assignment
บันทึกกิจกรรม
การประชุมร่วมกับ สสส. สจรส.ม.อ. และพี่เลี้ยงผู้ติดตามและคืนเงินเปิดบัญชี50014 ตุลาคม 2559
14
ตุลาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย บุญฤทธิ์ ช่วยชู
circle
วัตถุประสงค์

ประชุมสรุปผลการดำเนินงานและจัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ตรวจสอบรายงานการดำเนินงาน ตรวจสอบเอกสารการดำเนินกิจกรรม สรุปผลการดำเนินงานผ่านเว็บไซต์ เรียบเรียงเอกสารที่ยังไม่สมบูรณ์ เพิ่มเติมเอกสารที่ขาดให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น รวบรวมเอกสารการปฎิบัติงานแต่ละกิจกรรมให้ครบ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สรุปผลการดำเนินงานพบว่าที่ผ่านมามีการบันทึกในรายละเอียดยังไม่ครอบคลุม ให้บันทึกเพิ่มเติมให้ครอบคลุมเขียนสรุปผลการดำเนินงานให้ได้ตามวัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

ผู้รับผิดชอบโครงการ 2 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมประเมินผลการดำเนินงานโครงการ10 ตุลาคม 2559
10
ตุลาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย บุญฤทธิ์ ช่วยชู
circle
วัตถุประสงค์

ประชุมประเมินผลการดำเนินงานโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ผู้ดำเนินงานโครงการบันทึกข้อมูลกิจกรรมต่างๆ ที่ยังไม่เรียบร้อย เข้าเว็บไซต์จนเสร็จสิ้นครบ 16 กิจกรรม และจัดทำเอกสารทางการเงินประกอบด้วย แบบสรุปรายงานการใช้เงิน ใบสำคัญรับเงินหลักฐาน ผู้รับเงิน และใบเสร็จผู้รับเงินในการจัดซื้ออุปกรณ์ค่าวัสดุสำนักงาน ค่าตอบแทนวิทยากร และค่าผู้ประสานงาน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต
1. บันทึกกิจกรรมโครงการทั้ง 16 กิจกรรม เข้าเว็บไซต์คนใต้สร้างสุขเสร็จเรียบร้อย 2. จัดทำเอกสารทางการเงินแบบสรุปรายงานการใช้เงิน ทั้ง 16 กิจกรรม

ผลลัพธ์
- เกิดการร่วมวิเคราะห์ แลกเปลี่ยน ซักถาม พูดคุย ในการแก้ปัญหาของชุมชนร่วมกันชุมชนมีข้อเสนอร่วมกันในการวางแผนโดยเสนอให้นำเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเข้าแผนชุมชน แผนตำบลต่อไป

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 60 คน จากที่ตั้งไว้ 71 คน
ประกอบด้วย

ผู้รับผิดชอบโครงการ ผู้ดำเนินงานโครงการเกษตรอินทรีย์บ้านปลักจอกเสริมรายได้ จำนวน 60 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

การถ่ายภาพกิจกรรม และจัดทำรายงาน8 ตุลาคม 2559
8
ตุลาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย บุญฤทธิ์ ช่วยชู
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อรวบรวมเอกสารและจัดทำรายงานโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เตรียมเนื้อหาและเอกสารที่จะสรุปผลการดำเนินงาน ตรวจสอบความเรียบร้อยของเอกสารและรายงานการเงินทั้งโครงการ จัดพิมพ์รายงานผลการดำเนินกิจกรรมผ่านเวป โดยให้ผู้รับผิดชอบฝ่ายต่างๆ และผู้เข้าร่วมโครงการในแต่ละกลุ่มตรวจสอบกิจกรรมที่ตนมีส่วนร่วม และกิจกรรมที่ตนทำจริง ที่มีหน้าที่ในการจัดซื้อจัดหาและการจ่ายเงินส่งมอบเอกสารให้ผู้รับผิดชอบโครงการทุกกิจกรรม โดยตรวจสอบความถูกต้องทั้งวัตถุประสงค์ รายละเอียดกิจกรรม และงบประมาณที่ตั้งไว้ ตามข้อตกลงที่ตั้งไว้ของ สสส. 

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมาและบันทึกในรายละเอียดยังไม่ครอบคลุม เรียบร้อยเพิ่มเติมให้ครอบคลุมครบถ้วนพร้อมทั้งรูปภาพกิจกรรม

  1. จัดทำแบบสรุปรายงานการใช้เงิน รวบรวมใบสำคัญรับเงิน เอกสารผู้รับเงิน ตลอดกิจกรรมของโครงการ
  2. บันทึกกิจกรรมรายละเอียดขั้นตอนที่มีการปฏิบัติจริงให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ผลผลิต ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลลัพธ์

  1. ได้แบบสรุปรายงานการใช้เงิน พร้อมหลักฐานประกอบครบทุกกิจกรรม
  2. บันทึกรายละเอียดข้อมูลกิจกรรม เข้าwebsite คนใต้สร้างสุข

หมายเหตุ

รอการตรวจสอบจากพี่เลี้ยง เพื่อความถูกต้องสมบูรณ์อีกครั้งหนึ่ง

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 60 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

ผู้ดำเนินโครงการ 60 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

สัญญาณอินเตอร์เน็ตมีความเร็วต่ำ ทำให้ต้องใช้เวลาในการบันทึกข้อมูลนานขึ้น แนวทางแก้ไข การบันทึกข้อมูลบางส่วนเช่น การบันทึกภาพ ต้องไปทำที่รพ.สต.บ้านหาร 

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

จัดเวทีประชาสัมพันธ์ยื่นข้อเสนอในชุมชนขยายให้ดำเนินการต่อเนื่อง17 กันยายน 2559
17
กันยายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย บุญฤทธิ์ ช่วยชู
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อสร้างกระบวนการส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ไขปัญหาโดยการทำการเกษตรอินทรีย์ หลีกเลี่ยงสารเคมี

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

จัดให้มีการประชุมสมาชิกสภาผู้นำและผู้เข้าร่วมโครงการ ประชมสัมพันธ์ให่สมาชิกทุกคน ปลูกพืชผักปลอดสารพิษ น้ำหมักชีวภาพ และสารไล่แมลง ดำเนินการต่อไปอย่างต่อเนื่องและทำกิจกรรมเพิ่มขึ้น โดยมีจุดมุ่งหมายในการจำหน่ายสินค้าปลอดสารพิษเพิ่มรายได้ ให้แก่ครัวเรือน โดยมีข้อตกลงร่วมกันในการทำกิจกรรมต่อเนื่องโดย

  1. ให้สมาชิกสภาผู้นำกลุ่มละ 2 คน ดูแลสมาชิกกลุ่ม ต่อไปอย่างต่อเนื่อง
  2. สภาผู้นำร่วมกัน นำประสบการณ์การทำเกษตรปลอดสารพิษ มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในวันประชุมประชาคมหมู่บ้าน
  3. จัดกิจกรรมประกวดให้รางวัลแก่สมาชิกกลุ่มที่ทำกิจกรรมต่อเนื่อง และมีผลการทำกิจกรรมใหม่ๆ กว้างขวางยิ่งขึ้น เพื่อเป็นขวัญและกำลังใจ
  4. มุ่งสร้างให้เกิดผลผลิตที่เป็นผลิตภัณฑ์ชุมชนที่ได้รับการยอมรับ
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีกติกาของกลุ่ม ที่จะทำกิจกรรมต่อไป โดยมีสมาชิกสภาผู้นำประจำกลุ่ม ทั่ง 10 กลุ่ม เป็นผู้ดูแลช่วยเหลือ และพัฒนาสู่ผลิตภัณฑ์ชุมชน ผักปลอดสารพิษของหมู่ที่ 6 เป็นที่รู้จักและได้รับการยอมรับ อย่างต่อเนื่อง

ปัญหา

ขาดวัตถุดิบในชุมชน ในการทำปุ๋บฃยหมักชีวภาพ และน้ำหมักชีวภาพในบางฤดูกาล ซึ่งต้องจัดซื้อจากภาคนอก ที่มีราคาแพง เช่น การทำน้ำหมักปลา แนวทางแก้ไข ใช้วัสดุอื่นในท้องถิ่นที่มี เช่น ใช้มูลหมูสดมาในการทำน้ำหมัก

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 60 คน จากที่ตั้งไว้ 60 คน
ประกอบด้วย

เด็กเยาชน จำนวน 17 คน อบต. จำนวน 2 คน กรรมการหมู่บ้าน 7 คน ประชาขนผู่เข้าร่วมโครงการ 20 คน อาสาสมัครสาธารณะสุขหมู่บ้าน 14 คน และสมชิกโครงการรวม 60 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข
circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมสภาผู้นำ ครั้งที่ 12 เดือนกันยายน 255911 กันยายน 2559
11
กันยายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย บุญฤทธิ์ ช่วยชู
circle
วัตถุประสงค์

สรุปผลการดำเนินงานของสภาผู้นำในการร่วมกัน การจัดการโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประชุมสมาชิกสภาผู้นำ เพื่อรับฟังผลการดำเนินงาน การดำเนินกิจกรรมต่างๆ ของแต่ละฝ่ายพร้อมแนงทางแก้ไข ในการทำงาน ในอนาคตและขอบคุณสมาชิกสภาผู้นำ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สมาชิกสภาผู้นำ ผู้รับผิดชอบฝ่ายต่างๆ ได้กล่าวถึงงานที่รับผิดชอบ ปัญหาและอุปสรรคในการทำงาน
ผลผลิต

  1. สมาชิกสภาผู้นำเรียนรู้การทำงานเป็นกลุ่มการแบ่งหน้าที่กันทำ
  2. สมาชิกสภาผู้นำมีจิตสาธรณะมากขึ้น
  3. สมาชิกสภาผู้นำมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่การแก้ปัญหา

ผลลัพธ์

  1. สมาชิกสภาผู้นำมีความสามารถในการทำงานเป็นทีม
  2. มีความรับผิดชอบ และแก้ปัญหา งานในหน้าที่ได้อย่างเหมาะสม
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 20 คน จากที่ตั้งไว้ 20 คน
ประกอบด้วย

สมาชิกสาภผู้นำ จำนวน 20 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

สมาชิกสภาผู้นำบางคน ยังขาดภาวะผู้นำ 

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ส่งเสริมให้สมาชิกสภาผู้นำ เข้าร่วมอบรม สัมณา ศึกษาดูงาน กิจกรรมต่างๆ จากภายนอก เพิ่มโอกาสให้มากขึ้น

ถอดบทเรียน และสรุปโครงการ11 กันยายน 2559
11
กันยายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย บุญฤทธิ์ ช่วยชู
circle
วัตถุประสงค์

สรุปผลการดำเนินโครงการตลอดปี เตรียมกรนนำเสนอในเวทีถอดบทเรียนเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับกลุ่มอื่นๆ และะนำเสนอแนวทางการพัฒนาต่อไป

