แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 1

รหัสโครงการ 58-03900
สัญญาเลขที่ 58-00-2196

ชื่อโครงการ มัคคุเทศน้อยแห่งเขาขุนพนม
รหัสโครงการ 58-03900 สัญญาเลขที่ 58-00-2196
ระยะเวลาตามสัญญา 15 กันยายน 2015 - 15 ตุลาคม 2016

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นางสุดา ไพศาล
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2 -
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 9 พฤศจิกายน 2015
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 14 กุมภาพันธ์ 2016
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นายประสิทธิ์ ชูพันธ์ หมู้ที่4 ตำบลบ้านเกาะอำเภอพรหมคีรีจังหวัดนครศรีธรรมราช -
2 นางพรทิพย์อินทรบุคร 75 หมู่ที่ 4 ตำบลบ้านเกาะอำเภอพรหมคีรีจังหวัดนครศรีธรรมราช 093 7352 168
3 นางแสงเดือนกาญจนอุดม 81/ 2หมู้ที่4 ตำบลบ้านเกาะอำเภอพรหมคีรีจังหวัดนครศรีธรรมราช 087 8963 976

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

เพื่อพัฒนาศักยภาพชุมชนให้เกิดสภาผู้นำชุมชนที่เข้มแข็ง

  1. มีการประชุมทุกเดือน
  2. ในการประชุมแต่ละครั้งมีผู้เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
  3. ในการประชุมแต่ละครั้งนอกจากมีการพูดคุยเรื่องโครงการแล้วยังมีการพูดคุยแแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องอื่นๆด้วย
  4. การเข้าร่วมกิจกรรมของชุมชนทุกครั้งไม่รวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละ 90

2.

เพื่อให้เกิดแกนนำเยาวชนต้นแบบในการสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น

  1. เยาวชนได้ร่วมเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชุมชนและสามารถเล่าต่อได้ร้อยละ90ของเยาวชนที่ร่วมกิจกรรม
  2. เยาวชนจัดทำสื่อข้อมูลประวัติศาสตร์ชุมชนที่สามารถเผยแพร่ได้
  3. เยาวชนสามารถร่วมวางแผนทำตารางฝึกปฏิบัติการเป็นมัคคุเทศน้อยได้
  4. มีมัคคุเทศที่เป็นเยาวชนในชุมชนอย่างน้อย 10 คน
  5. เยาวชนที่ไปมั่วสุมดื่มน้ำกระท่อมลดลงร้อยละ80(12คนจาก 15 คน) เยาวชนที่เป็นแกนนำในการทำกิจกรรมของชุมชนอย่างน้อย 10 คน

3.

 

 

4.

 

 

5.

เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ

  1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด
  2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม
  3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม
  4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด
2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมหลัก : พัฒนาศักยภาพชุมชน สภาผู้นำชุมชน ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จำนวน 10 ครั้งi

10,000.00 20 ผลผลิต
  1. สภาผู้นำชุมชน จำนวน 20 คน รับทราบเรื่องการดำเนินกิจกรรมโครงการมัคคุเทศก์น้อยแห่งเขาขุนพนม ทราบถึงวัตถุประสงค์ ที่มาของงบประมาณกิจกรรมต่างๆที่ต้องช่วยกันดำเนินการ
  2. สภาผู้นำจำนวน 20 คนได้ร่วมแลกเปลี่ยนประชุมร่วมกัน
  3. สภาผู้นำมีการวางแผนในการดำเนินกิจกรรมและสรุปประเมินโตรงการ
  4. สภาผู้นำได้ร่วมพูดคุยปัญหาต่างๆของชนร่วมวางแผนแก้ไข

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

มีแผนการดำเนินกิจกรรม มีการมอบหมายงานที่ชัดเจน มีการการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ พูดคุยปัญหาในชุมชน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 10 ครั้ง

ผู้นำชุมชน อบต. ผู้ใหญ่ ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านเข้าร่วมประชุมจำนวน 20 คน

1,000.00 1,000.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผลผลิต
  1. สภาผู้นำชุมชน จำนวน 20 คน รับทราบเรื่องการดำเนินกิจกรรมโครงการมัคคุเทศก์น้อยแห่งเขาขุนพนม ให้ทราบถึงวัตถุประสงค์ ที่มาของงบประมาณกิจกรรมต่างๆที่ต้องช่วยกันดำเนินการ
  2. แนะนำ ประธาน เลขานุการ เหรัญญัก ปฎิคม กิจกรรม ประชาสัมพันธ์ เเละคณะกรรม และร่วมกันรับรู้รับทราบการวางแผนดำเนินกิจกรรมกิจกรรมตามโครงการต่อไปตามที่กำหนดไว้
  • ผลลัพธ์
  1. สภาผู้นำทราบวัตถุประสงค์ งบประมาณ กิจกรรมการดำเนินงาน
  2. ได้ชุดคณะทำงาน 1 ชุดคือ
  • นายประสิทธิ์ ชูพันธ์ เป็นประธาน
  • นางเเสงเดือน กาญจนอุดม เป็นเลขานุการ
  • นางพรทิพย์ อินทรบุตร เป็นการเงิน
  • นายชะเอม โมราศิลป์ เป็นปฏิคม
  • นายบูรณะ อินทรบุตร เป็นประชาสัมพันธ์
  • นายอนันต์ จุลพันธ์ เป็นผู้ตรวจสอบ
  • และ คณะกรรมการ ร่วมอีก 14 คน
  • ทุกคนทราบว่าจะต้องมาประชุมร่วมกันทุกเดือนเพื่อร่วมกันวางแผนการจัดกิจกรรมตลอดโครงการและร่วมพูดุคยปัญหาต่างๆและหาแนวทางแก้ไข

สภาผู้นำชุมชน

1,000.00 1,000.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผลผลิต
  1. สภาผู้นำจำนวน 20 คนได้ร่วมแลกเปลี่ยนประชุมร่วมกัน
  2. มีการวางแผนในการดำเนินกิจกรรมและสรุปประเมินโตรงการได้
  3. สภาผู้นำรับทราบภาระกิจที่จะดำเนินการในกิจกรรมต่อไป
  4. สภาผู้นำได้ร่วมพูดคุยปัญหาต่างๆของชนร่วมวางแผนแก้ไข
  • ผลลัพธ์ มีแผนการดำเนินกิจกรรม มีการมอบหมายงานที่ชัดเจน มีการการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ พูดคุยปัญหา การดูแลเด็กเยาวชนในชุมชน

คณะกรรมการสภาชุมชน 

1,000.00 1,000.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผลผลิต คณะกรรมการสภาผู้นำชุมชนจำนวน 20 คนร่วมประชุมรับทราบความก้าวหน้าในการดำเนินกิจกรรมร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการดำเนินกิจกรรมวางแผนในการดำเนินกิจกรรมและประเมินกิจกรรมที่ผ่านมา วางแผนการจัดกืจกรรมสำรวจข้อมูลของชุมชน โดยสอบถามข้อมูลจากคนรุ่นเก่า ให้ทีมงานคัดเลือกคนที่จะทำการสัมภาษณ์เก็บข้อมูล
  • ผลลัพธ์ มีแผนการออกสำรวจปราชญ์ชุมชนคือ
  1. นายคำนึง
  2. นายกระบวน
  3. นายมงคล
  4. นางประมูล
  5. นายสมเดช
  6. นายชะเอม
  7. นายบูรณะ
  8. นายดิเรก
  9. นายเฉลียว
  10. นายประสิทธิ์

