายงานใน ง.2
  4. เตรียมข้อมูลเอกสาร หลักฐานการเงิน ใบสำคัญรับเงินใบลงชื่อเข้าร่วมกิจกรรม รวบรวมภาพถ่ายและรายงานให้พี่เลี้ยงทราบเพื่อให้พี่เลี้ยงตรวจสอบอีกครั้ง
  5. จัดทำรายงานส่ง สสส. เพื่อขออนุมัติงบประมาณส่วนที่เหลือ
  6. เตรียมรายละเอียดข้อมูลภาพรวมกิจกรรมโครงการ เพื่อประชาสัมพันธ์ เมื่อสิ่นสุดโครงการและการคืนข้อมูลให้ชุมชน ในเวทีคราวต่อไปในหมู่บ้าน
2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

มีโครงสร้างการจัดการโครงการ มีคณะทำงาน

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

ผ่านการเรียนรู้ มีศักยภาพในการบริหารจัดการโครงการได้

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

ดำเนินได้สำเร็จ

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

มีเจ้าหน้าที่การเงินดูแล

2.2 การใช้จ่ายเงิน

เป็นไปตามแผนที่ได้วางไว้

2.3 หลักฐานการเงิน

เอกสารถูกต้อง สามารถตรวจสอบได้

ผลรวม 0 0 0 0
ผลรวมทั้งหมด 0 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

ดำเนินการได้สำเร็จ เห็นควรอมุมัติ

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

เกิดคณะทำงานการจัดการขยะ มีการทำงานอย่างต่อเนื่อง ดำเนินโครงการโดยใช้ข้อมูลมาจัดการ เช่น การสำรวจเส้นทางขยะ ทำให้รู้ต้นทาง ปลายทางขยะ / ชุมชนผ่านการวิเคาะห์เรียนรู้ซึ่งกันและกัน ทำให้มีสุขภาวะทางปัญญามีความตระหนักต่อปัญหา / ร่วมเรียนรู้การจัดการขยะ สร้างแนวทางร่วมกัน เช่น จุดคัดแยกขยะ กิจกรรม Big Cleaning Day การจัดการหน้าบ้านตนเองให้สวยงามและสะอาด

นอกจากนี้ชุมชนพัฒนาเป็นกองทุนขยะและสิ่งแวดล้อมซึ่งเป็นการเพิ่มรายได้ให้กับครัวเรือน และลดค่าช้จ่าย จากการทำปุ๋ยหมัก เลี้ยงปลา รวมทั้งใส่ใจปัญหาสุขภาพ ออกมาตราการ กฏ กติกาทางสังคม

ความสำเร็จของชุมชนเกิดจากความร่วมมือร่วมใจของคนในชุมชน มีการเรียนรู้พัฒนาตนเอง สร้างกลไกขับเคลื่อนชุมชน สู่สุขภาวะทางกาย ชุมชนมีสุขภาพที่ดีช่วยกันจัดกิจกรรมอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดีไม่มีขยะ / เกิดสุขภาวะทางปัญญา ด้วยการเรียนรู้มีการใช้ข้อมูลนำมาสู่การตัดสินใจร่วมกัน ในการแก้ปัญหาของชุมชน เกิดความสามัคคี / สุขภาวะทางจิต และสังคม ร่วมมือจัดกิจกรรม สนุกสนาน สร้างความสนิทสนม มีความสัมพันธ์มีอยู่อย่างสงบสุขน่าอยู่

สร้างรายงานโดย Yuttipong Kaewtong