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ผู้รับผิดชอบโครงการ และสมาชิกสภาผู้นำได้นำเสนอเล่าการทำกิจกรรมต่างๆ ของโครงการ ให้ที่ประชุมรับฟังตั้งแแต่ กิจกรรมการประชุมสภาผู้นำ จำนวน 10 ครั้ง โดยให้สมาชิกสภาผู้นำมีการประชุมวางแผน ก่อนทำกิจกรรมทุกครั้ง มอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบ ให้ความคิดเห็นในการทำกิจกรรมย่อยต่างๆ ยึดหลักการตัดสินใจโดยใช้เสียงข้างมาก ร่วมกันทำกิจกรรมต่างๆ ตามคาวมสามารถและความถนัดของแต่ละบุคคล เช่น ฝ่ายสถานที่ ฝ่ายประสานงาน ฝ่ายการเเงิน และบัญชีฝ่ายอาหารและเครื่องดื่ม คณะทำงานและสมาชิกสภาผู้นำร่วมกันทำกิจกรรมด้วยดีสมาชิกสภาผู้นำยังขาดความกล้าในการแสดงออก กิจกรรมโครงการตั้งแต่การจัดเวทีชี้แจง การดำเนินงานโครงการประชาชนในหมู่บ้านให้ความสนใจเข้าร่วมรับฟังเข้าใจวัตถุประสงค์โครงการ แและกิจกรรมต่างๆ ให้ความสำคัญและมีความตระต่อปัญหาต่างๆ ในชุมชน ซึ่งส่วนใหญ่เห็นสภาพความเป็นอยู่การเจ็บป่วยปัญหาสุขภาพ ที่มีผลมาจากการใช้ชีวิตประจำวัน กิจกรรมออกเเบบเครื่องมือและลงพื้นที่เก็บข้อมูลชุมชน แบบสอบถาม ตั้งจากวัตถุประสงค์ของกิจกรรมต่างๆ ทั้งรายรับรายจ่าย ลงทุนการใช้ปุ๋ยเคมียาฆ่าแมลงดทษแและพิษภัยทางสารเคมีทางการเกษตรโดยให้เดด็กแและเยาวชน เป็นผู้เก็บข้อมูลครัวเรือน ซึ่งได้รับความรักและความเมตตาจากเจ้าของบ้านเสมือนบุตรหลาของตนเอง คุณภาพข้อมูลที่เก็บได้บางข้อ เป็นข้อมูลปประมาณการโดยผู้ตอบแบบสอบถามซึ่งอาจมีความคลาดเคลื่อนบ้าง เช่น รายได้ รายจ่าย
กิจกรรมการเเลกเปลี่ยนเรียนรู้ และคืนข้อมูลส่งชุมขน จากการวิเคราะห์แบบสอบถามประชาชน ใช้สารเเคมีในการกำจัดวัชพืชในสวนยางพาราเป็นจำนวนมาก การปลูกพืชผัก ใช้ยาฆ่าแมลงเเละปุ๋ยเคมีที่ซื้อหจกร้านขายวัสดุทางการเกษตร ซึ่งเป็นการง่ายและสดวก ประชาชนผู้เข้าร่วมโครงการได้ให้ข้อมูงเพิ่มเติม ในที่ประชุม ว่าพืชผักที่ใช้สารเคมีมาก ถ้าไม่ใชช้จะไม่สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ คือ ถั่ววฝักยาว และพริกขี้หนูส่วนพืชผักที่ไม่ใช้สารเคมีเลย เช่น ยอดกกระถิน ข่า ตะไคร้ ใบมะกรูด ขมิ้น ผักบุ้ง
กิจกรรมการประเมินภาวะเสี่ยงสารเคมีตกค้างในเลือดประชาชน และผู้เข้าร่วมโครงการส่วนใหญ่ได้รับความรู้ถึงประโยชน์ของงการตรวจจาก อสม. เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลอยู่แล้วจึงให้ความร่วมมือมีความสนใจและต้องการนำผล การตรวจ ไปปรับปรุงตนเอง การเรียนรู้และการปฏิบัติการจัดทำบัญชีครัวเรือน ได้เชิญวิทยากรที่มีคววามรู้ความเข้าใจมาให้ความรู้และฝึกปฏิบัติจริง ผลการฝึกปฏิบัติ ผู้เข้าร่วมโครงกการสามารถลงบัญชีรายรัยรายจ่ายได้ ตามคำแนะนำ ช่วยเหลือ ของวิทยากร เเมื่อนำไปปฏิบัติใช้จริงพบว่าผู้ร่วมโครงการไมได้นำไปใช้อย่างต่อเเนืองซึ่งมีผลในทางปฏิบัติค่อนข้างน้อย ผู้เข้าร่วมโครงการเห็นว่า เป็นเรื่องยากในการใช้ในชีวิตจริง กิจกรรมการเเลกเปลี่ยนเรียนรูติดตามการจัดทำแผนการทำบัญชีครัวเรือนในการติดตามการจัดทำบัญชีครัวเรือนของสมาชิกสภาผู้นำนแตละกลุ่มที่ดูแล พบว่า สมาชิกโครงการขาดการทำบัญชีครัวเรือนอย่างต่อเนื่องโดยผู้เข้าร่วมโครงการเห็นว่าเป็นเรื่องยากแก่การทำความเข้าใจ ในการประชุมหมู่บ้านผู้เข้าร่วมโครงการให้เหตุผลว่าไม่เข้าใจและทำไม่ได้ แต่สมาชิกโครงการ มีสมุดบัญชีการออมกับกองทุนหมู่บ้าน ธนาคารหมู่บ้านหรือธนาคาร ธกส. เช่น การขายผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร รายได้ รายปีจากการขายโค ยาสูบรายได้รายเดือนจากการขายยางพารา กิจกรรมปฏิบัติการทำน้ำหมักชีวภาพ ให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการในกรทำเกษตรปลอดสารพิษ โดยการผสมดินเพื่อทำปุ๋ยหมัก โดยมีสวนประกอบคือมูลสัตว์ กากน้ำตาล การทำน้ำหมักชีวภาพ บำรุงต้นใบ เช่นน้ำหมักหน่อกล้วย น้ำหมักผลไม้ การทำสารไล่แมลง น้ำหมักต้นยาสูบ ผู้เข้าร่วมโครงการ ได้ทดลองทำและนำไปใช้น้ำหมักบำรุงต้นใบพืืชเจริญเติบโตดี แต่สารไล่แมลงยังไม่ค่อยเห็นผลที่ชัดเจนนักจากการติดตามพบว่า ผู้เเข้าร่วมโครงการขาดกการปปรับปรุงดินเพือปลูกรอบใหม่ และ ยังขาดการประยุกต์สารไล่แมลงอย่างต่อเนื่อง
กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปลูกพืชผักในชุมชนได้เชิญวิทยากรมาไห้ความรู้ในการปลูกพืชผักปลอดสารพิษ การปรับปรุงดิน การขยายพันธุ์ การใช้น้ำหมักชีวภาพ การปลูกพืชผักในล้อยาง หรือภาชนะอื่นๆ เช่น ผู้เข้าร่วมโครงการได้ปลูกผักในกลล่องโพม กระบะไม้ กะละมัง ที่ไม่ใช้แล้ว สามารถให้ผลผลิตได้ โดยสมาชิกสภาผ้นำ ออกเยี่ยมเยี่ยนกลุ่มสมาชิกในกกลุ่มที่ตนรับผิดชอบพบว่าพืชผักบางชนิดมีศัตรูพืชรบกวนมากในการปลูกซ้ำที่และใช้สารไล่แมลงไม่ค่อยได้ผล เช่น ผักกาด ผักกวางตุ้ง สมาชิกโครงการหันมาปลูกพืชผักพื้นบ้านมากขึ้น เช่น บัวบก ผีกชีล้อม ใบยี่หร้า ข่า ขมิ้น ผักบุ้ง
กิจกรรมกิจกรรมลงแขกเตรียมพื้นที่และปลูกแปลงสาธิต การปลูกผักชุมชนไ้ดปรับปรุบพื้นที่รอบศาลาหมู่บ้านโดยการปลูกผักในล้อยาง ปลูกพริกพุ่งในบ่องซีเม็ท์น การปลูกมะนาวในบ่องซีเม็ท์น การปลูกชะอม มะกรูด มะม่วงหิมมะานส้มป่อย โดยการผสมปุ๋ยดดยใช้มูลไก่ แกรบดิบ แกรบเผาในการทำปุ๋ยหมักทำน้ำหมักมูลสุกรน้ำหมักหน่อกล้วย น้ำหมักสาบเสือ น้ำหมักต้นยาสูบ โดยสมาชิกสภาผู้นำ และผู้เข้าร่วมโครงการหหมุนเวียนกันช่วยปรับพื้นที่ ทำปุ๋ยหมัก ปุ๋ยน้ำ และหมุนเวียนกันรดน้ำ ปัญหาและอุปสรรคพบว่าวัชพืขเจริญเติมโตเร็วมาก ติดตามการดำเนินการทำปุ๋ยหมัก และบัญชีครัวเรือน โดยสมาชิกสภาผู้นำ ออกเยี่ยมเยี่ยนกลุ่มสมาชิกที่ตนรับผิดชอบและรายงานผลในที่ประชุมประชาคมหมู่บ้าน สมาชิกโครงการให้ความรววมมือ เป็นอย่างดี การปประเมินภาวะเสี่ยงผลตรวจเลือดครั้งที่ 2

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต

  1. สมาชิกโครงการ ได้ทำเกษตรปลูกพืชผักโดยไม่ใช้สารเคมี
  2. สมาชิกโครงการมีการทำบัญชีครัวเรือน มีความรู้และความเข้าใจ ในการทำบัญชีครัวเรือนมากขึ้น
  3. สมาชิกโครงการใฃได้ทำงานร่วมกัน ในการดำเนินโครงการ และปลูกพืชผักปลอดสารพิษ โดยไม่ใช้สารเคมี
  4. สมาชิกสภาผู้นำ ได้ัทำงานร่วมกัน ทำงานเป็นกลุ่มได้ดีขึ้น

ผลลัพธ์

  1. สมาชิกโครงการมีพืชผักปลอดสารพิษไว้บริโภคในครัวเรือน มีความรู้ความเข้าใจ ในการทำเกษตรปลอดสารพิษมากขึ้น
  2. สมาชิกโครงการทำบัญชีครัวเรือน และมีความรู้ในการทำบัญชีครัวเรือนดีขึ้น
  3. สภาผู้นำและสมาชิกโครงการมีจิตสาธารณะ ทำงานเพื่อส่วนรวมมากขึ้น
  4. สภาผู้นำและสมาชิกโครงการมีความสามารถในการทำงานเป็นทีมเพิ่มขึ้น

ปัญหา

การทำบัญชีครัวเรือนเป็นเรื่องที่สมาชิกทำความเข้าใจได้ยากทำให้สมาชิกบางคนขาดความต่อเนื่อง ให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างสมาชิกในที่ประชุมประชาคมหมู่บ้าน

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 100 คน จากที่ตั้งไว้ 100 คน
ประกอบด้วย

เด็กเยาชน จำนวน 17 คน อบต. จำนวน 2 คน กรรมการหมู่บ้าน 7 คน ประชาขนผู่เข้าร่วมโครงการ 20 คน อาสาสมัครสาธารณะสุขหมู่บ้าน 14 คน ผู้เข้าร่วมโครงการและ ประชาชนในชุมชน จำนวน 100 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข
circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมจัดทำรายงานร่วมกับ สจรส.มอ. งวดที่ 23 กันยายน 2559
3
กันยายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย บุญฤทธิ์ ช่วยชู
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อที่จะจัดทำรายงานได้ถูกต้องและตรวจเอกสาร

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

สรุปกิจกรรมที่ได้ดำเนินการไปแล้วในโครงการทั้งการประชุมสภาผู้นและการทำกิจกรรมโครงการทุกกิจกรรม รวมถึงค่าใช้จ่ายของโครงการตามแบบสรุปค่าใช้จ่าย ใบเสร็จรับเงิน ใบสำคัญรับเงินและหลักฐานประกอบ ของผู้รับเงินโดยได้รับคำแนะนำ จากวิทยากรโครงการและพี่เลี้ยงประจำโครงการในการจัดทำรายงานสรุป และจัดทำเอกสารทางการเงิน ทั้งค่าอาหาร ค่าวิทยากร และค่าวัสดุต่างๆ ให้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ผู้สนับสนุนงบประมาณ ผู้ดำเนินงาน ได้รับคำแนะนำและช่วยเหลือให้สามารถสรุปรายงานโครงการและจัดทำเอกสารทางการเงินให้ถูกต้องสมบูรณ์

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้ดำเนินโครงการได้บันทึกข้อมูลการทำกิจกรรมโครงการ ผลผลิต ผลลัพธ์ ปัญหาและอุปสรรค์และแนวทางแก้ไข และจัดทำเอกสารทางการเงิน หหลักฐานการจ่ายเงิน ใบสำคัญรับเงินในกิจกรรมที่ได้ดำเนินการมาแล้ว

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

ผู้รับผิดชอบโครงการ 2 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

มหกรรมเกษตรอินทรีย์ชุมชน24 สิงหาคม 2559
24
สิงหาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย บุญฤทธิ์ ช่วยชู
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อให้เกิดสภาผู้นำในชุมชนที่สามารถขับเคลื่อนชุมชนสู่ชุมชนที่เข้มแข็ง

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ภาคีเครืองข่ายประกอบด้วยผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตำบลไทยบุรี และเจ้าหน้าที่คณะนักเรียนและครูโรงเรียวัดพระอาสน์ นำนักแสดงจำนวน 12 คน เข้าร่วมการเเสดงในกิจกรรม ผู้นำท้องที่ ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 4 หมู่ที 5 พัฒนาชุมชน อ.ท่าศาลา โดยมีปลัดอำเภอฝ่ายความมั่นคงเป็นประธานแทนนายอำเภอท่าศาลา โดยมีกิจกรรมต่างๆ ได้แก่ จัดเเสดงการทำน้ำหมักชีวภาพ สำหรับไล่แมลงและบำรุงพืช ได้แก่น้ำหมักตันยาสูบ น้ำหมักใบสาบเสือ น้ำหมักมูลสุกร น้ำหมักหน่อกล้วย จัดบอร์ดแสดงสูตรน้ำหมักต่างๆ แสดงส่วนผสม วิธีทำ คุณสมบัตรและการนำไปใช้ การปลูกพืชผักโดยไม่ใช้สารเคมี ได้แก่่การปลูกผักบุ้งในล้อยาง ผักกวางตุ้ง ใบโหรพา การปลูกพริกไทยพุ่ม ปลูกมะนาวในบ่อซีเม็นท์ การปลูกผักพพื้นบ้าน เช่น ชะอม มะม่วงหิมพาน มะกรูด ส้มป่อยเป็นเกษตรแปลงสาธิตรอบศาลาหมู่บ้าน เป็นแหล่งเรียนรู้และ ใช้ประโยชน์ร่วมกันจัดให้มีกิจกรรมนำเสนอการปลูกสารพิษในล้อยาง ของผู้เข้าร่วมโครงการ ปัญหาและอุปสรรคต้่างๆ กิจกรรมมอบรางวัลให้แก่สมาชิก ีที่มีความตั้งใจในการทำกิจกรรม และร่วมกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง จำนวน 10 ราย จัดให้มีการแสดงของเด็กนักเรียนในระดับอนุบาลและประถมศึกษา ของโรงเรียนวัดพระอาสน์ จำนวนว 2 ชุด มีผู้เเสดงจำนวน 12 คน ประธานในพิธีปิดโครงการได้พูดในหัวข้อการบริโภคพืชผักปลอดสารพิษ จากนั้นได้ชมการแสดงของนักเรียน มอบของที่ระลึกให้แก่สมาชิก ที่ทำกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง จำนวน 10 คนผู้เข้าร่วมงาน ได้เยี่ยมชมแปลงสาธิตการปลูกพืชผักพื้นบ้าน การทำน้ำหมักชีวภาพ และสารไล่แมลงจนถึง เวลา 14.30 น.