ผู้นำชุมชน

1,000.00 1,000.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผลผลิต มีจำนวนสมาชิกเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 20 คน ร่วมพูดคุยผลการดำเนินกิจกรรมในเวลา 1 เดือนที่ผ่านมา สรุปรายจ่ายของโครงการ พูดคุยปัญหาราคาผลผลิตทางด้านการเกษตรตกต่ำ หาแนวทางในประชาชนลดรายจ่ายที่ไม่จำเป็นเช่น ปลูกผักกินเอง ลดต้นทุนการผลิต ใช้ปุ๋ยหมักแทนปุ๋ยเคมีบ้าง มอบหมายผู้ใหญ่พูดคุยกับชาวบ้านในวันประชุมประจำเดือนของหมู่บ้าน
  • ผลลัพธ์ ผู้เข้าร่วมประชุม รับฟังการชี้แจงและรายงาความก้าวหน้าการปฏิบัติงานตามโครงการด้วยความสนใจ และเสนอความคิดว่า ขอให้ผู้รับผิดชอบโครงการรายงานการใช้จ่ายเงินเป็นลายลักษณ์อักษร ผู้ใหญ์ประสิทธ์ ชูพันธ์ ในฐานะผู้รับผิดชอบโครงการรับปากและแนะนำว่าขอให้เข้าไปดูใน เว็ปคนใต้สร้างสุขโครงการมัคคุเทศน้อยแห่งเขาขุนพนมได้เลยแล้วจำเห็นและทราบทุกเรื่อง และวันนั้นก็เข้าให้ดูเป็นตัวอย่าง ได้รับความสนใจเป็นอย่างมาก

วัยทำงาน 20 คน

1,000.00 1,000.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผลผลิตมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นคณะกรรมการสภาผู้นำชุมชน จำนวน 20 คน คณะกรรมการสภาผู้นำชุมชนได้รับทราบความก้าวหน้า และปัญหาในการดำเนินกิจกรรมโครงการมัคคุเทศก์น้อยแห่งเขาขุนพนม และร่วมกันเสนอแนวทางในการแก้ปัญหา และที่น่ายินดีมากๆ สำหรับคณะทำงาน โครงการก็คือวันนี้ได้รับเกียรติจากสมาชิกเทศบาลพรหมโลกมาร่วมประชุมด้วยในฐานะตัวแทนขององค์กรภายนอก

  • ผลลัพธ์ คณะกรรมการมีความพร้อมในการดำเนินกิจกกรมเพื่อให้กิจกรรมดำเนินไปตามโครงการอย่างต่อเนื่อง

วัยทำงาน  20  คน

1,000.00 1,000.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต คณะกรรมการจำนวน 20 คน เข้าร่วมประชุมพูดคุยความก้าวหน้าในการดำเนินกิจกรรมพบปัญหาอุปสรรค

ผลลัพธ์

  • คณะกรรมการรับทราบบทบาทหน้าที่ในการจัดกิจกรรมครั้งต่อไปและวางแผนแก้ไขปัญหาอุปสรรค

  • สร้างการมีส่วนร่วมของสภาผู้นำในการทำงานร่วมกัน

วัยทำงาน 20 คน

1,000.00 1,000.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 20 คน สมาชิกรับทราบข้อมูลความก้าวหน้าในการดำเนินการ และงบประมาณที่ได้รับ และงบคงเหลือ สมาชิกให้กำลังใจกับคณะทำงาน และขอให้ประสบความสำเร็จกับชุมชนของเรา

วัยทำงาน 20คน

1,000.00 1,000.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผลผลิต มีผู้เข้าร่วมการประชุม จำนวน 20 คน คณะกรรมรับทราบความก้าวหน้าในการดำเนินงาน และ งบประมาณในการใช้จ่ายในการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ และให้กำลังใจให้ประสบความสำเร็จให้เกิดประโยชน์ต่อเยาวชนชุมชนให้มากที่สุด

  • ผลลัพธ์ คณะกรรมการรับทราบข้อมูลการใช้จ่ายเงินในโครงการตรงกัน และร่วมกันรับผิดชอบภาระกิจในการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป

วัยทำงาน 20 คน

1,000.00 1,000.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 20 คน ผู้ใหญ่ประสิทธิ์ ชีแจงและรายงายความก้าวหน้าด้านการจัดกิจกรรม ด้านงบประมาณที่ได้รับ จ่ายไป และคงเหลือให้สมาชิกรับทราบ สมาชิกรับทราบข้อมูลการดำเนินทั้งหมดและให้กำลังใจ และขอบคุณคณะทำงาน พร้อมทั้งขอให้ทำงานอันเกิดประโยชน์มากที่สุดเพื่อเยาวชน และชุมชน

  • วัยทำงาน 20 คน
1,000.00 1,000.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะกรรมการ จำนวน 20 คนร่วมประชุมครั้งที่ 10 ร่วมพูดคุยวางแผนการจัดกิจกรรมในครั้งต่อไปคือการคัดเลือกเยาวชนต้นแบบในวันที่18 สิงหาคม2559
มอบหมายภาระกิจ ในการจัดกิจรรม รับผิดชอบเรื่องการลงทะเบียน การจัดเตรียมอาหาร และการประชาสัมพันธ์ ให้ตัวแทนครัวเรือนรับทราบว่ามีการคัดเลือกเยาวชนต้นแบบ

กิจกรรมหลัก : จัดเวทีชี้แจงให้ชุมชนได้รับทราบวัตถุประสงค์งบประมาณการจัดกิจกรรม โดยสภาผู้นำชุมชนi

19,500.00 150 ผลผลิต

จำนวนตัวแทนครัวเรือนจำนวน 157 คนร่วมเวทีแจงชี้โครงการโดยคณะทำงาน และพี่เลี้ยงโครงการ


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ผู้ร่วมกิจกรรม รับทราบวัตถุประสงค์ของโครงการและงบประมาณที่ได้รับการสนับสนุนมาจัดกิจกรรมเพื่อชุมชนและได้ร่วมกันตรวจสอบมีความพร้อมที่จะร่วมทำกิจกรรมเพื่อรับผล ประโยชน์ด้วยกันทั้งชุมชน มีทีมสภาผู้นำชุมชนจำนวน 1 ทีม มีสมาชิก จำนวน 20 คน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

วัยเรียน 30 คน วัยทำงาน 115 คน วัยผู้สูงอายุ 12 คน

19,500.00 19,000.00 150 157 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผลผลิต 1. จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 157 คนร่วมเวทีแจงชี้โครงการโดยคณะทำงาน และพี่เลี้ยงโครงการ
  • ผลลัพธ์
  1. ผู้ร่วมกิจกรรม รับทราบวัตถุประสงค์ของโครงการและงบประมาณที่ได้รับการสนับสนุนมาจัดกิจกรรมเพื่อชุมชนและได้ร่วมกันตรวจสอบมีความพร้อมที่จะร่วมทำกิจกรรมเพื่อรับผล ประโยชน์ด้วยกันทั้งชุมชน
  2. มีทีมสภาผู้นำชุมชนจำนวน 1 ทีม มีสมาชิก จำนวน 20 คน

กิจกรรมหลัก : ร่วมกันสร้างเครื่องมือ สำรวจข้อมูลประวัติศาสตร์ชุมชนพร้อมทำความเข้าใจเครื่องมือi