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้เผยแพร่ประชาสัมพันธ์กิจกรรมดีๆในชุมชน ให้ชุมชนมีความตระหนักและมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาร่วมกัน ได้แก่ การปลูกพืชผักดดยไม่ใช้สารเคมี ในล้อางรถยนต์ไว้บริโภคในครัวเรือน ถ้ามีเหลือขายเป็นรายได้บ้าง สมาชิกโครงการและประชาชนในชุมชนให้ความสำคัญกับการบริโภคพืชผักที่ปลอดภัย รู้จักการเลือกซื้อ อาหารที่ไม่ปนเปื้อนสารพิษ ณุ้จักการใช้สารเคมึ เช่น ยาฆ่าหญ้า อย่างถูกวิธี ในผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในชุมชน เช่น ยาฆ่าหญ้า ที่ไล่ลงแหล่งน้ำในฤดูฝน ทำลสยแห่ลงเพาะพันธ์ปลา การใช้สารพิษตามฉลากกำหนด การป้องกันโดยสวมเสื้อผ้า ปกปิดร่างกาย และการทำความสะอาดร่างกาย หลังการใช้สารพิษ

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 130 คน จากที่ตั้งไว้ 150 คน
ประกอบด้วย

เด็กเยาวชน จำนวน 17 คน อบต. จำนวน 2 คน กรรมการหมู่บ้าน 7 คน ประชาขนผู่เข้าร่วมโครงการ 20 คน อาสาสมัครสาธารณะสุขหมู่บ้าน 4 คน ผู้เข้าร่วมโครงการและประะชาชนในหมู่บ้้านจำนวน 80 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

การทำน้ำหมักชีวภาพ สารไล่แมลงเป็นเรื่องค้อนข้างยุ่งยากทำไม่ต่อเนื่อง

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประเมินภาวะเสี่ยงสารเคมีตกค้างในเลือดของผู้เข้าร่วมโครงการและกลุ่มเกษตรกรในชุมชน ครั้งที่ 220 สิงหาคม 2559
20
สิงหาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย บุญฤทธิ์ ช่วยชู
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการตรวจสารเคมีในเลือดในการแก้ปัญหาโดยทำการเกษตรอินทรีย์ปลอดสารเคมี

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 60 คน และประชาชนในชุมชน จำนวน 40 คน รวม 100 คน เข้าร่วมกิจกรรมโดยเจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนสาธิตวลักษณ์มาทำการให้ความรู้ในที่ประชุมเกี่ยวกับกิจกรรมทางอาชีพที่ส่งผลกระทบให้ได้รับสารเคมีเข้าสู่ร่างกาย เช่น การฉีดยาฆ่าหญ้า การใช้ยาฆ่าแมลง หรือกำจัดโรคพืช ซึ่งเข้าสู่ร่างกายโดยการสูดดม ทางผิวหนัง บาดแผล การบริโภคพืชผักที่ปนเปื้อนสารเคมีในการป้องกัน ผลกระทบและทำการตรวจเลือดของผู้ร่วมประชุมทุกคน และเเจ้งผลการตรวจให้ทราบพบว่าหลังจากได้มีการตรวจเลือดและให้ความรู้ในรอบแรกไปแล้ว ผู้เข้าร่วมโครงการและประชาชนในชุมชนได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิตประจำวันมีผลให้มีผู้ที่มีสารเคมีในเลือดลดลงจากรอบแรก ได้แก่

1. ผู้มีผลการตรวจเป็นปกติ จำนวน 15 คน
2. ผลการตรวจอยู่ในระดับปลอดภัย จำนวน 34 คน 3. ผู้มีผลการตรวจอยู่ในภาวะเสี่ยง จำนวน 32 คน
4. ผลการตรวจอยู่ในระดับไม่ปลอดภัย จำนวน 19 คน
จะเห็นได้ว่า หลังการให้ความรู้และแจ้งผลการตรวจเลือดในรอบแรกแล้ว ผู้เข้าร่วมโครงการและประชาชนมีความตระหนักให้ความสำคัญกับพฤติกรรมการใช้ชีวิตการบริโภคพืชผัก ที่ซื้อจากภายนอก การใช้สารเคมี ในการปลูกพืชผักในชุมชน การฉีดยาฆ่าหญ้า ได้ใช้ความระมัดระวังมากขึ้นและการเจ็บป่วยในชุมชนมรตวอย่างให้เห็นจนถึงขั้นเสียชีวิตอย่างชัดเจน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต

  1. ประชาชนเข้าร่วมรับฟังการให้ความรู้เกี่ยวกับผลกระทบการใช้สารเคมีในการปลูดพืชผัก และยากำจัดวัชพืช
  2. ประชาชนเข้าร่วมการตรวจเลือด ครบจำนวน ตามเป้าหมายของโครงการ 100 คน
    ผลลัพธ์

  3. ประชาชนและผู้เข้าร่วมโครงการนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันเพิ่มมากขึ้น

  4. ประชาชนมรสุขภาพดีขึ้น มีภาวะเสี่ยงจากการใช้สารเคมีลดลง
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 100 คน จากที่ตั้งไว้ 100 คน
ประกอบด้วย

เด็กเยาชน จำนวน 17 คน อบต. จำนวน 2 คน กรรมการหมู่บ้าน 7 คน ประชาขนผู่เข้าร่วมโครงการ 20 คน อาสาสมัครสาธารณะสุขหมู่บ้าน 14 คน สมาชิกโครงการและชาวบ้าน เจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนสาธิตวลัยลักษณ์มาดำเนินการเจอะเลือด เพื่อหาสารปนเปื้อนโดยมีผู๋เข้าร่วมเจอะเลือดจำนวน 100 คน ผลการวิเคราะห์ปรากฎว่ามีประชาชน ไม่มีสารพิษปนเปื้อนในเลือดในระดับปลอดภัย จำนวน 64 คน คิดเป็นร้อยละ 64 มีสารพิษปนเปื้อนในระดับเสี่ยง จำนวน 32 คน คิดเป็นร้อยละ 32 มีสารพิษปนเปื้อนในเลือดระดัับไม่ปลอดภภัย จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 6 เมื่อเปรียบเทียบกับการตรวจสารปนเปื้อนในเลือดครั้งแรกพบว่ามีสมาชิกโครงการและประชาชนมีผลการตรวจเลือดไม่มีสารพิษปนเปื้อนในระดับปลอดภัยเพิ่มขึ้นจำนวน 60 คน คิดเป็นร้อยละ 0 สารพิษปนเปื้อนในระดับเสี่ยง ลดลงจากจำนวน... คน คิดเป็นลดลงร้อยละ... คน สารพิษปนเปื้อนในระดดับไใ่ปลอดภัย คิดเป็นลดลงร้อยละ... คน ทั้งนี้เนื่องจากวิทยากรจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุุมชนสาธิตวลัยลักษณ์ได้ให้คามรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหาร พืชผัก วิธีการเลือกซื้ออาหาร ที่ปลอดภัยยจากสารพิษให้ความรู้เกี่ยวกับโทษและพิษภัยของการบริโภค อาหารปนเปื้อนสารพิษประชาชนและผู้เข้าร่วมโครงการได้ตระหนักให้ความสำคัญและะในไปใช้ปฏิบัติในครัวเรือน ในการเลือกซื้อาหาร พืชผัก การใช้ยาปราบศัตรูพืชอย่างถูกวิธีรวมทั้งการปลูกพืชผักโดยไม่ใช้สารเคมีไว้บริโภคในครัวเรือนตามโครงการ

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ประชาชนบางส่วนยังคงใช้สารเคมีในการทำการเกษตร เช่น การกำจัดวัชพืชเนื่องจากได้ผลเร็ว

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ให้ความรู้เเก่ประชาชนอย่างต่อเนื่อง

ประชุมสภาผู้นำ ครั้งที่ 11 เดือนสิงหาคม 25597 สิงหาคม 2559
7
สิงหาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย บุญฤทธิ์ ช่วยชู
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อให้เกิดสภาผู้นำในชุมชนที่สามารถขับเคลื่อนชุมชนสู่ชุมชนที่เข้มแข็ง

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • ประชุมสภาผู้นำสรุปผลการทำงานเดือนกรกฎาคม และวางแผนมหกรรมเกษตรอินทรีย์ชุมชน
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้ร่วมกันกำหนดวันจัดกิจกรรมมหกรรมเกษตรอินทรีย์ชุมชนในวันที่ 26 สิงหาคม 2559 และได้รับความร่วมมือจากภาคีเครืองข่ายประกอบด้วยผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตำบลไทยบุรี และเจ้าหน้าที่คณะนักเรียนและครูโรงเรียวัดพระอาสน์ รวมทั้งแกนนำผู้ใหญ่บ้านเข้ามาร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ด้วย
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 20 คน จากที่ตั้งไว้ 20 คน
ประกอบด้วย

สภาผู้นำประกอบด้วยคณะกรรมการหมู่บ้านจำนวน 15 คน อสม. 5 คน รวม 20 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมสภาผู้นำ ครั้งที่ 10 เดือนกรกฎาคม 255923 กรกฎาคม 2559
23
กรกฎาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย บุญฤทธิ์ ช่วยชู
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อวางแผนการจัดกิจกรรมมหกรรมเกษตรอิทรีย์ของดีบ้านปลักจอก

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ร่วมกันประชุมปรึกษาหารือ ให้สภาผู้นำ ผู้รับผิดชอบ สมาชิกของตนเอง ได้รายงานความก้าวหน้าของสมาชิก ปัญหาและอุปสรรคในการทำกิจกรรมพบว่า คณะทำงานพลปัญหาการปลูกพืชผักขาดการทำน้ำหมักไไล่แมลง ใช้อย่างต่อเนื่องและได้ปประชุมร่วมการวางแผนการจัดกิจกรรมมหกรรมเกษตรอินทรีย์บ้านปลักจอกเสริมรายได้โดยมิอบหมายให้แต่ละคนรับผิดชอบ ฝ่ายจัดสถานที่ห้องประชุม โต๊ะ เก้าอี้ เครื่องเสียงการจัดบอร์ดนิทัศการ ฝ่ายอาหารสำหรับจักเเลี้ยงมื้อเที่ยงให้เพียงพอต่อผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 130 คน ฝ่ายการแสดงบนเวที ติดต่อชุดการแสดงของนักเรียน โรงเรียนวัดพระอาสน์ จำนวน 2 ชุด มอบหมายให้ประธานโครงการเชิญนาบอำเภอท่าศาลามาปิดดครงกการ ภาคีเครื่อข่ายที่ร่วมกิจกรรมมาอย่างต่อเนื่องโดยกำหนดให้จักกิจกรรม มหกรรมเกษตรอิทรีย์บ้านปลักจอกเสริมรายได้ในวันที่ 24 สิงหาคน 2559 เลิกประชุมเวลา 12.00น.

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะทำงานได้นำเสนอผลการเยี่ยมเยียนสมาชิกโครงการ ปัญหาและอุปสรรคในการทำกิจกรรมและ มอบหมายหน้าที่ คณะทำงานในการจัดการมหกรรมเกษตรอินทรียย์บ้านปลักจอกเสริมรายได้

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 20 คน จากที่ตั้งไว้ 20 คน
ประกอบด้วย

สภาผู้นำประกอบด้วยคณะกรรมการหมู่บ้านจำนวน 15 คน อสม. 5 คน รวม 20 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ให้ความรู้แก่สมาชิก ในกการทำน้ำหมักชีวภาพ และน้ำหมักไล่แมลง และเเน่นให้เห็นวามสำคัญมากขึ้น

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประเมินภาวะเสี่ยงสารเคมีตกค้างในเลือดของผู้เข้าร่วมโครงการและกลุ่มเกษตรกรในชุมชน ครั้งที่ 210 กรกฎาคม 2559
10
กรกฎาคม 2559รายงานจากพี่เลี้ยง โดย ศุภกิจ
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อสร้างกระบวนส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ปัญหาโดยการทพเกษตรอินทรีย์หลีกเลี่ยงสารเคมี

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

คณะกรรการโครงการคณะทำงานและสมาชิกสภาผู้นำและประชาชนในชุมชนจำนวน 100 คน ได้มีการจัดกิจกรรมการเจาะเลือดหาสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดซึ่งได้ดำเนินการเป็นรอบหนึ่งแล้ว  ครั้งนี้เป็นการเจาะเลือดซ้ำในครั้งที่ 2 เพื่อประเมินเปรียบเทียบผลสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดจากได้ดำเนินโครงการ  ว่ามีผลแตกต่างกันอย่างไรบ้น โดยได้รับความร่วมมือจาก รพ.สต. ชุมชนสาธิตวลัยลักษณ์ พร้อมแกนนำ อสม.ในชุมชนร่วมกันตรวจคัดกรอง  พร้อมทั้งมีการบรรยายให้ความรู้แกประชาชนและผู่เข้าร่วมโครงการ ในการบริโภคพืชผักประกอบอาหรในชีวิตประจำวัน การเลือกซื้ออาหารจากท้องตลาด ทั้งนี้ประชาชนในชุมชนมีความสนใจและให้ความสำคัญในการร่วมกิจกรรมในวันนี้เป็นอย่างมาก

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ประชาชนในชุมชนจำนวน 100 คนได้รับการประเมินภาวะเสี่ยงสารเคมีตกค้างในเลือด ได้รับการความรู้การบริโภคพืชผักประกอบอาหรในชีวิตประจำวัน การเลือกซื้ออาหารจากท้องตลาด  และคนในชุมชนมีความตระหนักและให้ค่วามร่วมือในการจัดกิจกรรมในชุมชน

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 100 คน จากที่ตั้งไว้ 60 คน
ประกอบด้วย

คณะกรรมการโครงการและประชาชนกลุ่มเสี่ยงในชุมชนจำนวน 100 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

การติดตามสนับสนุนของ สจรส.มอ.ลงพื้นที่ติดตามโครงการ18 มิถุนายน 2559
18
มิถุนายน 2559รายงานจากพี่เลี้ยง โดย ศุภกิจ
circle
วัตถุประสงค์

เสริมสร้างสมรรถนะขีดความสามารถของผู้รับผิดชอบโครงการและติดตามสนับสนุนประเมินผล

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เจ้าหน้าที่ สจรส.ม.อ. 4 คน พี่เลี้ยงโครงการ 1 คน ร่วมกันลงพื้นที่ติดตามโครงการเพื่อสนับสนุนวิชาการ สร้างกำลังใจให้กับการทำงานของพื้นที่ รวมถึงการแก้ปัญหาที่ทีมพี่เลี้ยงไม่สามารถจัดการได้ โดยลงพื้นที่เพื่อพบปะพูดคุย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างทาง หรือช่วยสรุปผลการดำเนินงานและตรวจสอบเอกสารทางการเงินของพื้นที่ที่ศาลาหมู่บ้าน หมู่ที่ 6 ตำบลไทยบุรี อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยตัวแทนโครงการบ้านปลักปลักได้สรุปการดำเนินงานกิจกรรมตามโครงการที่ได้ดำเนินการมีกิจกรรมตรวจหาสารพิษในเลือด ซึ่งผลการตรวจพบว่าส่วนใหญ่เสี่ยงและไม่ปลอดภัย ทำให้ชาวบ้านมีความตื่นตัวและตระหนักถึงปัญหามากยิ่งชึ้น สำหรับกิจกรรมการปลูกผักปลอดสารพิษได้มีการแบ่งกลุ่มปลูกผัก โดยสมาชิก 6 คน จำนวน 10 กลุ่ม คิดเป็นสมาชิก 60 คน แต่ละคนจะไปปลูกข้างบ้าน โดยมีหัวหน้ากลุ่มทำการตรวจ ผักที่ปลูกมีคะน้า ผักบุ้ง ถั่ว มีการส่งเสริมเมล็ดพันธุ์ ตามชนิดที่ต้องการปลูก ไม่ได้มีการกำหนดว่าแต่ละบ้านจะปลูกกี่ชนิดก็ได้ กิจกรรมการจัดทำบัญชีครัวเรือนได้มีการอบรมตัวแทนครัวเรือนไปเรียบร้อยแล้วแต่ยังไม่ได้มีการติดตามการบันทึกบัญชีเพื่อสรุปการจัดทำบัญชีแต่พบว่ามี 1 ครัวเรือนที่ทำนั้นจะทำให้ดูเป็นตัวอย่างกิจกรรมการทำปุ๋ยหมักชีวภาพ มีการรวมกันในหมู่บ้าน โดยปกติชาวบ้านจะใช้ปุ๋ยขี้วัว ขี้ไก่ แกลบเผา ในการนำมาทำปุ๋ยใส่ผัก การใส่ปุ๋ยแต่ละชนิดจะอยู่ที่ประเภทของผัก ซึ่งตรงนี้ยังไม่มีการใส่ข้อมูลในเว็บไซต์ โดยได้รับคำแนะนำการการดำเนินกิจกรรมจากเจ้าหน้าที่ สจรส.มอ. พร้อมทั้งไต้ตรวจสอบเอกสารใบลงทะเบียน เอกสารทางการเงินและได้แจ้งเรื่องการหักภาษี ณ ที่จ่าย จากเดิมที่แจ้งว่าไม่ต้องหักภาษีให้ดำเนินการหักภาษีเหมือนเดิมจากนั้นตัวแทนโครงการได้นำเจ้าหน้าที่และพี่เลี้ยงลงพื้นที่ดูแปลงปลูกผักของครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

โครงการมีการดำเนินกิจกรรม
1.กิจกรรมตรวจหาสารพิษในเลือด
2.กิจกรรมปลูกผัก
3.กิจกรรมแบ่งกลุ่มปลูกผัก โดยสมาชิก 6 คน จำนวน 10 กลุ่ม คิดเป็นสมาชิก 60 คน แต่ละคนจะไปปลูกข้างบ้าน โดยมีหัวหน้ากลุ่มทำการตรวจ ผักที่ปลูกมีคะน้า ผักบุ้ง ถั่ว มีการส่งเสริมเมล็ดพันธุ์ ตามชนิดที่ต้องการปลูก ไม่ได้มีการกำหนดว่าแต่ละบ้านจะปลูกกี่ชนิดก็ได้
4.กิจกรรมจัดทำบัญชีครัวเรือน มีการทำแล้ว 1 คน เริ่มทำมาแล้ว 1 เดือน โดยได้แจกจ่ายให้ทีมนำไปทำ แต่ไม่ได้ติดตาม ซึ่งมีอาจารย์มาอบรมให้แล้ว โดย 1 คน ที่ทำนั้นจะทำให้ดูเป็นตัวอย่าง ยังไม่ได้นำมาสรุป
5.กิจกรรมทำน้ำหมักชีวภาพ ทำผังรวมกันในหมู่บ้าน โดยปกติชาวบ้านจะใช้ปุ๋ยขี้วัว ขี้ไก่ แกลบเผา ในการนำมาทำปุ๋ยใส่ผัก การใส่ปุ๋ยแต่ละชนิดจะอยู่ที่ประเภทของผัก ซึ่งตรงนี้ยังไม่มีการใส่ข้อมูลในเว็บไซต์

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 5 คน จากที่ตั้งไว้ 5 คน
ประกอบด้วย

ตัวแทนผู้รับผิดชอบโครงการ จำนวน 5 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

เจ้าหน้าที่ได้แนะนำการจัดทำเอกสารหลักฐานและให้พื้นที่ดำเนินกิจกรรมที่เหลือให้เรียบร้อยตามปฏิทินโครงการ

ติดตามการดำเนินการปลูกผัก ทำปุ๋ย และบัญชีครัวเรือน17 มิถุนายน 2559
17
มิถุนายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย บุญฤทธิ์ ช่วยชู
circle
วัตถุประสงค์

ลดราบจ่ายในครัวเรือน และทำบัญชีครัวเรือนได้ถูกต้อง

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

คณะทำงานผู้รับผิดชอบโครงการได้ออกเยี่ยมเยียนสมาชิกโครงการ เพื่อติดตรามและประเมินผลการทำกิจกรรมการปลูกผัก การทำปุ๋ย การทำบัญชีครัวเรือน พบว่า ผู้ร่วมโครงการจำนวน 60 ครัวเรือน ได้ทำการปลูกผัก เช้น คะน้า กวางตุ้ง ผักกาด ผักชี ผักบุ้ง อย่างต่อเนื่อง จำนวน 58 ราย ไม่ต่อเนื่อง 2 ราย พบว่า การปลูกพืชผักอายุสั้นที่มีแมลงรบกวนมากบางรายได้แก่ หนอนใยผักกัดกิน การทำปุ๋ยหมักสมาชิกโครงการใช้มูลสัตว์ได้แก่ มูลวัว มูลสุกร ในการผสมดินปลูก การทำบัญชีครัวเรือนมีผู้ทำอย่างต่อเนื่อง จำนวน 15 ราย ในการประชุมประชาคมหมู่บ้านสมาชิกโครงการ ได้ร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสรุปการปลูกผักโดยไม่ใช้สารเคมี เหมาะสำหรับผักพื้นบ้านอายุสั้นที่มีโรคและแมลงรบกวนน้อย เช่น ข่า ตะไค้ร ผักชีไทย พริก มะเขือ จะได้ผลที่ดี แต่การปลูกคะน้า กวางตุ้ง ผักกาด มีแมลง และหนอน รบกวนมาก ซึ่งคณะทำงานและสถาผู้นำจะได้ศึกษาเรียนรู้การปลูกผักปลอดสารพิษจากแหล่งเรียนรู้อื่นๆ นำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้แก่สมาชิกโครงการต่อไป สมาชิกบางรายจำนวน 5 ราย สามารถจำหน่ายผลผลิต เช่น ผักบุ้ง ผักชีไทย ในตลาดท้องถิ่น (ตลาดศุกร์หน้าวัดพระอาสน์) เป็นรายได้ของครัวเรือน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะทำงานมีการเยี่ยมเยียนสมาชิกเพื่อประเมินผล การปลูกพืชผัก ปัญหาอุปสรรคของสมาชิกผู้ร่วมโครงการเดือนละ 1 ครั้ง ปัญหาที่พบ คือ คณะทำงานได้ทำการศึกษาค้นคว้าข้อมูลการป้องกันโรคและแมลง โดยไม่ใช้สารเคมี จากหน่วยงานของรัฐและกลุ่มอื่นๆ เช่น แหล่งเรียนรู้ของครูเคลื่อน ที่อำเภอสระแก้ว ศูนย์อารักขาพืชกระทรวงเกษตรจังหวักสุราษฎร์ธานี แนะนำการใช้เชื้อราบิวเวอเรียในการกำจัดโรคพืช และใช้บิวเวอเรียในการกำจัดศัตรูพืช ซึ่งจะได้นำมาถ่ายทอดเรียนรู้ร่วมกันกับสมาชิกตอไป

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 60 คน จากที่ตั้งไว้ 60 คน
ประกอบด้วย

เด็กเยาวชน จำนวน 17 คน อบต. จำนวน 2 คน กรรมการหมู่บ้าน 7 คน ประชาขนผู่เข้าร่วมโครงการ 20 คน อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้าน 14 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข
circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมสภาผู้นำ ครั้งที่ 9 เดือนมิถุนายน 25595 มิถุนายน 2559
5
มิถุนายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย บุญฤทธิ์ ช่วยชู
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อติดตามการดำเนินการปลูกผัก ทำปุ๋ย และบัญชีครัวเรือน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ที่ประชุมได้ประหารือเพื่อเตรียมการติดตามการดำเนินการปลูกผัก ทำปุ๋ย และบัญชีครัวเรือน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีการประชุมสภาผู้นำ มอบหมายหน้าที่ผู้รับผิดชอบแต่ละฝ่ายในการเพื่อเตรียมการติดตามการดำเนินการปลูกผัก ทำปุ๋ย และบัญชีครัวเรือน
1 มีการประชุมสภาผู้นำโดยมีผู้เข้าร่วมจำนวน 15คน
2 มอบหมายหน้าที่เพื่อเตรียมการติดตามการดำเนินการปลูกผัก ทำปุ๋ย และบัญชีครัวเรือน

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 20 คน จากที่ตั้งไว้ 20 คน
ประกอบด้วย

สภาผู้นำประกอบด้วยคณะกรรมการหมู่บ้านจำนวน 9 คน อสม. 5 คน ตัวแทนกลุ่มออมทรัพย์1 คน ตัวแทนกลุ่มปุ๋ย 1 คน รวม 15 คน 

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ลงแขกเตรียมพื่นที่และปลูกแปลงสาธิตการปลูกผักชุมชน1 มิถุนายน 2559
1
มิถุนายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย บุญฤทธิ์ ช่วยชู
circle
วัตถุประสงค์

ลดรายจ่ายในครัวเรือนและทำบัญชัครัวเรือนได้ถูกต้อง

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ได้ใช้สถานที่ว่างบริเวณศาลาหมู่บ้านให้เป็นแปลงเกษตรอินทรีปลอดสารพิษโดยปลูกพืชผักที่มีความจำเป็นต้องใช้ในครัวเรือนได้แก่ มะนาว ข่า ตะไคร้ มะกรูด ชะอม ผักเหลียง โดยทำแปลงปลูกลงดิน การปลูกในท่อซีเม้นท์การปลูกในล้อยางรถยนต์ และจัดให้เป็นแห่งเรียนรู้ในหมู๋บ้าน และมีภูมิทัศน์ ที่สวยงามเท่ากับศาลาหมู่บ้าน มีจุดการทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ น้ำหมักไล่แมลง สูตรต่างๆ เช่น น้ำหมักหน่อกล้วย น้ำหมักมูลหมู น้ำหมักไล่แมลงจากต้นใบยาสูบ ที่ประชาชนในชุมชนปลูกเป็นรายได้ในครัวเรือน และนำส่วนที่เหลือทิ้งมาทำสารไล่แมลงคือ ต้นยาสูบและ ก้านใบยาสูบ ซึ่งโดยทั่วไป ประชาชนในหมู่บ้านไม่ได้นำมาใช้ประโยชน์ ให้สมาชิกผู็เข้าร่วมโครงการแต่ละกลุ่มหมุนเวียนกันดูแล และให้สมาาชิกโครงการนำไปใช้ประโยชน์ในครัวเรือนได้

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีแปลงสาธิตการปลูกผักชุมชน 1 แปลง ในบริเวณศาลาหมู่บ้าน เป็นแห่งเรียนรู้และนำไปขยายพันธ์ต่อในชุมชนได้ ในอนาคต แต่ปัญหาที่พบ คือ ขาดแหล่งน้ำในการรดพืชผัก แนวทางการแก้ไข ได้ใช้น้ำประปา ของหมู่บ้านในศาลาหมู่บ้านเป็นแหล่งน้ำ

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 60 คน จากที่ตั้งไว้ 60 คน
ประกอบด้วย

เด็กเยาชน จำนวน 17 คน อบต. จำนวน 2 คน กรรมการหมู่บ้าน 7 คน ประชาขนผู่เข้าร่วมโครงการ 20 คน อาสาสมัครสาธารณะสุขหมู่บ้าน 14 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข
circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

แลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดทำแผนปฏิบัติการบัญชีครัวเรือน10 พฤษภาคม 2559
10
พฤษภาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย บุญฤทธิ์ ช่วยชู
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อลดรายจ่ายในครัวเรือน และทำบัญชีครัวเรือนได้ถูกต้อง 

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประชุมผู้เข้าร่วมโครงการรับฟังปัญหาในการบันทึกบัญชีครัวเรือน ที่พบแต่ละกลุ่ม เช่น บันทึกรายได้บางรายการไม่ถูกต้องหรือค่าใช้จ่ายบางรายการไม่ถูกต้อง วิทยากรให้คำแนะนำร่วมกับสมาชิกสภาผู้นำประจำกลุ่มในการบันทึกรายรับรายจ่ายแต่ละเดือน สมาชิกเห็นความสำคัญของค่าใช้จ่ายที่สามารถลดค่าใช้จ่ายและเพิ่มการออมของครัวเรือนได้และสามารถลงบัญชีรายรับรายจ่ายได้ดีขึ้น ในการทำบัญชีครัวเรือนและให้มีการนำเสนอปัญหาและอุปมรรค์ ในการทำบัญชีครัวเรือน ในการประชุม ประชาคมหมู่บ้าน เป็นประจำทุกเดือน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต

  1. มีการให้ความรู้เพิ่มเติมในการทำบัญชีครัวเรือน
  2. ให้สมาชิกโครงการจัดทำบัญชีครัวเรือนอย่างต่อเนื่อง
  3. มีการติดตามการทำบัญชีครัวเรือนในการประชุมประชาคมหมู่บ้านทุกครั้ง

ผลลัพธ์

  1. มีสมาชิกโครงการมีความรู้ความเข้าใจเพิ่มขึ้น
  2. มีการทำบัญชีครัวเรือน อย่างต่อเนื่อง
  3. มีการเเลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการประชุมประชาคมหมู่บ้าน
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 60 คน จากที่ตั้งไว้ 60 คน
ประกอบด้วย

เด็กเยาวชน จำนวน 17 คน อบต. จำนวน 2 คน กรรมการหมู่บ้าน 7 คน ประชาขนผู่เข้าร่วมโครงการ 20 คน อาสาสมัครสาธารณะสุขหมู่บ้าน 14 คน รวมเป็น 60 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

มีสมาชิกโครงการบางส่วนยังบันทึกรายรับ รายจ่ายไม่ได้ แนวทางแก้ไขทางสมาชิกผู้นำและสภากลุ่มผู้นำและวิทยากรให้ข้อแนะนำ

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

สมาชิกบางส่วนประมาณ 10 คน ยังขาดการทำบัญชีครัวเรือน อย่างต่อเนื่อง

ประชุมสภาผู้นำ ครั้งที่ 8 เดือนพฤษภาคม 25598 พฤษภาคม 2559
8
พฤษภาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย บุญฤทธิ์ ช่วยชู
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อติดตามให้ครัวเรือนในชุมชนสามารถทำบัญชีครัวเรือนได้

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เริ่มประชุมเวลา 9.00 น. ณ ศาลาหมู่บ้าน  ที่ประชุมได้ร่วมกันหารือเรื่องการจัดกิจกรรมติดตามบัญชีครัวเรือนของสมาชิกที่ร่วมทำโครงการจำนวน 10  กลุ่ม  สมาชิกสภาผู้นำกลุ่มละ 2 คนร่วมกันติดตามการทำบัญชีครัวเรือนในละแวกบ้านที่รับผิดชอบเพื่อติดตามประเมินว่ามีการทำบัญชีครัวเรือนถูกต้องหรือไม่  ติดขัดปัญหาอะไรบ้างเพื่อที่จะช่วยเหลือแนะนำให้แต่ละครัวเรือนได้มีการจัดทำบัญชีครัวเรือน  และมีข้อเสนอแนะหาวิธีกระตุ้นและจูงใจให้สมาชิกในโครงการมีการทำบัญชีครัวเรือนอย่างต่อเนื่อง

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีการประชุมสภาผู้นำ มอบหมายหน้าที่ผู้รับผิดชอบแต่ละฝ่ายในการเตรียมการติดตามการปฏิบัติการจัดทำบัญชีครัวเรือน