6,500.00 50 ผลผลิต

กลุ่มเยาวชนและคณะกรรมการสภาจำนวน 50 คน ร่วมกันสร้างเครื่องมือในการสำรวจข้อมูล เพื่อฝึกเยาวชน ในการจัดทำข้อมูล เพื่อเป็นเครื่องมือในการสำรวจ ประวัติชุมชน ตำนานของชุมชน ประเพณีต่างๆของชุมชน โดยให้เยาวชนได้ร่วมเรียนรู้จากการสัมภาษณ์คนรุ่นเก่าที่สามารถให้ข้อมูลได้เพื่อนำมาเรียบเรียง จัดทำเป็นสื่อเผยแพร่ให้นักท่องเที่ยวที่เข้ามาท่องเที่ยวในชุมชนได้รับทราบ ร่วมกันกำหนดบุคคลที่จะไปสัมภาษณ์สอบถามข้อมูล แบ่งกลุ่มเยาวชนออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มที่ 1. กลุ่มนอกไร่จำนวน 10 คน กลุ่มที่ 2.กลุ่มหน้าเขาขุนพนมจำนวน 10 คน กลุ่มที่ 3.กลุ่มนาเสนจำนวน 10 คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

มีเครื่องมือในการสัมภาษณ์แบ่งกลุ่มการสัมภาษณ์ชัดเจน มีรายชื่อ ปราชญ์ชุมชนที่ออกสัมภาษณ์ทำให้เยาวชนและสภาผู้นำชุมชนเกิดความสัมพันธ์ที่ดีขึ้น เยาวชนเห็นคุณค่าของตนเองเกิดความตระหนักมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาของครอบครัวและชุมชน มีข้อมูลในการวางแผนปฎิบัติการ

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

เยาวชน คณะทำงาน

6,500.00 6,000.00 50 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผลผลิต กลุ่มเยาวชนและคณะกรรมการสภาจำนวน 50 คน ร่วมกันสร้างเครื่องมือในการสำรวจข้อมูล เพื่อฝึกเยาวชน ในการจัดทำข้อมูล เพื่อเป็นเครื่องมือในการสำรวจ ประวัติชุมชน ตำนานของชุมชน ประเพณีต่างๆของชุมชน โดยให้เยาวชนได้ร่วมเรียนรู้จากการสัมภาษณ์คนรุ่นเก่าที่สามารถให้ข้อมูลได้เพื่อนำมาเรียบเรียง จัดทำเป็นสื่อเผยแพร่ให้นักท่องเที่ยวที่เข้ามาท่องเที่ยวในชุมชนได้รับทราบ ร่วมกันกำหนดบุคคลที่จะไปสัมภาษณ์สอบถามข้อมูล แบ่งกลุ่มเยาวชนออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มที่ 1. กลุ่มนอกไร่จำนวน 10 คน กลุ่มที่ 2.กลุ่มหน้าเขาขุนพนมจำนวน 10 คน
    กลุ่มที่ 3.กลุ่มนาเสนจำนวน 10 คน

โดยมีการกำหนดบุคคลที่จะสัมภาษณ์ดังนี้

  1. นายดิเรก ภู่ภูริธรรม
  2. นายกระบวน อุบลจันทร์
  3. นายคำนึง อุบลจันทร
  4. นายสมเดช โมราศิลป์
  5. ทวีศักดิ์ กามูจันดีฯลฯ
  • ผลลัพธ์ มีครื่องมือในการสัมภาษณ์แบ่งกลุ่มการสัมภาษณ์ชัดเจน มีรายชื่อ ปราชญ์ชุมชนที่ออกสัมภาษณ์ทำให้เยาวชนและสภาผู้นำชุมชนเกิดความสัมพันธ์ที่ดีขึ้น เยาวชนเห็นคุณค่าของตนเองเกิดความตระหนักมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาของครอบครัวและชุมชน มีข้อมูลในการวางแผนปฎิบัติการ

กิจกรรมหลัก : ร่วมกันสำรวจข้อมูล โดยเยาวชนและสภาผู้นำชุมชนi

7,000.00 50 ผลผลิต

เยาวชนและผู้นำชุมชนจำนวน 50 คน ออกสำรวจข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ปราชญ์ชุมชนสัมภาษณ์ได้ไม่ครบตามที่กำหนดไว้จึงมีการนัดหมายกันอีกครั้งหนึ่งในวันต่อไป สัมภาษณ์ได้จำนวน 6 คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

เยาวชนและสภาผู้นำแบ่งกลุ่มสัมภาษณ์ข้อมูลจากคนรุ่นเก่าที่มีข้อมูลว่าน่าจะเล่าตำนานและประวัติความเป็นมาของชุมชนเพื่อนำข้อมูลมาประมวล รวบรวมเป็นเอกสารตำนานชุมชนที่น่าเชื่อถือได้ การสัมภาษณ์ ยังไม่ครบตามเป้าหมาย และนัดออกสัมภาษณ์ใหม่ รายชื่อที่สัมภาษณ์1. นายคำนึง2. นายกระบวน 3. นายมงคล4. นางประมูล5. นายสมเดช6. นายชะเอม

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

  • เยาวชนวัยเรียนและวัยทำงาน
7,000.00 7,000.00 50 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผลผลิต เยาวชนและผู้นำชุมชนจำนวน 50 คน ออกสำรวจข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ตั้งแต่เวลา 10.00 น และสัมภาษณ์ได้ไม่ครบตามที่กำหนดไว้จึงมีการนัดหมายกันอีกครั้งหนึ่งในวันต่อไปเป็นเวลาหลังเยาวชนเลิกเรียนเวลาประมาณ 17.00สำหรับในวันที่ 13 ธันวาคม 58 สำรวจได้ 6 คน ดังนี้ 1. นายคำนึง2. นายกระบวน 3. นายมงคล4. นางประมูล5. นายสมเดช6. นายชะเอมต่อมานัดหมายกันในวันที่ 16 ธันวาคม 58 เวลา 17.00 ออกสัมภาษณ์ อีก 4 คน ดังนี้ 1. นายบูรณะ2. นายดิเรก3. นายเฉลียว4. นายประสิทธิ์
  • ผลลัพธ์ เยาวชนและสภาผู้นำแบ่งกลุ่มสัมภาษณ์ข้อมูลจากคนรุ่นเก่าที่มีข้อมูลว่าน่าจะเล่าตำนานและประวัติความเป็นมาของชุมชนเพื่อนำข้อมูลมาประมวล รวบรวมเป็นเอกสารตำนานชุมชนที่น่าเชื่อถือได้ การสัมภาษณ์ ยังไม่ครบตามเป้าหมาย และนัดออกสัมภาษณ์ใหม่

กิจกรรมหลัก : นำข้อมูลมาสรุปเพื่อเตรียมเป็นข้อมูลในการฝึกเป็นมัคคุเทศi

8,540.00 52 ผลผลิต

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 52 คนได้รับความรู้เรื่องการเรียบเรียงข้อมูลเชิงวิชาการนำข้อมูลมาสรุปเพื่อเตรียมเป็นข้อมูลในการฝึกเป็นมัคคุเทศ


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ได้เอกสารที่มีความสมบูรณ์ ร้อยละประมาณ 80จำนวน 1 เรื่อง คือสถานที่ท่องเที่ยว ประวัติความเป็นมาชุมชนเขาขุนพนม วิถีชีวิตของชุมชน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

เด็กวัยเรียน  วัยทำงาน วิทยากร

8,540.00 8,540.00 52 52 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผลผลิต
  1. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 52 คน
  2. ผู้เข้าร่วมประชุมได้รับความรู้เรื่องการเรียบเรียงข้อมูลเชิงวิชาการ
  3. ได้เอกสารที่มีความสมบูรณ์ ร้อยละประมาณ 80 จำนวน 1 เรื่อง คือสถานที่ท่องเที่ยว ประวัติความเป็นมาชุมชนเขาขุนพนม วิถีชีวิตของชุมชน
  • ผลลัพธ์
  1. ผู้เข้าร่วมประชุมมีความเข้าใจและมีความกระตือรื้อร้นในการทำกิจกรรม
  2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีข้อมูลจากการสัมภาษณ์ในเรื่องสถานที่ท่องเที่ยว ประวัติ วิถีชีวิตมากขึ้น
  3. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรุ้ในการเขียนเรียบเรียงข้อมูลเชิงวิชาการมากขึ้น
  4. เยาวชนสามารถนำข้อมูลไปถ่ายทอดได้