1 มีการประชุมสภาผู้นำโดยมีผู้เข้าร่วมจำนวน 15 คน

2 มีการมอบหมายให้ตัวแทนสภาผู้นำกลุ่มละ 2 คนติดตามการบันทึกข้อมูลบัญชีครัวเรือนของชุมชนจากจำนวน 10 กลุ่มบ้าน

3 มีข้อเสนอแนะให้หาวิธีกระตุ้นการทำบัญชีครัวเรือนของชุมชน

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 15 คน จากที่ตั้งไว้ 20 คน
ประกอบด้วย

สภาผู้นำจำนวน 20 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

เรียนรู้และฝึกปฏิบัติการจัดทำบัญชีครัวเรือน17 เมษายน 2559
17
เมษายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย บุญฤทธิ์ ช่วยชู
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อลดรายจ่ายในครัวเรือน และทำบัญชีครัวเรือนได้ถูกต้อง 

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

อบรมร่วมเรียนรู้และฝึกปฏิบัติการทำบัญชีครัวเรือน มีเด็กเยาวชนร่วมเรียนรู้การทำบัญชีครัวเรือน พร้อมฝึกปฏิบัติในการลงบัญชีให้ทราบรายรับรายจ่าย สิ่งที่ฟุ่มเฟือย ส่วนที่จะลดรายได้เพื่อให้ทราบสถานะการใช้จ่ายในครัวเรือน จากนั้นมีการร่วมกันทำแผนปฏิบัติการของครัวเรือนในการลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็นเกิดเป็นแผนปฏิบัติการบัญชีครัวเรือน โดยเชิญวิทยากรจากสำนักงานสำนักงานชุมชน อำเภอท่าศาลา จำนวน 2 ท่าน มาให้ความรู้แก่สมาชิกโครงการ โดยในช่วงเช้าเแป็นการให้ความรู้เกี่ยวกับความจำเป็นและประโยชน์ของการทำบัญชีครัวเรือน ให้เห็นถึงรายรับ และรายจ่ายในครัวเรือนมีรายจ่ายไดบ้าสงที่ไม่จำเป็นและสามารถลดค่าใช้จ่ายได้ เช่น ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอร์ บุหรี่ และค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็นอื่นๆ ที่เป็นค่าใช้จ่ายฟุ้งเฟือย วิทยากรได้สอนให้รู้จักการบันทึกบัญชีรายรับในแต่ละเดือน บัญชีรายจ่ายในแต่ละเดือน รายได้คงเหลือ ในช่วงบ่ายได้ให้ผู่เข้าร่วมโครงการ ฝึกปฏิบัติลงบัญชีรายรับ รายจ่ายจริง ผลการดำเนินงานพบว่าผู้เข้าร่วมโครงการยังขาดความเข้าใจที่ชัดเจน ทำให้ยากต่อการทำบัญชี ทั้งนี้ที่ประชุมได้ตกลงร่วมกันให้ทุกคนทำบัญครัวเรือนเป็นประจำทุกเดือน และให้นำเสนอผลการทำบัญชีปัญหาอุปสรรคในการทำบัญชีครัวเรือนในการประชุมประชาคมประจำเดือนของหมู่บ้าน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีการอบรมการจัดทำบัญชีครัวเรือน และกำหนดให้ผู็เข้าร่วมโครงการทุกคนบันทึกรายรับรายจ่ายที่เกิดขึ้นจริงในครัวเรือนเป็นประจำทุกครั้งและให้มีการนำเสนอผลการทำบัญชีครัวเรือนในการประชุมประชาคตมหมู่บ้านประจำเดือน

ปัญหาที่พบ คือ สมาชิกโครงการขาดความรู้ความเข้าใจ ที่ชัดเจนในการบันทุกบัญชี แนวทางแก้ไข ให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน เพื่อให้เกิดความเข้าใจทีดีขึ้น มีสมาชิกโครงการที่เป็นเยาวชนผ่านการศึกษาสาขาบัญชีได้ช่วยแนะนำการลงบัญชีที่ถูกต้อง

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 60 คน จากที่ตั้งไว้ 60 คน
ประกอบด้วย

สมาชิกผู้เข้าร่วมโครงการ ประกอบด้วยดเ็กเยาวชน สมาชิก อบต. ไทยบุรี กรรมการหมู่บ้าน หมู่ที่ 6 ประชาชน ผู้เข้า่วมโครงการ

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข
circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมสภาผู้นำ ครั้งที่ 7 เดือนเมษายน 255916 เมษายน 2559
16
เมษายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย บุญฤทธิ์ ช่วยชู
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อติดตามให้ครัวเรือนในชุมชนสามารถทำบัญชีครัวเรือนได้

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เริ่มประชุมเวลา 9.00 น. ณ ศาลาหมู่บ้านที่ประชุมได้ร่วมกันหารือเรื่องการจัดกิจกรรมติดตามบัญชีครัวเรือนของสมาชิกที่ร่วมทำโครงการจำนวน 10กลุ่มสมาชิกสภาผู้นำกลุ่มละ 2 คนร่วมกันติดตามการทำบัญชีครัวเรือนในละแวกบ้านที่รับผิดชอบเพื่อติดตามประเมินว่ามีการทำบัญชีครัวเรือนถูกต้องหรือไม่ติดขัดปัญหาอะไรบ้างเพื่อที่จะช่วยเหลือแนะนำให้แต่ละครัวเรือนได้มีการจัดทำบัญชีครัวเรือนและมีข้อเสนอแนะหาวิธีกระตุ้นและจูงใจให้สมาชิกในโครงการมีการทำบัญชีครัวเรือนอย่างต่อเนื่อง

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีการประชุมสภาผู้นำ มอบหมายหน้าที่ผู้รับผิดชอบแต่ละฝ่ายในการเตรียมการติดตามการปฏิบัติการจัดทำบัญชีครัวเรือน

1 มีการประชุมสภาผู้นำโดยมีผู้เข้าร่วมจำนวน 15 คน

2 มีการมอบหมายให้ตัวแทนสภาผู้นำกลุ่มละ 2 คนติดตามการบันทึกข้อมูลบัญชีครัวเรือนของชุมชนจากจำนวน 10 กลุ่มบ้าน

3 มีข้อเสนอแนะให้หาวิธีกระตุ้นการทำบัญชีครัวเรือนของชุมชน

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 20 คน จากที่ตั้งไว้ 20 คน
ประกอบด้วย

สภาผู้นำประกอบด้วยคณะกรรมการหมู่บ้านจำนวน 15 คน อสม. 5 คน 

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประเมินภาวะเสี่ยงสารเคมีตกค้างในเลือดของผู้เข้าร่วมโครงการและกลุ่มเกษตรกรในชุมชน ครั้งที่ 127 มีนาคม 2559
27
มีนาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย บุญฤทธิ์ ช่วยชู
circle
วัตถุประสงค์

ตรวจคัดกรองหาสารเคมีในเลือดแก่ครัวเรือนผู้เข้าร่วมโครงการเพื่อประเมินภาวะเสี่ยงของคนในชุมชน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

จัดให้มีการเจาะเลือดผู้เข้าร่วมโครงการสภาผู้นำ และประชาชนในชุมชนที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 100 คน โดยเจ้าหน้าที่จากสถานีอนามัยชุมชนสาธิตวลัยลักษณ์และคณะ นำเลือดไปทำการตรวจวิเคราะห์ และแจ้งผลให้ทราบตามแบบรายงานผลการรตรวจหาระดับเอ็นไซม์โคลีนเอสเตอเรสในเลือดของเกษตรกรกลุ่มเสี่ยงโดยมีผลการตรวจหาระดับเอ็นไซม์เป็น 4 ระดับคือ

1 ปกติ ระดับเอ็นไซม์โคลีนเอสเตอเรสในเลือดมากกว่าหรือเท่ากับ 100 หน่วยต่อมิลลิลิตร

2 ปลอดภัย ระดับเอ็นไซม์โคลีนเอสเตอเรสในเลือดมากกว่าหรือเท่ากับ 87.5 หน่วยต่อมิลลิลิตร

3 มีความเสี่ยง ระดับเอ็นไซม์โคลีนเอสเตอเรสในเลือดมกกว่าหรือเท่ากับ 75 หน่วยต่อมิลลิลิตร

4 ไม่ปลอดภัย ระดับเอ็นไซม์โคลีนเอสเตอเรสในเลือดต่ำว่า 75 หน่วยต่อมิลลิลิตร

ผลการตรวจปรากฏดังนี้

1 ปกติ จำนวน 1 ราย คิดเป็น ร้อยละ 1

2 ปลอดภัย จำนวน 4 ราย คิดเป็นร้อยละ 4
3 มีความเสี่ยง จำนวน 50 ราย คิดเป็นร้อยละ 50

4 ไม่ปลอดภัย จำนวน 45 ราย คิดเป็นร้อยละ 45

รวม ผู้เข้ารับการตรวจ จำนวน 100 คน

คำแนะนำกรณีปกติหรือปลอดภัยให้มีการตรวจเพื่อเฝ้าระวังปีละ 1 ครั้ง

กรณีมีความเสี่ยงหรือไม่ปลอดภัย เกษตรกรต้องหยุดใช้สารเคมี ไม่สัมผัสหรือไม่บริโภคพืชผักที่ไม่ปลอดภัยจากสารเคมีต้องมีารตรวจติดตามทุก 1 เดือน จนกว่าจะพบว่าปกติหรือปลอดภัย และตรวจติดตามหลังจากนั้น 6 เดือน หากผลการตรวจพบว่าปกติหรือปลอดภัยให้ตรวจเฝ้ระวังทุก 1 ปี

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลการตรวจปรากฏดังนี้ มีผู้เข้ารับการคัดกรองหาสารเคมีในเลือดจำนวน 100 คน พบว่า

  1. ปกติ จำนวน 1 ราย คิดเป็น ร้อยละ 1
  2. ปลอดภัย จำนวน 4 ราย คิดเป็นร้อยละ 4
  3. มีความเสี่ยง จำนวน 50 ราย คิดเป็นร้อยละ 50
  4. ไม่ปลอดภัย จำนวน 45 ราย คิดเป็นร้อยละ 45 รวม ผู้เข้ารับการตรวจ จำนวน 100 คน
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 100 คน จากที่ตั้งไว้ 100 คน
ประกอบด้วย

วัยแรงงาน 60 คน ผู้สูอายุ 40 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมร่วมกับพี่เลี้ยงปรับแก้รายงาน26 มีนาคม 2559
26
มีนาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย บุญฤทธิ์ ช่วยชู
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อที่จะจัดทำรายงานได้ถูกต้อง

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

มีการประชุมผู้รับผิดชอบโครงการร่วมกับพี่เลี้ยง ที่มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ทีมพี่เลี้ยงจังหวัดนครศรีะรรมราชได้ให้แนวทางการงานต่อเนื่อง มีการอภิปรายของโครงการตัวอย่าง แนวทางการถอดบทเรียน โครงการ ว่าเกิดอะไรขึ้นในรอบ 6 เดือนโดยให้ตัวแทนของผู้ที่จัดทำโครงการหนึ่งหมู่บ้านจากหมู่บ้านทั้งหมด มาอธิบายและนำเสนอโครงของตนเอง .ได้ปฏิบัติการแนวทางและวิธีขั้นตอนรายละเอียดการเขียนโครงการแต่ละหัวข้อ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ร่วมประชุมโครงการ สสส.ของจังหวัดนครศรีธรรมราชทุกโครงการเพื่อแนะแนวทางในการเขียนโครงการ และมีตัวแทนกลุ่มอธิบายโครงการ 2 โครงการ 1.โครงการคนเอาถ่าน และฝึกทำเอกสารเกี่ยวกับการสร้างนวัตถกรรม

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

ผู้รับผิดชอบโครงการ 2 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมสภาผู้นำ ครั้งที่ 6 เดือนมีนาคม 255920 มีนาคม 2559
20
มีนาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย บุญฤทธิ์ ช่วยชู
circle
วัตถุประสงค์

พัฒนาศักยภาพสภาผู้นำ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1 มีการประชุมสภาผู้นำโดยมีผู้เข้าร่วมจำนวน 25 คน
2 มอบหมายหน้าที่ฝ่ายบัญชีการเงินจัดเตรียมงบประมาณค่าอาหาร เครื่องดื่มสำหรับการทำกิจกรรมประเมินภาวะเสี่ยงสารเคมีตกค้างในเลือดของผู้เข้าร่วมโครงการและกลุ่มเกษตรกรในชุมชน จำนวนผู้เข้าร่วม 100 คน
3 ผู้ดำเนินโครงการติดต่อประสารหัวหน้าสถานีอนามัยชุมชนสาธิตวลัยลักษณ์ เป็นผู้ดำเนินการนำคณะเจ้าหน้าที่ วัสดุอุปกรณ์ในการเจาะเลือดหาสารเคมี
4 ฝ่ายสถานที่จัดเตรียมสถานทีรองรับผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกวา่ 100 คน
5 การประชาสัมพันธ์ ประชาสัมพันธ์ผ่านเสียงตามสายของหมู่บ้าน สมาชิกสภาผู้นำประจำกลุ่ม

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีการประชุมสภาผู้นำ มอบหมายหน้าที่ผู้รับผิดชอบแต่ละฝ่ายในการเตรียมการจัดประชุมเพื่อทำกิจกรรมประเมินภาวะเสี่ยงสารเคมีตกค้างในเลือดของผู้เข้าร่วมโครงการ และกลุ่มเกษตรกรในชุมชน

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 20 คน จากที่ตั้งไว้ 25 คน
ประกอบด้วย

คณะกรรมการหมู่บ้านจำนวน 15 คน อสม. 5 คน ผู้นำการเกษตรทฤษฎีใหม่ 1 คน ผู้นำภูมิปัญญาท้องถิ่น 1 คน ตัวแทนกลุ่มออมทรัพย์1 คน ตัวแทนกลุ่มปุ๋ย 2 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ขอความช่วยเหลือจากพี่เลี้ยงประสานสถานีอนามัยชุมชนสาธิตวลัยลักษณ์ ได้ช่วยประสานให้เรียบร้อยแล้ว

แลกเปลี่ยนเรียนรู้การปลูกพืชผัก29 กุมภาพันธ์ 2559
29
กุมภาพันธ์ 2559รายงานจากพื้นที่ โดย บุญฤทธิ์ ช่วยชู
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อให้สมาชิกผู้เข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปลูกผักซึ่งกันและกันและได้รับความรู้จากวิทยากรถึงวิธีการปลูกพืชผักปลอดสารพิษ การผสมดินปลูก การทำปุ๋ยหมักชีวภาพ การดูแลรักษา การใช้น้ำหมักชีวภาพส่งเสริมให้คนในชุมชน ใช้พื้นที่ว่างบริเวณบ้านปลูกพืชผักในล้

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1 จัดเวทีเเลกเปลี่ยนเรียนรู้การปลูกพืชผักโดยไม่ใช้สารเคมีของสมาชิกผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 2 วัน

2 วิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกพืชผักโดยไม่ใช้สารเคมีโดย คุณคำนึง นวลมณี ในรูปแบบต่างๆ เช่น การปลูกผักแบบยกแคร่ การปลูกพืชผักในล้อยางรถยนต์ การปลูกพืชผักในถังซีเม็น การปลูกพืชร่วมยางพารา

3 ติดตามการปลูกพืชผักในล้อยางรถยนต์โดยไม่ใช้สารเคมีโดยแกนนำของกลุ่มบ้าน ที่แบ่งตามละแวกกลุ่มบ้าน 6 กลุ่มเพิ่อเรียนรู้ร่วมกัน

4 สรุปปัญหาการปลูพืชผักโดยไม่ใช้สารเคมีในล้อยางรถยนต์

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 60 คนมีความรู้ความเข้าใจถึงวิธีการปลูกพืชผักโดยไม่ใช้สารเคมี
  2. สมาชิกผู้เข้าร่วมโครงการได้ปลูกพืชผัก เช่น คะน้า กวางตุ้ง ผักบุ้งจีน ผักชีไทย คนละ 5 ล้อ
  3. มีการติดตามโดยแกนนำของกลุ่มและสมาชิกสภาผู้นำที่รับผิดชอบในแต่ละกลุ่มพบว่า มีการดำเนินการของสมาชิกทุกราย

ปัญหาที่พบ

  1. มีศัตรูพืชรบกวน เช่น หนอนใยผัก แมลงกัดกินพืชผักในเวลากลางคืน
  2. พืชผักของสมาชิกบางรายไม่สมบูรณ์งอกงามเท่าที่ควร

แนวทางแก้ไข

  1. ต้องให้ความรู้เรื่องการทำสารไล่แมลงเพิ่มขึ้น ให้มีการปฏิบัติจริงและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างสมาชิกเพิ่มขึ้น
  2. ต้องปรับปปรุงดินปลูกให้มีคุณภาพมากขึ้น
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 60 คน จากที่ตั้งไว้ 60 คน
ประกอบด้วย

เด็กเยาชน จำนวน 17 คน อบต. จำนวน 2 คน กรรมการหมู่บ้าน 7 คน ประชาขนผู่เข้าร่วมโครงการ 20 คน อาสาสมัครสาธารณะสุขหมู่บ้าน 14 คน และสมาชิกผู้เข้าร่วมโครงการ รวมจำนวน 60 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข
circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมสภาผู้นำ ครั้งที่ 5 เดือนกุมภาพันธ์ 255928 กุมภาพันธ์ 2559
28
กุมภาพันธ์ 2559รายงานจากพื้นที่ โดย บุญฤทธิ์ ช่วยชู
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อเตรียมความพร้อมในการทำกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปลูกผัก

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เริ่มประชุมเวลา 9.00 น.ที่ศาลาประชุมของหมู่บ้าน โดยมีการพูดคุยเพื่อเตรียการการจัดกิจกรรมการทำปุ๋ยและทำน้ำหมักชีวภาพ มอบหมายบทบาทหน้าที่ ในการจัดกิจกรรมแลกเลี่ยนเรียนรู้การปลูกผักโดยได้เชิญวิทยากรภายนอกคือ คุณคำนึง นวลมณี จากอำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา ซึ่งเป็นผู็มีความรู้และประสบการณ์ในการปลูกพืชผักปลอดสารพิษในล้อยางรถยนต์ ในปล่องซีเมนต์ซึ่งผู้รับผิดชอบโครงการได้เชิญมาเป็นวิทยากรและได้ติดต่อประสานงานไว้เเรียบร้อยแล้ว คณะทำงานฝ่ายผู้รับผิดชอบจัดเตรียมสถานที จัดเตรียมอาหารสำหรับผู้เข้ารับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และคณะวิทยากร ฝ่ายสถานที่ได้ประสารยืมจอเพาเวอร์พอยส์จากสถานนีอนามัยบ้านหาร ให้แต่ละกลุ่มแจ้งสมาชิกผู็เข้าาร่วมโครงการและประชาสัมพันธ์เชิญชวนประชาชนในหมู่บ้านที่สนใจผ่านเสียงตามสายของหมู่บ้าน สมาชิกสภาผู้นำทุกคนรับทราบ และรับมอบหมายหน้าที่ที่ต้องไปปฏิบัติ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. มีการประชุมสมาชิกสภาผู้นำ
  2. สมาชิกสภาผู้นำฝ่ายต่างๆ รับมอบหมายหน้าที่ ทั้งสถานที่ ประสานวิทยากร อาหารจัดเลี้ยงผู้เข้าร่วมโครงการและคณะวิทยากร
  3. การประชาสัมพันธ์โดยสภาผู้นำผู้แทนกลุ่มทั้ง 10 กลุ่ม และการประชาสัมพันธ์ผ่านเสียงตามสายของหมู่บ้าน
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 25 คน จากที่ตั้งไว้ 20 คน
ประกอบด้วย

สภาผู้นำประกอบด้วยคณะกรรมการหมู่บ้านจำนวน 15 คน อสม. 5 คน ผู้นำการเกษตรทฤษฎีใหม่ 1 คน ผู้นำภูมิปัญญาท้องถิ่น 1 คน ตัวแทนกลุ่มออมทรัพย์1 คน ตัวแทนกลุ่มปุ๋ย 1 คน และตัวแทนเยาวชน 1 คน รวม 25 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ปฏิบิตัการทำปุ๋ย ทำน้ำหมักชีวภาพ25 กุมภาพันธ์ 2559
25
กุมภาพันธ์ 2559รายงานจากพื้นที่ โดย บุญฤทธิ์ ช่วยชู
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อให้คนในชุมชนทำเกษตรอิทรีย์ ลดการใช้สารเคมี 

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประชุมสมาชิกโครงการ แจกเอกสารการทำน้ำหมักชีวภาพและ สารไล่แมลงในการปลูกพืชผัก ปลอดสารพิษ โดยได้ศึกษาเรียนรู่ร่วมกันในการทำน้ำหมักชีวภาพ จำนวน 2 สูตร คือ
1 การทำน้ำหมักน้ำพ่อ ประกอบด้วย วัสดุที่ใช้ ได้แก่ ฟักทอง กล้วยน้ำหว้าสุก จุลินทรีย์หัวเชื้อ และกากน้ำตาล โดยมีวิธีทำ ดังนี้ นำฟักทองและกล้วยน้ำหว้าฝานเป็นชิ้นๆ ขนาดเท่าลูกเต๋า จำนวน อย่างละ 3 กิโลกรัม แล้วนำมารวมกัน ใช้กากน้ำตาล จำนวน 1.5 ลิตร คนไปในทิดทางเดียวกัน ใส่หัวเชื้อจุลินทรีย์ หมักไว้ประมาณ 15 - 20 วัน บรรจุในถังปิดฝาไว้หลวมๆ คนทุกวัน เมื่อครบกำหนดจึงนำน้ำหัวเชื้อเข้มข้นำ จำนวน 10 ช้อนโต๊ะ ผสมน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ้น 3 -5 วันต่อครั้ง ใช้ในการบำรุงพืชกินผล เช่น มะเขือ แตงกวา พริก บวบ และพืชกินผลทุกชนิด 2 การทำน้ำหมักน้ำแม่ มีส่วนประกอบได้แก่ ผักบุ้ง หน่อกล้วย หน่อไม้ โดยสัดส่วนอย่างละ 3 กิโลกรัม สับเป็นชิ้นเล็กๆ กากน้ำตาลจำนวน 1.5 ลิตร คนไปในทิดทางเดียวกัน หมักไว้ในถังปิดฝาหลวมๆ และเปิดระบายแก๊สทุกวัน ใช้เวลาในการหมัก 15 - 20 วัน ได้น้ำหัวเชื้อ นำน้ำหัวเชื้อ 3 -5 ช้อนโต๊ะ ผสมน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ้นพืชกินใบใช้ในการบำรุงต้นและใบ สำหรับพืชกินใบ เช่น คะน้า กวางตุ้ง ผักชี ขึ้นช้าย 3 การทำสารไล่แมลง โดยใช้วัสดุที่มีอยู่ในท้องถิ่น เนื่องจาก ประชาชนในหมู่บ้าน มีการปลูกยาสูบ ทำเป็นยาเส้น จำหน่ายเป็นผลิตภัณฑ์อยู่เเล้ว จึงใช้วัสดุที่เหลือทิ้ง ได้แก่ ลำต้นยาสูบ ก้านใบ หน่อ นำมาสับละเอียด แช่น้ำเป็นเวลา 48 ชั่วโมง เป็นหัวเชื้อ นำน้ำหัวเชื้อ 5 ช้อนโต๊ะ ผสมน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ้นในเวลาเช้า หรือเย็น ติดต่อกัน 3 วันครั้ง สามารถกำจัดสัตรูพืช เช่น เพลี้ยแป้ง เพลี้ยอ่อน หนอนชอนใบ เพลี้ยไฟ ไรขาว โดยฉีดให้ถูกตัวสัตรูพืช ติดต่อกัน 5 ครั้ง โดยไม่เป็นพิษต่อเกษตรกรและผู็บริโภต หลังจากได้เรียนรู้น่วมกันแล้วให้สมาชิกร่่วมกันทำน้ำหมักชีวภาพ จากวัสดุที่จักเตรียมมาทดลองปฏิบัติ และให้สมาชิกทุกคนไปจัดทำในครัวเรือน หรือร่ามกันทำตามกลุ่มในสมาชิกแบ่งกลุ่มกันใช้ นอกจากนั้นได้ให้ข้อมูลเอกสารการทำน้ำหมักชีวภาพให้ไปศึกษาเรียนรู้ในกลุ่มและปรับใช้ตามความเหมาะสมของวัสดุที่ใช้ประกอบในการจัดทำตามคาวมพร้อมของแต่ละกลุ่มแลมอบหมายให้ตัวแทนของกลุ่มทั้ง 10 กลุ่ม กลุ่มละ 1 คน ช่วยกันคนน้ำหมักชีวภาพเพื่อใช้สำหรับการปลูกผักของส่วนกลางต่อไป

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. เกิดการเรียนรู้การทำน้ำหมักชีวภาพ และสารไล่แมลงจำนวน 3 สูตร
  2. สมาชิกโครงการได้ร่วมกันทำนเำหมักชีวภาพ สูตรน้ำพ่อ และสูตรน้ำแม่ สำหรับเป็นปุ๋ยทางใบแก่พืชผักที่ปลูกและสารไล่แมลงจากใบยาสูบ
  3. สมาชิกผู้เข้าร่วมโครงการสามารถเรียนรู้การทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ สูตรอื่นๆ จากเอกสารประกอบตามความเหมาะสมของพืชที่ปลูกในครัวเรือน ได้ด้วยตนเอง
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 60 คน จากที่ตั้งไว้ 60 คน
ประกอบด้วย

เด็กเยาชน จำนวน 17 คน อบต. จำนวน 2 คน กรรมการหมู่บ้าน 7 คน ประชาขนผู่เข้าร่วมโครงการ 20 คน อาสาสมัครสาธารณะสุขหมู่บ้าน 14 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมจัดทำรายงาน งวดที่ 113 กุมภาพันธ์ 2559
13
กุมภาพันธ์ 2559รายงานจากพี่เลี้ยง โดย ศุภกิจ
circle
วัตถุประสงค์

การติดตามการดำเนินงานและการจัดทำรายงานติดตามงวดที่1

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ทีมพี้เลี้ยงของ สจรส.มอ. และทีมพี่เลี้ยงชี้แจงวัตถุประสงค์ของกิจกรรมพร้อมทั้งตรวจสอบเอกสารหลักฐานตามที่โครงการได้ดำเนินกิจกรรมไปแล้ว หลักฐานรายละเอียดผู้เข้าร่วมกิจกรรม ใบลงทะเบียน และหลักฐานทางการเงินพร้อมทั้งแนะนำการจัดทำเอกสารให้ถูกต้อง

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีการตรวจเอกสารทางด้านการเงิน เช่น ใบเสร็จรับเงิน ใบสำคํญรับเงิน ใบกำกับภาษี รายชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรมในแต่ละกิจกรรม เพื่อให้โครงการจัดทำให้ถูกต้องและแนะนำการจัดทำรายงาน ง.1 และการรายงาน ส .1 เพื่อส่งสรุปงวดที่ 1 ของโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

ผู้รับผิดชอบโครงการ จำนวน 2 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ประชุมจัดทำรายงาน งวดที่ 113 กุมภาพันธ์ 2559
13
กุมภาพันธ์ 2559รายงานจากพื้นที่ โดย บุญฤทธิ์ ช่วยชู
circle
วัตถุประสงค์

ประชุมจัดทำรายงาน งวดที่ 1

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

คณะทำงานของ สจรส.มอ. และทีมพี่เลี้ยงชี้แจงวัตถุประสงค์ของกิจกรรมพร้อมทั้งตรวจสอบเอกสารหลักฐานตามที่โครงการได้ดำเนินกิจกรรมไปแล้ว หลักฐานรายละเอียดผู้เข้าร่วมกิจกรรม ใบลงทะเบียน และหลักฐานทางการเงินพร้อมทั้งแนะนำการจัดทำเอกสารให้ถูกต้อง

  1. แบบสรุปรายงานการเงินการทำกิจกรรมครั่งที่ 1 - 5
  2. จัดทำแบบแจกแจงรายจ่ายแยกตามกิจกรรมของโครงการ
  3. บันทึกแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการที่มีประสบการณ์ที่ดีและมีรูปธรรมความสำเร็จ และวิเคราะห์ปัญหาและทบทวนปรับปรุงวิธีการดำเนินโครงการ
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จัดทำเอกสารทางการเงินตั้งแต่เริ่มทำกิจกรรมถึงปัจจุบันได้ดำเนินกิจกรรมไปแล้ว 5 กิจกรรม และบันทึกข้อมูลเข้าเว็บไซต์ในการทำกิจกรรมทั้ง 5 ครั้ง

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

ผู้รับผิดชอบโครงการ จำนวน 2 คน 

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

เวทีแลกเปลี่ยนและคืนข้อมูลสู่ชุมชน31 มกราคม 2559
31
มกราคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย บุญฤทธิ์ ช่วยชู
circle
วัตถุประสงค์