กิจกรรมหลัก : ร่วมกันวางแผน ออกแบบการฝึกเป็นมัคคุเทศ โดยพี่สอนน้อง ทำตารางการฝึกปฏิบ้ติi

9,100.00 55 ผลผลิต

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 55 คนเข้าร่วมกิจกรรมรับฟังและร่วมกันวางแผน ออกแบบการฝึกเป็นมัคคุเทศ โดยพี่สอนน้อง ทำตารางการฝึกปฏิบ้ติ


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ผู้เข้าร่วมมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันและได้ตารางฝึกปฏิบัติมัคคุเทศก์แห่งเขาขุนพนม 1 ชุด

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

เด็กวัยเรียน วัยทำงาน 

9,100.00 9,100.00 55 55 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผลผลิต ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 55 คนเดินทางมาเข้าร่วมกิจกรรมและลงทะเบียน ณ เขาขุนพนมโฮมสเตย์ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมรับฟังและร่วมกันแสดงความคิดเห็นในการวางแผนสร้างตารางฝึกปฏิบัติ
  • ผลลัพธ์ ผู้เข้าร่วมมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันและได้ตารางฝึกปฏิบัติมัคคุเทศก์แห่งเขาขุนพนม 1 ชุด

กิจกรรมหลัก : พี่สอนน้องเป็นมัคคุเทศน้อย(ฝึกปฏิบัติจริง)i

35,500.00 35 ผลผลิต

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมลงทะเบียนจำนวน 35 คน รวมทั้งวิทยากร ร่วมทำกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์ เรียนรู้ภาวะการเป็นผู้นำและการเป็นมัคคุเทศก์ที่ดี หลักการแนะนำตัว และฝึกปฏิบัติ


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

เยาวชนไดัรับการฝึกการเป็นมัคคุเทศก์

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 10 ครั้ง

วัยเรียน วัยทำงาน

3,500.00 3,500.00 35 35 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผลผลิต ผู้เข้าร่วมกิจกรรมลงทะเบียนจำนวน 35 คน รวมทั้งวิทยากร ณ เขาขุนพนมโฮมสเตย์ ร่วมทำกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์ เรียนรู้ภาวะการเป็นผู้นำและการเป็นมัคคุเทศก์ที่ดี หลักการแนะนำตัว และลองฝึกปฏิบัติ
  • ผลลัพธ์ ผู้เข้าร่วมการอบรมมีความสัมพันธ์ที่ดีและแน่นเฟ้นมากยิ่งขึ้น กล้าคิด กล้าพูด กล้าแสดงออก และมีความตั้งใจในการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติเป็นอย่างดี

วัยเรียน วัยทำงาน 

3,500.00 3,500.00 35 35 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผลผลิต มีผู้ลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรมจำนาน 35 คน  รวมทั้งวิทยากร ณ เขาขุนพนมโฮมสเตย์ จัดกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์ ทบทวนการฝึกปฏิบัติ เรียนรู้การสร้างบุคลิกภาพ
  • ผลลัพธ์ ผู้เข้าร่วมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติมีความกระตือรื้อร้นอยากมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรม เช่น อยากออกไปแสดง อยากออกเป็นไปพูด อยากออกไปนำเสนอ มากขึ้น

วัยเรียน
วัยทำงาน 

3,500.00 3,500.00 35 35 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผลผลิต มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 35 คน ร่วมกันทบทวนการพูดคุยการแนะนำตัวและการพัฒนาบุคลิกภาพ การฝึกปฏิบัติในการเป็นมัคุเทศ
  • ผลลัพธ์ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมเป็นอย่างดี และมีความรู้ในเรื่องต่างๆสามารถนำไปปรับใช้ได้เป็นอย่างดี มีความกระตือรือร้นและมีความตั้งใจ ซึ่งรับทราบได้จากแบบประเมินที่ทำการประเมินจากกิจกรรมฝึกปฏิบัติในแต่ละครั้ง

วัยเรียน  วัยทำงาน 

3,500.00 3,500.00 35 35 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผลผลิต มีจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 35 คน  ลงพื้นที่บ้านปราชญ์ชุมชน ร่วมการฝึกปฏิบัติการเป็นมัคุเทศ
  • ผลลัพธ์ ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ให้ความสนใจ และมีความกระตือรืนร้อ ใคร่รู้ และแสดงออกให้เห็นว่ามีความรักในบ้านเกิดของตนเองมากขึ้น ซึ่งสังเกตได้จากการซักถามข้อสงสัย ยกตัวอย่างเช่น 1. อาจารย์พอจะทราบไหมค่ะว่าตระกูลที่เข้ามาอยู่ในชุมชนเขาพนมเป็นตระกูลแรกคือตระกูลใด2.  สังเกตได้จากที่ใดที่บ่งบอกว่าชุมชนเขาขุนพนมเป็นเมืองหน้าด่านมาก่อน เป็นต้น

วัยเรียนวัยทำงาน

3,500.00 3,500.00 35 35 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผลผลิต มีผู้เข้าร่วมการทำกิจกรรมจำนวน 35 คน ร่วมเรียนรู้ประวัติพระเจ้าตากสิน ฝึกการพูดคุย การเป็นมัคคุเทศก์
  • ผลลัพธ์ ผู้เข้าร่วมการทำกิจกรรมมีความกระตือรื้อร้น มาตั้งแต่ยังไม่ถึงเวลานัดหมาย มานั่งรอ ในขณะที่รอ คุณบูรณะ อินทรบุตร ก็ได้พูดคุยกับเยาวชนในเรื่องเกี่ยวกับสิ่งเสพติดทั้งหลายเพื่อให้เยาวชนเปิดใจทั้งคนที่เคยลอง ไม่เคยลอง และกำลังเสพอยู่ เยาวชนเหล่านั้นให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีและเกิดความรู้แก่ผู้อื่นด้วย จนกระทั่งผู้เข้าร่วมกิจกรรมมาครบและถึงเวลาที่นัดหมาย ก็รวมกลุ่มชี้แจง ทบทวนกิจกรรมโดยคุณแสงเดือน กาญจนอุดม ก็ออกเดินทางโดยรถจักรยาน รถจักรยานยนต์ และรถจักรยานยนต์พ่วงข้าง สร้างความสนุกสนานให้กับเยาวชนเหล่านี้เป็นอันมาก จากการสังเกตเยาวชนมีความสนิทสนมกันมากขึ้น และผู้ใหญ่กับเด็กมีช่องว่างระหว่างวัยระหว่างความคิดน้อยลง เยาวชนเริ่มเปิดใจและต้องการใคร่รู้ในเรื่องชุมชนของตนเองมากขึ้นเกือบทั้งหมด จะมีอยู่บ้างก็ถือว่าเล็กน้อยมาก ซึ่งเป็นธรรมดาของการทำงาน

วัยทำงาน
วัยเรียน 

3,500.00 3,500.00 35 35 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผลผลิต มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 35 คนร่วมเรียนรู้และฝึกปฏิบัติการเป็นมัคคุเทศก์
  • ผลลัพธ์ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมโดยเฉพาะอย่างยิ่งเยาวชน มีความกระตือรือร้นอยากเรียนรู้และขอลองปฏิบัติจริงของเล่นโบราณ มีความสนุกสนานกันมาก มีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน มีการซักถามปราชญ์ถึงวิธีการประดิษฐ์ และทำไมจึงอยากจะอนุรักษ์สิ่งเหล่านี้ไว้ปราชญ์ให้ความร่วมมือในการตอบคำถามเป็นอย่างดี และเต็มใจที่จะเป็นฐานเรียนรู้ให้กับชุมชน ให้บุคคลภายนอกมาเยี่ยมชมได้ เยาวชนได้ของเล่นติดมือกลับบ้านด้วยและสามารถประดิษฐ์เองได้อย่างน้อยคนละ 1 อย่าง