เวทีแลกเปลี่ยนและคืนข้อมูลสู่ชุมชน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

จัดประชุมคืนข้อมูลแก่ชุมชนจากการเก็บรวบรวมข้อมูลภาคสนาม และสรุปประเด็นต่างๆ จากการวิเคราะห์ข้อมูล โดยมีประเด็นต่างๆ จำนวน 14 ประเด็น ประธานที่ประชุมได้นำเสนอต่อที่ประชุม และเปิดให้มีการเเสดงความคิดเห็นตามสภาพความเป็นจริงในชุมชน เป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่ประชุมได้เเสดงความคิดเห็นสรุปสาระสำคัยของปัญหาในชุมชน  ได้แก่
1 จำนวนครัวเรือนที่ตอบแบบสอบถามจำนวน 100 ครัวเรือน 2 รายได้ของครัวเรือนไม่เกิน 10000 จำนวน 73 ครัวเรือน เกินกว่า 10000 แต่ไม่เกิน 20000 จำนวน 13 ครัวเรือน เกินกว่า 20000 จำนวน 14 ครัวเรือน
3 จำนวนครัวเรือนที่ทำบัยชีรับ จ่าย สม่ำเสมอ จำนวน 6 ครัวเรือน ไม่ได้ทำบัญชีรับจ่าย จำนวน 94 ครัวเรือน 4 ในรอบปีที่ผ่านมามีการลงทุนในภาคเกษตร จำนวน 73 ครัวเรือน นอกภาคเษตร จำนวน 27 ครัวเรือน ในภาคเกษตร เช่น ซื้อเมล็ดพันธ์ ซื้อปุ๋ย ซื้อยาฆ่าแมลง ซื้อยาฆ่าหญ้า
5 ครัวเรือนที่มีหนี้สินจำนวน 80 ครัวเรือน ไม่มีหนี้สิน 20 ครัวเรือน มีเงินออม 53 ครัวเรือน ไม่มีเงินออม 47 ครัวเรือน หนี้สินได้แก่ ผู้ซื้อปุ๋ย ปลูกบ้าน ให้ลูดหลานใช้ในการศึกษา 6 ครัวเรือนที่ใช้ปุ๋บเคมี จำนวน 76 ครัวเรือน ไม่ใช้ปุ๋ยเคมี 23 ครัวเรือน 7 ครัวเรือนที่ใช้สารเคมี จำนวน 73 ครัวเรือน ไม่ใช้สารเคมี 27 ครัวเรือน สารเคมีที่ใช้ได้แก่ยาฆ่าหญ้า ยาฆ่าแมลง ฮอร์โมนพืช 8 ปริมาณยาฆ่าหญ้าและสารเคมีที่ใช้ 90 ครัวเรือน ไม่เกิน 10 ลิตรต่อปี
9 การใช้สารเคมีในการฆ่าหญ้าโดยการจ้าง 41 ครัวเรือน โดยการทำเอง 59 ครัวเรือน 10 จำนวนครัวเรือนที่รู้วิธีใช้สารเคมีที่ถูกต้อง เช่น สวมกางเกงขายาว เสื้อแขนยาว สวมถุงมือ หน้ากาก หมวก และรองเท้าบูท จำนวน 90 ครัวเรือน ไม่มีความรู้ที่ถูกต้องจำนวน 10 ครัวเรือน
11 จำนวนครัวเรือนที่รู้ถึงพิษภัยของสารเคมี จำนวน 100 ครัวเรือน 12 จำนวนครัวเรือนทีรู้วิธีการหลีกเหลี่ยงการใช้สารเคมีในการทำเกษตร จำนวน 100 ครัวเรือน เช่น การตัดหญ้า การใช้ปุ๋ยหมัก
13 การเจ็บป่วยของประชาชนในชุมชนจำนวนครัวเรือนที่เห็นว่าเป็นเพราะการใช้สารเคมี และการรับประธานอาหารปนเปื้อนจากการใช้สารเคมี จำนวน 86 ครัวเรือน 14 ถ้ามีวิธีการหลีกเหลี่ยงการใช้สารเคมีในการทำการเกษตรจำนวนครัวเรือนที่จะะปรับเปลี่ยน จำนวน 93 ครัวเรือน ไม่ปรับเปลี่ยน 7 ครัวเรือน     ที่ประชุมได้แสดงความคิดเห็นร่วมกัน เห็นควรพัฒนาไปสู่การแก้ปัญหาในประเด็นต่างๆ ดังนี้ 1.ควรมีกิจกรรมเพิ่มรายได้ ให้แก่ครัวเรือนต่างๆ เนื่องจากประชาชนมีรายได้ต่อเดือนค่อนข้างต่ำ ไม่เกิน 10000 บาท ให้สอดคล้องกับศักยภาพของชุมชน 2.ประชาชนส่วนไหญ่ ยังขาดการทำบัญชีครัวเรือน ให้รู้ถึงรายได้ และรายจ่ายในแต่ละเดือนได้ใช้จ่ายไปเพื่อการใดบ้าง สามารถประหยัดค่าใช้จ่ายและเพิ่มเงินออมให้มากขึ้น ลดการใช้จ่าย การลงทุน ในการทำการเกษตรโดยใช้สารเคมี เช่น ยาฆ่าหญ้า ปุ๋ยเคมี ให้น้อยลง 3.ควรมีกิจกรรมให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับโทษและพิษภัยจากการใช้สารเคมี ให้มีความรู้มากขึ้น โดยควรเชิญวิทยากรทางด้านสาธารณะสุขมาให้ความรู้ ในการประชุมประชาคมหมู่บ้านอย่างต่อเนื่อง 4.ควรบรรจุกิจกรรมการส่งเสริมอาชีพไว้ในแผนชุมชน เพื่อให้ได้รับการสนับสนุนจากหน้าวยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น องค์การบริหารส่วนตำบลไทยบุรี สำนีกงานส่งเสริมการเกษตรอำเภอท่าศาลา แลบะหน่วยงานอื่นๆ ทั้งด้านความรู้ วัสดุอุปกรณ์ในการประกอบอาชีพ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และคืนข้อมูลสู่ชุมชน สรุปที่ประชุม เห็นด้วยกับปัญหาจากการเก็บรวบรวมข้อมูล และสรุปความเห็นควรแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นโดย

  1. ปรับปรุงแผนพัฒนาหมู่บ้าน และเสนอปัญหาเข้าสู่แผนพัฒนาตำบลขององค์การบริหารส่วนตำบลไทยบุรีในเรื่อง โครงการพัฒนาอาชีพเสริมด้านการเกษตร โดยเน้นเกษตรอิทรีย์ไม่ใช้สารเคมีในกระบวนการผลิตและกิจกหรรมให้ความรู้ในการทำการคเกษตรปลอดสารพิษ รวมทั้งแนวทมางในการพัฒนาให้เป็นผลิตภัณท์ ให้เป็นผลิตภัณท์ของหมู่บ้าน อย่างยั่งยืน
  2. จัดตั้งกลุ่มอาชีพในชุมชนได้แก่กลุ่ม ปลูกพืชผักปลอดสารพิษ กลุ่มทำปุ๋ยชีวภาพ กลุ่มการตลาดพืชผักปลอดสารพิษ
  3. จัดตั้งกลุ่มเยาวชนในการทำกิจกรรมในชุมฃนร่วมกับผู้ปกครองเพื่อเรียนรู้และปลูกฝังให้เยาวชนให้เห็นถึงโทษและพิษภัยของสารเคมีในการทำการเกษตร
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 102 คน จากที่ตั้งไว้ 100 คน
ประกอบด้วย

จำนวน 102 คน ประกอบด้วย เด็กและเยาวชนจำนวน 17 คน สมาชิก อบต.ไทยบุรี จำนวน 2 คน กรรมการหมู่บ้านจำนวน 7 คน อสม. จำนวน 14 คน ประชาชนในหมู่บ้าน 62 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

วิเคราะห์ข้อมูลจากการสำรวจ16 มกราคม 2559
16
มกราคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย บุญฤทธิ์ ช่วยชู
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูลจากการสำรวจ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

คณะกรรมการ สภาผู้นำ และตัวแทนครัวเรือนในชุมชน จำนวน 50 คนได้ร่วมประชุมเพื่อนำข้อมูลที่ได้จากการสำรวจมาร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูล โดยประธานในที่ประชุมได้ให้ผู้สำรวจข้อมูลเล่าถึงการลงภาคสนามไปจัดเก็บข้อมูล สรุปปัญหาอุปสรรคในการจัดเก็บ และสรุปข้อมูลการจัดเก็บตามประเด็นเนื้อหาของแบบสำรวจ  ผู้เข้าร่วมประชุมได้ร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็น แลกเปลี่ยนประสบการณ์จากข้อมูลที่ได้นำเสนอ โดยเฉพาะที่เป็นประเด็นปัญหาของชุมชนว่าเกิดจากอะไร และจะสามารถแก้ไขปัญหาเหล่านั้นอย่างไรบ้าง มีการสรุปประเด็นต่างๆ จากการวิเคราะห์ข้อมูล  ได้แก่ มีจำนวนครัวเรือนที่ตอบแบบสอบถามจำนวน 100 ครัวเรือน 2 รายได้ของครัวเรือนไม่เกิน 10000 จำนวน 73 ครัวเรือน เกินกว่า 10000 แต่ไม่เกิน 20000 จำนวน 13 ครัวเรือน เกินกว่า 20000 จำนวน 14 ครัวเรือน  มีจำนวนครัวเรือนที่ทำบัยชีรับ จ่าย สม่ำเสมอ จำนวน 6 ครัวเรือน ไม่ได้ทำบัญชีรับจ่าย จำนวน 94 ครัวเรือน ครัวเรือนมีการลงทุนในภาคเกษตร จำนวน 73 ครัวเรือน นอกภาคเษตร จำนวน 27 ครัวเรือน ในภาคเกษตร เช่น ซื้อเมล็ดพันธ์ ซื้อปุ๋ย ซื้อยาฆ่าแมลง ซื้อยาฆ่าหญ้า  ครัวเรือนที่มีหนี้สินจำนวน 80 ครัวเรือน ไม่มีหนี้สิน 20 ครัวเรือน มีเงินออม 53 ครัวเรือน ไม่มีเงินออม 47 ครัวเรือน หนี้สินได้แก่ ผู้ซื้อปุ๋ย ปลูกบ้าน  ครัวเรือนที่ใช้ปุ๋ยเคมี จำนวน 76 ครัวเรือน ไม่ใช้ปุ๋ยเคมี 23 ครัวเรือน  ครัวเรือนที่ใช้สารเคมี จำนวน 73 ครัวเรือน ไม่ใช้สารเคมี 27 ครัวเรือน สารเคมีที่ใช้ได้แก่ยาฆ่าหญ้า ยาฆ่าแมลง ฮอร์โมนพืช  มีการใช้สารเคมีในการฆ่าหญ้าโดยการจ้าง 41 ครัวเรือน โดยการทำเอง 59 ครัวเรือน จำนวนครัวเรือนที่รู้วิธีใช้สารเคมีที่ถูกต้อง เช่น สวมกางเกงขายาว เสื้อแขนยาว สวมถุงมือ หน้ากาก หมวก และรองเท้าบูท จำนวน 90 ครัวเรือน ไม่มีความรู้ที่ถูกต้องจำนวน 10 ครัวเรือน จำนวนครัวเรือนที่รู้ถึงพิษภัยของสารเคมี จำนวน 100 ครัวเรือน จำนวนครัวเรือนทีรู้วิธีการหลีกเหลี่ยงการใช้สารเคมีในการทำเกษตร จำนวน 100 ครัวเรือน เช่น การตัดหญ้า การใช้ปุ๋ยหมัก การเจ็บป่วยของประชาชนในชุมชนจำนวนครัวเรือนที่เห็นว่าเป็นเพราะการใช้สารเคมี และการรับประธานอาหารปนเปื้อนจากการใช้สารเคมี จำนวน 86 ครัวเรือน 14 ถ้ามีวิธีการหลีกเหลี่ยงการใช้สารเคมีในการทำการเกษตรจำนวนครัวเรือนที่จะะปรับเปลี่ยน จำนวน 93 ครัวเรือน ไม่ปรับเปลี่ยน 7 ครัวเรือน 

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ชุมชนได้ร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูลของชุมชนเองโดยร่วมกันหาสภาพปัญหา สาเหตุของปัญหา แนวทางป้องกันแก้ไขจากการซักถาม แลกเปลี่ยนความคิดเห็น เล่าถึงประสบการณ์โดยผู้ที่มีความรู้ของชุมชนเกิดการรับรู้ข้อมูลของชุมชนร่วมกันและพร้อมจะร่วมแก้ไขปัญหาร่วมกันโดยมีประเด็นจากการสำรวจข้อมูล ในเรื่อง รายได้ของครัวเรือนการจัดทำบัญชีครัวเรือน การลงทุนค่าใช้จ่ายในภาคการเกษตรของครัวเรือน หนี้สินของครัวเรือนการออมของครัวเรือนการใช้ปุ๋ยและสารเคมีในการเกษตรความรู้เกี่ยวกับการใช้สารเคมี และภาวะการเจ็บป่วยจากการใช้สารเคมีในชุมชน

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 50 คน จากที่ตั้งไว้ 50 คน
ประกอบด้วย

สภาผู้นำ 20 ตัวแทนครัวเรือน 25 คน เยาวชน 5 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมสภาผู้นำ ครั้งที่ 4 เดือนมกราคม 255910 มกราคม 2559
10
มกราคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย บุญฤทธิ์ ช่วยชู
circle
วัตถุประสงค์

ประชุมสภาผู้นำ ครั้งที่ 4 เดือนมกราคม 2559

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

มีการประชุมสภาผู้นำ จำนวน 20 คน โดยมีการพูดคุยถึงการสำรวจข้อมูลของชุมชนโดยเยาวชนเกี่ยวกับปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้น เพื่อนำมาปรับปรุงแก้ไข และเพื่อเตรียมการจัดประชุมวิเคราะห์ข้อมูลจากการลงพื้นที่ และทบทวนความรับผิดชอบในหน้าที่ของแต่ละฝ่าย ในการจัดประชุมการจัดสถานที่ เครื่องเสียง การลงชื่อเข้าร่วมประชุมการจัดอาหารและของว่าง การบันทึกการประชุมให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยการประชาสัมพันธ์เชิญชวนสมาชิกโครงการ ภาคีเครือขาย เข้าร่วมประชุม ให้เป็นไปดวยความเรียบร้อย รวมทั้งสรุปข้อมูลเบื้องต้น จากการเก็บข้อมูลเพื่อนำเสนอที่ประชุมเพื่อการวิเคราะห์และหารแนงทางในการพัฒนา