วัยทำงาน 6 คน วัยเรียน  30 คน

3,500.00 3,500.00 35 36 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผลผลิตมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 36 คน แบ่งเป็น วัยทำงาน 6 คนวัยเรียน 30 คน ทำกิจกรรมการฝึกปฏิบัติการเป็นมัคคุเทศก์
  • ผลลัพธ์ผู้เข้าร่วมกิจกรรมโดยเฉพาะอย่างยิ่งเยาวชน มีความกระตือรือร้นอยากเรียนรู้ มีความตื่นเต้นทุกครั้งที่ได้ออกไปเรียนรู้นอกพื้นที่ มีความสนุกสนานกันมาก มีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน มีการซักถามปราชญ์ทั้ง 2 เรื่อง ปราชญ์ทั้งสองท่านให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี และเต็มใจที่จะเป็นฐานเรียนรู้ให้กับชุมชน ให้บุคคลภายนอกมาเยี่ยมชมได้เยาวชนน่าจะอธิบายขั้นตอนการเลี้ยงและการเก็บน้ำผึ้งได้เป็นอย่างดี และสามารถบอกวิธีการผสมเกสรสละได้

วัยทำงาน 5 คน  วัยเรียน 30 คน

3,500.00 3,500.00 35 35 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผลผลิต มีผู้เข้าร่วมจำนวน 40 คน โดยแบ่งเป็น วัยทำงาน วัยเรียน นายกอบต.บ้านเกาะนายกเทศบาลตำบลพรหมโลกนักพัฒนาชุมชนอำเภอพรหมคีรีเจ้าหน้าที่จากเทศบาลตำบลพรหมโลก
  • ผลลัพธ์ ในการจัดกิจกรมครั้งนี้ได้รับการตอบรับจากหน่วยงานและองค์กรมากขึ้นและเป็นที่ยอมรับของชาวบ้าน องค์กรต่างๆมากขึ้นตามลำดับ จะเห็นได้จากตอนนี้เริ่มมีองค์กรต่างๆเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกกรมมากขึ้นกว่าทุกครั้งที่ผ่าน ส่วนเยาวชนกล้าแสดงออก กล้าพูดมากขึ้น และมีจิตอาสาพยายามทำความเข้าใจ สนใจ ในสิ่งที่วิทยากรถ่ายทอดให้และในวันนี้ได้มีมัคคุเทศจากจังหวัดกระบี่มาให้ความรู้และเล่าประสบการณ์ในการเป็นมัคคุเทศที่ดีให้ผู้เข้าร่วมฟัง ทุกคนฟังด้วยความสนใจ และมุ่งมั่นที่จะเป็นมัคคุเทศให้ได้ พี่เลี้ยงทดสอบน้องๆ โดยตั้งประเด็นคำถามเรื่องมัคคุเทศที่ดี ทุกคนสามารถตอบได้และมีความกระตือรืนร้นที่จะตอบคำถามนั้น
  • วัยเรียน 30 คน
  • วัยทำงาน 7 คน
3,500.00 3,500.00 35 37 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 37 คน แบ่ง เป็นวัยเรียน 30 คนและ วัยทำงาน 7 คนได้ลงพื้นที่สำรวจถ้ำขุนพนม และเกิดความรู้เรื่องหิน การกัดกร่อน และ งความเชื่อตามสมัยโบราณ เมื่อเข้าสำรวจเสร็จแล้วก็นำข้อมูลต่าง ๆ มาสรุปเป็นชุดความรู้ เพื่อเผยแพร่ให้กับนักท่องเที่ยว

  • วัยเรียน 30 คน

  • วัยทำงาน 5 คน

4,000.00 4,000.00 35 35 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผลผลิต มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 35 คน ประกอบด้วย วัยเรียน 30 คนวัยทำงาน 5 คน มัคคุเทศที่เข้าร่วมโครงการได้นำเสนอข้อมูลจากการสำรวจ โดยแบ่งกลุ่ม ออกเป็น 5 กลุ่ม นำเสนอเรื่องราวโดยมีปราชญ์ชุมชนคอยให้คำแนะนำ เพิ่มเติมข้อมูลที่ได้มีการเก็บรวบรวม ซึ่งจากกิจกรรมในครั้งนี้เป็นการฝึกให้เด็ก เยาวชนได้มีการแสดงออก กล้าพูก นำเสนอในที่ประชุม

กิจกรรมหลัก : การประชุมร่วมกับ สสส. สจรส.ม.อ. และพี่เลี้ยงผู้ติดตามi

10,000.00 2 ผลผลิต
  1. คณะทำงาน จำนวน 2 คนร่วมรับฟังการชี้แจงวัตถุประสงค์ของ สสส ขั้นตอนการลงกิจกรรมของโครงการ การเตรียมเครื่องมือในการทำกิจกรรม การจัดทำรายงานการเงินเพื่อเป็นหลัดฐานการเบิกจ่ายในแต่ละกิจกรรม เรียนรู้เทคนิคการถ่านภาพประกอบกิจกรรม
  2. คณะทำงานจำนวน 3 คน เข้าใจการเขียนรายงานที่ถูกต้อง และการเตรียมเครื่องมือในการจัดเก็บข้อมูลในการจัดทำกิจกรรม การหักภาษี ณ ที่จ่าย และตรวจสอบเอกสารหลักฐานที่ได้ดำเนินกิจกรรมมาแล้ว พร้อมบันทึกรายงานผ่านเวปคนใต้สร้างสุข

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  1. คณะทำงานมีความเข้าใจขั้นตอนการดำเนินโครงการและการจัดทำรายงานเอกสารต่างๆได้ และสามารถจัดทำรายงานผ่านเวปคนใต้สร้างสุขได้ 2.คณะทำงานสามารถเขียนใบสำคัญรับเงินได้ถูกต้องและหักภาษี ณ ที่จ่าย 1 % ได้ถูกต้องใน ค่าเช่า ค่าจ้าง ค่าตอบแทนที่มีราคา ตั้งแต่ 1000 บาทขึ้นไป และส่งเงินได้ถูกต้อง
  2. คณะทำงานสามารถเขียนรายงานได้ถุกต้องครบถ้วน นำไปปฏิบัติจริงได้ถูกต้องในกิจกรรมต่อๆไป
  3. คณะทำงานทราบว่ามีเอกสารอะไรบ้างในแต่ละกิจกรรม และสามารถจัดเก็บได้ถูกต้องในแต่ละกิจกรรม

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 12 ครั้ง

คณะทำงาน

1,000.00 500.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผลผลิตคณะทำงาน จำนวน 2 คนร่วมรับฟังการชี้แจงวัตถุประสงค์ของ สสส ขั้นตอนการลงกิจกรรมของโครงการ การเตรียมเครื่องมือในการทำกิจกรรม การจัดทำรายงานการเงินเพื่อเป็นหลัดฐานการเบิกจ่ายในแต่ละกิจกรรม เรียนรู้เทคนิคการถ่านภาพประกอบกิจกรรม
  • ผลลัพธ์ คณะทำงานเข้าใจวัตถุประสงค์และการดำเนินโครงการ และสามารถลงรายงานในเวปได้ และจัดทำรายงานการเบิกจ่ายได้

คณะทำงาน

0.00 0.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผลผลิต คณะทำงานจำนวน 2 คน เข้ารับฟังการชี้แจงขั้นตอนการดำเนินกิจกรรมตามโครงการการเตรียมเครื่องมือในการจัดกิจกรรม การจัดทำรายงานเอกสารต่างๆในการประกอบการเบิกจ่าย การลงรายงานในเวปไซด์
  • ผลลัพธ์ คณะทำงานมีความเข้าใจขั้นตอนการดำเนินโครงการและการจัดทำรายงานเอกสารต่างๆได้ และสามารถจัดทำรายงานผ่านเวปคนใต้สร้างสุขได้

ตัวแทนครัวเรือน เยาวชน สภาผู้นำชุมชน

0.00 0.00 80 80 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผลผลิต ตัวแทนครัวเรือน คณะทำงาน ผู้นำชุมชนและตัวแทนจากหน่วยงานต่างๆพร้อมทั้งพี่เลี้ยง จำนวน 80 คน ร่วมเวทีชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการ งบประมาณ การดำเนินกิจกรรมต่างๆของโครงการ มีนายก อบต เจ้าหน้าที่สาธารณสุข เจ้าหน้าจากพัฒนาชุมชน ร่วมรับฟังคำชึ้แจงและร่วมพูดคุยสนับสนุนการดำเนินโครงการ
  • ผลลัพธ์ ชาวบ้านรับทราบวัตถุประสงค์ งบประมาณที่ได้รับพร้อมกิจกรรมที่จะดำเนินการตลอดโครงการ และพร้อมร่วมกันดำเนินกิจกรรมต่อไป มีคณะทำงานหรือสภาผู้นำชุมชน จำนวน 1 ชุดมีสมาชิก 20 คน กลุ่มแกนนำชุมชนพร้อมร่วมมือให้การสนับสนุนในการจัดกิจกรรม

นางพรทิพย์ อินทรบุตร ฝ่ายการเงิน นางธัญชนก สุทธิบูลย์ ฝ่ายบัญชี นางสาววราภรณ์  อินทรบุตร ฝ่ายข้อมูล

1,000.00 250.00 2 3 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผลผลิต คณะทำงานจำนวน 3 คน เข้าใจการเขียนรายงานที่ถูกต้อง และการเตรียมเครื่องมือในการจัดเก็บข้อมูลในการจัดทำกิจกรรม การหักภาษี ณ ที่จ่าย และตรวจสอบเอกสารหลักฐานที่ได้ดำเนินกิจกรรมมาแล้ว พร้อมบันทึกรายงานผ่านเวปคนใต้สร้างสุข
  • ผลลัพธ์คณะทำงานสามารถเขียนใบสำคัญรับเงินได้ถูกตจ้องและหักภาษี ณ ที่จ่าย 1 % ได้ถูกต้องใน ค่าเช่า ค่าจ้าง ค่าตอบแทนที่มีราคา ตั้งแต่ 1000 บาทขึ้นไป สามารถนำไปปฏิบัติจริงได้ถูกต้องในกิจกรรมต่อๆไป

คณะทำงาน

0.00 0.00 2 3 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต

  1. คณะทำงานจำนวน 3 คน ได้ร่วมเรียนรู้การเขียนรายงานที่ถูกต้อง และการเตรียมเครื่องมือในการจัดเก็บข้อมูลในการจัดทำกิจกรรม การหักภาษี ณ ที่จ่าย 1% พร้อมการเขียนรายการส่งเงินภาษี และ การเขียนใบสำคัญรับเงิน

ผลลัพธ์

  1. คณะทำงานสามารถเขียนใบสำคัญรับเงินได้ถูกต้องและหักภาษี ณ ที่จ่าย 1 % ได้ถูกต้องใน ค่าเช่า ค่าจ้าง ค่าตอบแทนที่มีราคา ตั้งแต่ 1000 บาทขึ้นไป และส่งเงินได้ถูกต้อง
  2. คณะทำงานสามารถเขียนรายงานได้ถุกต้องครบถ้วน นำไปปฏิบัติจริงได้ถูกต้องในกิจกรรมต่อๆไป
  3. คณะทำงานทราบว่ามีเอกสารอะไรบ้างในแต่ละกิจกรรม และสามารถจัดเก็บได้ถูกต้องในแต่ละกิจกรรม

คณะกรรมการและผู้รับผิดชอบโครงการ

1,500.00 250.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผลผลิต คณะทำงานจำนวน 2 คนร่วมเรียนรู้การจัดทำเอกสารในการปิดงวดที่1 พี่เลี้ยงตรวจสอบเอกสารหลักฐานต่างๆรายกิจกรรม ทีม สจรส มอ ตรวจสอบความถูกต้อง
  • ผลลัพธ์ ได้รับคำแนะนำในการเขียนรายละเอียดเอกสารค่าใช้จ่าย การจัดเก็บเอกสารที่ถูกต้อง การหักภาษีการแนบใบภาษี ภงด.3 ปิดงวดที่1
  • ผู้รับผิดชอบโครงการ 1 คน
  • คณะกรรมการ 2 คน
250.00 250.00 2 3 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะกรรมการโครงการจำนวน 3 คน เข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และถอดบทเรียนร่วมกับทีม สจรส มอ และพี่เลี้ยงโครงการ

คณะทำงาน

0.00 0.00 5 8 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผลผลิต พี่เลี้ยงโครงการและคณะกรรมการ จำนวน 8 คน ร่วมพูด ผลการจัดกิจกรรมต่างๆตามแผนงานโครงการ จากการพูดคุย คิดว่า พื้นที่สามารถจัดกิจกรรมได้ครบทุกกิจกรรม และสามารถปิดโครงการได้ทันตามแผนที่กำหนด
  • ผลลัพธ์ จากการจัดกิจกรรมที่ผ่านมาสามารถ ตอบวัตถุประสงค์และตัววัดได้ ดังนี้
  1. เยาวชนมีพฤติกรรมลดปัจจัยเสี่ยงเช่นไม่มั่วสุมดื่มน้ำกระท่อม
  2. ครัวเรือนมีการจัดบ้านเรือนถูกลักษณะ
  3. สมาชิกครัวเรือน ผู้สูงอายุ อยู่ในครัวเรือนที่มีสภาพแวดที่ดีเอื้อต่อการมีสุขภาพดี
  4. เกิดสภาพแวดล้อมหรือปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาวะของคน เช่น พระตำหนักเมืองนครถ้ำเขาขุนพนม
  5. คณะกรรมการสภาผู้นำชุมชน มีบทบาทในการขับเคลื่อนในการจัดกิจกรรมทำให้โครงการประสบผลสำเร็จ
  6. อสม มีบทบาทในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดปัจจัยเสี่ยงไม่มั่วสุมสารเสพติด
  7. มัคคุเทศในชุมชนและครูที่ร่วมจัดกระบวนการพัฒนาความคิด การเรียนรู้ เป็นต้นแบบในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
  8. คนในชุมชน ช่วยกันสืบสารภูมิปัญญาของชุมชน

ในส่วนของการบริหารงบประมาณเป็นไปตามวัตถุประสงค์และสามารถดำเนินกิจกรรมได้ตามแผนที่กำหนดไว้

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงาน

250.00 750.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผลผลิต คณะกรรม จำนวน 2 คนประชุมร่วมกับสจรส.ม.อ. และพี่เลี้ยงผู้ติดตาม จัดทำรายงานเตรียมปิดโครงการอาจารย์ อภิวัฒน์กล่าวต้อนรับพูดคุยถึงวัตถุประสงค์ในการจัดกิจกรรมอาจารย์ กำไล ชี้แจง ให้แต่ละพื้นที่ดูสถานการณ์ ของการจัดกิจกรรม ของแต่ละพื้นที่ ว่าพื้นที่ของต้นเองใน ระดับใด ซึ่ง อาจารย์ กำไล ได้ แยก ประเภท ของโครงการเป็น 3 ระดับ คือ ระดับ A ทำกิจกรรมครบ ระดับ ฺ B มีกิจกรรมบางกิจกรรมที่ยังต้องทำในเดือนกันยายน 2559 ระดับ C ยังกิจกรรมอีกมากที่ยังไม่ได้ดำเนินการ ในส่วนของ พื้นที่บ้านบางคุระอยู่ใน ระดับ A ช่วยกันตรวจสอบเอกสารและให้พี่เลี้ยงตรวจสอบอีกครั้งก่อนให้ทีม สจรส มอตรวจ สอบความถูกต้องนำผลการจากตรวจสอบของทีม สจรส มอ แนะนำให้ปรับแก้ และใส่ข้อมูลเพิ่มในบางกิจกรรม
  • ผลลัพธ์ พื้นที่โครงการสามารถจัดทำกิจกรรมได้ตามแผน สามารถปิดโครงการได้ทันตามกำหนดระยะ ที่ สสส กำหนดไว้

คณะกรรมการ  ตัวแทนครัวเรือน

2,506.00 6,006.00 61 61 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผลผลิต คณะกรรมการ ตัวแทนครัวเรือน จำนวน63 คน ร่วมกิจกรรมการติดตามการดำเนินกิจกรรมในพื้นที่ การดำเนินกิจกรรมครบทุกกิจกรรมมีการรายงานและมีตัวแทนครัวเรือนเข้ากิจกรรม ตลอดทุกกิจกรรม มีการ ชี้แจงรายจ่ายในแต่ละกิจกรรมให้ชุมชนรับทราบ คณะกรรมการประเมินผลการดำเนินโครงการตามวัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • ผลลัพธ์การจากติดตามและประเมินผล ตามวัตถุประสงค์และตัวชี้วัด ได้ดังนี้

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพชุมชนให้เกิดสภาผู้นำชุมชนที่เข้มแข็ง และตัวชี้วัด

  1. มีการประชุมทุกเดือน
  2. ในการประชุมแต่ละครั้งมีผู้เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
  3. ในการประชุมแต่ละครั้งนอกจากมีการพูดคุยเรื่องโครงการแล้วยังมีการพูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องอื่นๆด้วย
  4. การเข้าร่วมกิจกรรมของชุมชนทุกครั้งรวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละ 90

ผลจากการประเมิน

  1. มีการประชุมทุกเดือน จำนวน 10 ครั้ง
  2. ในการประชุมแต่ละครั้งมีผู้เข้าร่วมร้อยละ 100
  3. ในการประชุมแต่ละครั้งนอกจากมีการพูดคุยเรื่องโครงการแล้วยังมีการพูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องอื่นๆด้วย
  4. การเข้าร่วมกิจกรรมของชุมชนทุกครั้งร้อยละ 100

วัตถุประสงค์ข้อที่2.เพื่อให้เกิดแกนนำเยาวชนต้นแบบในการสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น และตัวชี้วัด

  1. เยาวชนได้ร่วมเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชุมชนและสามารถเล่าต่อได้ร้อยละ90ของเยาวชนที่ร่วมกิจกรรม
  2. เยาวชนจัดทำสื่อข้อมูลประวัติศาสตร์ชุมชนที่สามารถเผยแพร่ได้
  3. เยาวชนสามารถร่วมวางแผนทำตารางฝึกปฏิบัติการ เป็น มัคคุเทศน้อยได้
  4. มีมัคคุเทศที่เป็นเยาวชนในชุมชนอย่างน้อย 10 คน
  5. เยาวชนที่ไปมั่วสุมดื่มน้ำกระท่อมลดลงร้อยละ80(12คนจาก 15 คน) เยาวชนที่เป็นแกนนำในการทำกิจกรรมของชุมชนอย่างน้อย 10 คน

ผลจากการประเมิน

  1. เยาวชนได้ร่วมเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชุมชนและสามารถเล่าต่อได้ร้อยละ90ของเยาวชนที่ร่วมกิจกรรม
  2. เยาวชนจัดทำสื่อข้อมูลประวัติศาสตร์ชุมชนที่สามารถเผยแพร่ได้
  3. เยาวชนสามารถร่วมวางแผนทำตารางฝึกปฏิบัติการ เป็น มัคคุเทศน้อยได้
  4. มีมัคคุเทศที่เป็นเยาวชนในชุมชนจำนวน 12 คน
  5. เยาวชนที่ไปมั่วสุมดื่มน้ำกระท่อมลดลงร้อยละ100( 15 คน) เยาวชนที่เป็นแกนนำในการทำกิจกรรมของชุมชนอย่างน้อย 12 คน

วัตถุประสงค์ข้อที่3.เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการและตัวชี้วัด

  1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด
  2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม
  3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม
  4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด

ผลจากการประเมิน

  1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ร้อยละ 100
  2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม
  3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม
  4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด

ผู้รับผิดชอบโครงการ และกรรมการสภาผู้นำชุมชน

3,244.00 3,244.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผลผลิต เจ้าของโครงการคณะกรรมการจำนวน 2 คน ร่วมงานสร้างสุขภาคใต้ ร่วมรับฟังปาฐกถา เรื่อง บทบาทของประเทศไทยในการเป็นผู้นำการพัฒนานวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพในภูมิภาคอาเซียน โดย นายอภิสิทธ์เวชชาชีวะ รับฟังรายงานสุขภาวะคนใต้และสรุปภาพรวมการดำเนินงานสร้างสุขภาคใต้ปีที่ผ่านมาบทบาทศูนย์วิชาการสร้างเสริมสุขภาพ ในการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาคคนใต้ โดย ผศ.ดร.ภก.พงศ์เทพ สุธีรวุฒิ ผู้อำนวยการ สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ ภาคใต้ฟังการเสวนาเรื่อง สานพลังชุมชนน่าอยู่สู่นโยบายสาธารณะ โครงการสร้างคนรักษ์สิ่งแวดล้อมที่บ้านทุ่งยาว ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง ฟังเสนอกรณีศึกษา ประเด็นการจัดการขยะโครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่บ้านห้วยลึกจัดการขยะชุมชน ตำบลทรายขาว อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่กรณีศึกษา ประเด็นเด็กและเยาวชน โครงการปันตงสร้างสุขบ้านสี่แยกวัดโหนด ตำบลโพธิ์ทอง อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช กรณีศึกษาประเด็น เศรษฐกิจพอเพียง โครงการแหลมยางนาพึ่งพาเศรษฐกิจ ตำบลตะโก อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพรกรณีศึกษาประเด็นการจัดการทรัพยากรและการท่องเที่ยวโครงการจัดการท่องเที่ยววิถีชุมชนบ้านท่าฉัตรไชย ตำบลไม้ขาว อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต กรณีศึกษา ประเด็นการจัดการสุขภาพและอาหารปลอดภัยโครงการชุมชนหูยานบ้านน่าอยู่สู่การจัดการตนเอง ตำบลนาท่อม อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุงผู้ทรงคูณวุฒิให้คำแนะนำการขับเคลื่อนชุมชน สู่ข้อเสนอเชิงนโยบายโดย คุณสุริยายีขุน นายกเทศมนตรีตำบลปลีก คุณสัมฤทธิ์เลียงประสิทธิ์นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูลนายแพทย์ไพศาลเกื้ออรุณ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดกระบี่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน การขับเคลื่อนงานชุมชนน่าอยู่สู่การยกระดับเชิงนโยบาย โดยคุณ กำไลสมรักษ์ สำนักวิชาการพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
    ลานปัญญาเสวนา ลานสื่อ นำเสนอผลงานวิชาการของชุมชน เรื่องเล่า เร้าพลัง ลานสร้างสุข แลกเปลี่ยนความรู้นวัตกรรมกิจกรรมกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสานพลังเครือข่ายเสวนาเรื่อง การขับเคลื่อนระบบสุขภาพของประเทศไทยสู่การเป็นผู้นำภูมิภาคอาเซี่ยน
  • ผลลัพธ์
  1. ได้รับความรู้ในการทำงานเพื่อสร้างชุมชนให้น่าอยู่ ทั้งด้านแนวคิด และวิธีการ
  2. ได้เรียนรู้นวัตกรรมต่าง ๆ ของโครงการที่มานำเสนอผลงานในรูปแบบนิทรรศการ ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับชุมชนของตนเองได้
  3. ได้เรียนรู้ข้อมูลต่าง ๆ ของหน่วยงานในภาครัฐที่เกี่ยวข้องกับการสร้างชุมชนให้น่าอยู่ เช่น สสส./ สช./ สปสช. เป็นต้น
  4. เกิดเครือข่ายในการทำงานเพื่อส่วนรวม สนับสนุนให้เกิดการรวมกลุ่ม เกิดการแบ่งปันความรู้ ประสบการณ์ และกำลังใจให้แก่กันเมื่อเกิดอุปสรรคและปัญหา
  5. มีความรู้สึกภาคภูมิใจ และมีกำลังใจในการพัฒนาชุมชนของตนเองให้น่าอยู่ต่อไป
  6. เกิดสายสัมพันธ์ที่ดีระหว่างทีมพี่เลี้ยงของโครงการ และทีมงานในการจัดงานสร้างสุขภาคใต้

คณะกรรมการ

250.00 250.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผลผลิต คณะกรรมการ จำนวน 2 คน ร่วมประชุมกับทีม สจรส.ม.อ. และพี่เลี้ยงผู้ติดตาม อ กำไล พูดคุยและสรุปผลการจัดกิจกรรม และผลที่เกิดขึ้นในชุมชนให้แต่ละโครงการร่วมกันสรุปและบันทึกในเว้ปไซต์ คนใต้สร้างสุข พี่เลี้ยงและทีม สจรส.มอ.ช่วยตรวจสอบเอกสารหลักฐานผู้รับผิดชอบโครงการสามารถนำส่งเอกสารปิดงวด 2 ประกอบด้วย ง.1งวด 2 ,ง.2 ส.3 ส.4

กิจกรรมหลัก : ทำป้ายสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่ ถ่ายภาพกิจกรรม และจัดทำรายงานi

3,000.00 2 ผลผลิต

มีป้ายเขตปลอดบุหรี่ ตามที่สสสกำหนด


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ผู้ร่วมกิจกรรมไม่สูบบุหรี่ในสถานที่จัดกิจกรรม มีความตระหนักและปฏิบัติตาม

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 2 ครั้ง

วัยเรียน 30 วัยเรียน 115 ผู้สูงอายุ 12

1,000.00 1,000.00 150 157 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผลผลิต มีป้ายเขตปลอดบุหรี่ ตามที่สสสกำหนด
  • ผลลัพธ์ ผู้เข้าประชุมไม่สูบบุหรี่ในสถานที่จัดกิจกรรม มีความตระหนักและปฏิบัติตาม

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะกรรมการ

2,000.00 2,000.00 3 3 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผลิต คณะกรรมการ จำนวน 3 คน ช่วยกันตรวจสอบเอกสารหลักฐาน และคัดเลือกภาพกิจกรรมทุกกิจกรรมส่งล้างอัดและจัดทำรายงานรูปเล่มฉบับสมบรูณ์เก็บไว้ในชุมชน และจัดส่ง สสส

  • ผลลัพธ์ มีรายงานฉบับสมบรูณ์ พร้อมภาพถ่ายกิจกรรมเก็บไว้ในชุมชน และส่ง สสส ตามระยะเวลาที่กำหนด

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
นาย บูรณะ อินทรบุตร 75 หมู่ที่ 4 ตำบลบ้านเกาะ อำเภอพรหมคีรี จังหวัดนครศรีธรรมราช

เศรษฐกิจพอเพียง

นาย ทวีศักดิ์ กามูจันดี 39 หมู่ที่ 4 ตำบลบ้านเกาะ อำเภอพรหมคีรี จังหวัดนครศรีธรรมราช

สร้างเสริมกลุ่มออมทรัพย์

นาย อนันต์ จุลพันธ์ 174/1 หมู่ที่ 4 ตำบลบ้านเกาะ อำเภอพรหมคีรี จังหวัดนครศรีธรรมราช

เกษตรอินทรีย์/ลดใช้สารเคมี

นาย เฉลียว แก้วธวัชวิเศษ 58/1 หมู่ที่ 4 ตำบลบ้านเกาะ อำเภอพรหมคีรี จังหวัดนครศรีธรรมราช

สร้างเสริมครอบครัวอบอุ่น

นาย ประสิทธฺ์ ชูพันธ์ 55 หมู่ที่ ตำบลบ้านเกาะ อำเภอพรหมคีรี จังหวัดนครศรีธรรมราช

ชุมชนน่าอยู่/ สร้างความเข้มแข็งชุมชน/ จัดการข้อมูลชุมชน

2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

 

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

ขาดการจัดการหลักฐานการจัดกิจกรรม (ภาพถ่าย) ที่ดี

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

 

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

 

2.2 การใช้จ่ายเงิน

 

2.3 หลักฐานการเงิน

 

ผลรวม 0 0 1 0
ผลรวมทั้งหมด 1 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

จัดกิจกรรมได้ครบตามแผนที่วางไว้ในงวดที่ 1 งบประมาณใช้จ่ายตามแผนและวัตถุประสงค์ของโครงการ

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

จากผลการติดตาม การดำเนินกิจกรรมในงวดที่ 1

  1. มีการประชุมสภาผู้นำชุมชนทุกเดือนจำนวน 5 ครั้งเพื่อพัฒนาศักยภาพชุมชนให้เกิดสภาผู้นำชุมชนที่เข้มแข็ง
  2. ในการประชุมแต่ละครั้งมีผู้เข้าร่วมร้อยละ 100
  3. ในการประชุมแต่ละครั้งนอกจากมีการพูดคุยเรื่องโครงการแล้วยังมีการพูดคุยแแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องอื่นๆด้วยการดูแลบุตรหลาน การลดรายจ่ายของครัวเรือน
  4. การเข้าร่วมกิจกรรมของชุมชนทุกครั้งร้อยละ 100
  5. เพื่อให้เกิดแกนนำเยาวชนต้นแบบในการสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น เยาวชนได้ร่วมเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชุมชนและสามารถเล่าต่อได้ร้อยละ100ของเยาวชนที่ร่วมกิจกรรม
  6. เยาวชนสามารถร่วมวางแผนทำตารางฝึกปฏิบัติการเป็นมัคคุเทศน ึ7. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการคณะทำงานเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ.และพี่เลี้ยงโครงการทุกครั้งที่จัดกิจกรรม
  7. มีการจัดทำป้าย สถานที่นี้ปลอดบุหรี่ ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม
  8. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม
  9. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด
  10. การดำเนินกิจกรรมและการจ่ายงบประมาณเป็นไปตามแผนที่วางไว้ในงวดที่ 1

สร้างรายงานโดย สุดา