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีสภาผู้นำจำนวน 20 คน เข้าร่วมประชุมพูดคุยการจัดกิจกรรมที่ผ่านมาในเรื่องการสำรวจข้อมูลของชุมชน และร่วมวางแผนการจัดกิจกรรมการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการสำรวจ ได้ร่วมพูดคุย มอบหมายภาระกิจในการจัดกิจกรรม และวางแผนแก้ไขปัญหา

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 25 คน จากที่ตั้งไว้ 20 คน
ประกอบด้วย

คณะกรรมการหมู่บ้านจำนวน 15 คน อสม. 5 คน ผู้นำการเกษตรทฤษฎีใหม่ 1 คน ผู้นำภูมิปัญญาท้องถิ่น 1 คน ตัวแทนกลุ่มออมทรัพย์1 คน ตัวแทนกลุ่มปุ๋ย 1 คน และตัวแทนเยาวชน 1 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ออกแบบเครื่องมือ และลงพื้นที่สำรวจข้อมูลชุมชน13 ธันวาคม 2558
13
ธันวาคม 2558รายงานจากพื้นที่ โดย บุญฤทธิ์ ช่วยชู
circle
วัตถุประสงค์

ออกแบบเครื่องมือ และลงพื้นที่สำรวจข้อมูลชุมชน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ในการจัดประชุมออกแบบเครื่องมือ ในสำรวจข้อมูลชุมชนที่ประชุมได้ร่วมกันแสดงความคิดเห็นและกำหนดประเด็นที่สมควรเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ 1.รายรับ - รายจ่าย และการทำบัญชีครัวเรือน 2.การลงทุน ในภาคเกษตรและนอกภาคเกษตร 3.การใช้ปุ๋ยเคมี การใช้ปุ๋ยอินทรีในรอบปีที่ผ่านมา 4.ความรู้เกี่ยวกับโทษและพิษภัยของสารเคมีและวิธีปฏิบัติที่ถูกต้องในการใช้สารเคมี 5.เยาวชนลงเก็บรวบรวมข้อมูลในชุมชน จำนวน 100 ครัวเรือน 6.ผู้รับผิดชอบโครงการสำรวจแบบข้อมูลเพื่นำเสนอที่ประชุมครั่งต่อไป ที่ประชุมได้มอบหมายให้ผู้รับผิดชอบโครงการออกแบบสำรวจข้มูลชุมชนเป็นแบบสอบถาม เป็นเอกสารให้เรียบร้อยและนัดหมายทำความเข้าใจกับเยาวชนผู้เก็บรวบรวมข้อมูลและกำหนดวันลงเ็บข้อมูลในชุมชนดดยใช้เวลา 1 สัปดาห์ นำส่งผู้รับผิดชอบโครงการเพื่อสรุปข้อมูลสำหรับการใช้เป็นข้อมูลในการวิเคราะห์ข้อมูลจากการสำรวจในกิจกรรมที่ 4 ต่อไป

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ได้แบบสอบถามข้อมูลในการสำรวจข้อมูลชุมชน
  2. เด็กและเยาวชน จำนวน 17 คนในการเก็บรวบรวมข้อมูล จำนวน 100 ครัวเรือน
  3. เยาวชนได้ทำการรวบรวมข้อมูลจำนวน 100 ครัวเรือนเสร็จสิ้นภายในกำหนดเวลา 1 สัปดาห์
  4. ผู้รับผิดชอบโครงการได้ทำการสรุปข้อมูลจากแบบสำรวจเพื่อนำเสนอที่ประชุมเบื้องต้น
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 50 คน จากที่ตั้งไว้ 50 คน
ประกอบด้วย

กลุ่มเยาวชน 17 คน ผู้รับผิดชอบโครงการ 4 คน สมาชิกสภาผู้นำ 20 คน และ สมาชิกโครงบบการ จำนวน 9 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมสภาผู้นำ ครั้งที่ 3 เดือนธันวาคม 255813 ธันวาคม 2558
13
ธันวาคม 2558รายงานจากพื้นที่ โดย บุญฤทธิ์ ช่วยชู
circle
วัตถุประสงค์

ประชุมสภาผู้นำ ครั้งที่ 3 เดือนธันวาคม 2558

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประชุมสภาผู้นำในการทำกิจกรรมออกแบบเครื่องมือและลงพื้นที่สำรวจชุมชน โดยมีเยาวชนที่เป็นลูกหลานในหมู่บ้านเข้าร่วมประชุมโดยทำความเข้าใจกับทีมสภาผุ้นำในการออกแบบสำรวจข้อมูลเกี่ยวกับรายรับ รายจ่าย รายได้ การลงทุน ในรอบีที่ผ่านมา ในหัวข้อหลัก ๆ ให้เข้าใจร่วมกันเพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลของชุมชน และให้ช่วยเสนอประเด็นอื่นๆ ที่ต้องการจัดเก็บข้อมูล

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 25 คน โดยมีการแลกเปลี่ยนความคิดเกี่ยวกับประเด็นในการประชุมเพื่อออกแบบเครื่องมือ และปรึกษาหารือเรื่องอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 25 คน จากที่ตั้งไว้ 20 คน
ประกอบด้วย

สภาผู้นำประกอบด้วยคณะกรรมการหมู่บ้านจำนวน 15 คน อสม. 5 คน ผู้นำการเกษตรทฤษฎีใหม่ 1 คน ผู้นำภูมิปัญญาท้องถิ่น 1 คน ตัวแทนกลุ่มออมทรัพย์1 คน ตัวแทนกลุ่มปุ๋ย 1 คน และตัวแทนเยาวชน 1 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

อบรมการเขียนรายงานและเอกสารการเงิน7 ธันวาคม 2558
7
ธันวาคม 2558รายงานจากพี่เลี้ยง โดย ศุภกิจ
circle
วัตถุประสงค์

อบรมการเขียนรายงานและเอกสารการเงิน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

คณะทำงานของ สจรส.มอ. และทีมพี่เลี้ยงชี้แจงวัตถุประสงค์ของกิจกรรม พูดคุยซักถามอุปสรรค ปัญหา ร่วมพัฒนาการฝึกทักษะการบันทึกกิจกรรมและรายงานการเงินแก่ผู้รับผิดชอบโครงการ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการเรียนรู้และฝึกทักษะการลงรายงานบันทึกกิจกรรม รูปภาพ และการเขียนผลผลิต ผลลัพท์ของกิจกรรม และเรียนรู้เรื่องการหักภาษีณ ที่จ่่าย

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

ผู้รับผิดชอบโครงการ จำนวน 2 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

อบรมการเขียนรายงานและเอกสารการเงิน7 ธันวาคม 2558
7
ธันวาคม 2558รายงานจากพื้นที่ โดย บุญฤทธิ์ ช่วยชู
circle
วัตถุประสงค์

ชี้แจงวิธีการการจัดทำเอกสารทางการเงิน  การหักภาษี ณ. ที่จ่าย

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ทีมพี่เลี้ยงได้แนะนำเพื่อเตรียมความพร้อมในการจัดทำรายงานการเงิน และการบันทึกกิจกรรม โดยเฉพาะเรื่องกี่ยวกับการหักภาษี ณ ที่จ่าย เมื่อมีการจ่ายเงินของโครงการ ตั้งแต่ 1000 บาทขึ้นไป ต้องหักภาษี ณ ที่จาย ในหมวดค่าตอบแทน หมวดค่าใช้สอย ที่เป็นค่าอาหาร ค่าห้องประชุม และค่าเช่ารถ ให้หักภาษี ณ ที่จ่าย ร้อยละ 1 การเขียนแบบแสดงรายการเสียภาษี พ.ง.ด.3 และใบแนบ พ.ง.ด.3 และแบบสรุปการใช้เงินในกิจกรรมต่างๆ พร้อมทั้งการเก็บรวมรายงานเอกสารที่เกี่ยวข้องและการบันทึกกิจกรรมลงในเว็บไซต์

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ผู้รับผิดชอบโครงการสามารถบันทึกแบบสรุปรายงานการใช้เงินและจัดทำเอกสารทางการเงินได้
  2. ผู้รับผิดชอบโครงการมีควมรู้คาวมเข้าใจเรียนรู้การหักภาษี ณ ที่จ่าย และสามารถบันทึก พ.ง.ด.3 และ ใบแนบ พ.ง.ด.3 ได้
  3. เข้าใจการบันทึกกิจกรรมในเว็บไซต์
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

ผู้รับผิดชอบโครงการ จำนวน 2 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

จัดเวทีชี้แจงการดำเนินงานโครงการ8 พฤศจิกายน 2558
8
พฤศจิกายน 2558รายงานจากพี่เลี้ยง โดย ศุภกิจ
circle
วัตถุประสงค์

จัดเวทีชี้แจงการดำเนินงานโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ผู้รับผิดชอบโครงการสภาผู้นำร่วมกันจัดเวทีชี้แจงโครงการโดยเชิญชวนประชาชนในหม่บ้านเขาร่วมรับฟังจำนวน 102 คน ประกอบด้วยเด็กและเยาวชนจำนวน 7 คน สมาชิก อบต.ไทยบุรี จำนวน 2 คน กรรมการหมู่บ้านจำนวน 7 คน อสม. จำนวน 14 คน ประชาชนในหมู่บ้าน 72 คน โดยมีผู้ใหญ่บุญฤทธิ์ช่วยชู เป็นประธานการประชุมและพี่เลี้ยงโครงการโดย นายศุภกิจกลับช่วย ได้ชี้แจงกติกาของโครงการทำความเข้าใจกับประชาชนหใ้ทราบถึงกิจกรรมของโครงการตลอดโครงการจำนวน 16 กิจกรรม และเปิดให้ที่ประชุมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมต่างๆ ความร่วมมือ ความพร้อมในการทำกิจกรรม ซึ่งส่วนใหญ่เห็นว่าปัจจุบันประชาชนในหมู่บ้านในวัยแรงงาน ได้ออกไประกอบอาชีพรับจ้างนอกหมู่บ้าน เช่น ทำงานก่อสร้าง เป็นแม่บ้านหรือรักษาความปลอดภัยในมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ทำอาชีพส่วนตัว เช่น รับเหมาทำประปา เหล็กดัด ค้าขายผลผลิตทางการเกษตร โดยใช้วันจันทร์ ถึง วันเสาร์ และหยุดงานในวันอาทิตย์ ส่วนในวันปกติจะมีผู่สูงอายุอยู่บ้าน และผู้ประกอบอาชีพเกษตรเป็นหลัก ในการจัดกิจกรรมแต่ละครั้งจึงเห็นควรกำหนดทำกิจกรรมในวันอาทิตย์ซึ่งเป็นวันหยุดงานสามารถเข้าร่วมกิจกรรมได้เป็นส่วนใหญ่ หลังจากชี้แจงโครงการแล้วได้รับสมัตรผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 60 คน มีผู้สมัครครบตามเป้าหมาย

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีผู้เข้าร่วมรับฟังการชีเแจงโครงการ จำนวน 102 คน และมีผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ จำนวน 60 คน ซึ่งประชาชนในพื้นที่ได้รับทราบเกี่ยวกับรายละเอียดของโครงการ ขั้นตอนการดำเนินโครงการร่วมไปถึงได้แสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับโครงการและเข้าร่วมทำกิจกรรมตามโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 102 คน จากที่ตั้งไว้ 100 คน
ประกอบด้วย

ผู้นำชุมชน กรรมการหมู่บ้าน อบต.เยาวชน และประชาชนในหมู่บ้าน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ประชุมสภาผู้นำ ครั้งที่ 2 เดือนพฤษจิกายน 25588 พฤศจิกายน 2558
8
พฤศจิกายน 2558รายงานจากพื้นที่ โดย บุญฤทธิ์ ช่วยชู
circle
วัตถุประสงค์

ประชุมสภาผู้นำ ครั้งที่ 2 เดือนพฤษจิกายน 2558

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

มีการประชุมสภาผู้นำเพื่อปรึกษาหารือในการทำกิจกรรมชี้แจงโครงการ มีสมาชิกสภาผู้นำเข้าประชุมและคณะทำงานจำนวน 24 คนได้หารือในประเด็นต่างๆ ดังนี้

  1. การประะชาสัมพันธ์ให้ประชาชนมาร่วมรับฟังการชี้แจงโครงการโดยให้ประธานประชาสัมพันธ์ผ่านเสียงตามสายของหมู่บ้านและสมาชิกสภาผู้นำช่วยกันบอกกล่าวด้วยวาจา ในเขตคุ้มบ้านที่ตนอยูอาศัย
  2. การจัดเตรียมอาหารมื้อเที่ยงมอบหมายให้ฝ่ายการเงินของโครงการ คุณ ชใบพร ประสานกับผู้รับทำอาหาร จำนวน 100 คน และของว่าง 2 มื้อ งบประมาณคนละ 120 บาท
  3. มอบหมาย นายสำเนา ช่วยชู รับผิดชอบการจัดสถานที่เครื่องเสียงในการประชุม
  4. ฝ่ายกิจกรรม นายสุนันท์ ฟุ้งเฟื่อง รับลงชื่อผู้เข้าร่วมประชุม และรับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ
  5. ฝ่ายประสานงาน นายจรัญ แซ่ลิ่ม แจ้งพี่เลี้ยงโครงการ และ อบต.ไทยบุรี
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สภาผู้นำได้มีการประชุมและวางแผนเตรียมการดำเนินงานในการชี้แจงโครงการ โดยมีการมอบหมายหน้าที่รับผิดชอบแต่ละฝ่าย กำหนดจำนวนเงินงบประมาณที่ต้องใช้จ่ายในวันดังกล่าว ทุกคน ทุกฝ่ายมีความเข้าใจในกิจกรรมและบทบาทหน้าที่ ที่ต้องรับผิดชอบในการดำเนินการให้ลุล่วงไปด้วยดี

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 25 คน จากที่ตั้งไว้ 20 คน
ประกอบด้วย

คณะกรรมการหมู่บ้านจำนวน 15 คน อสม. 5 คน ผู้นำการเกษตรทฤษฎีใหม่ 1 คน ผู้นำภูมิปัญญาท้องถิ่น 1 คน ตัวแทนกลุ่มออมทรัพย์1 คน ตัวแทนกลุ่มปุ๋ย 1 คน และตัวแทนเยาวชน 1 คน รวม 25 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

จัดเวทีชี้แจงการดำเนินงานโครงการ8 พฤศจิกายน 2558
8
พฤศจิกายน 2558รายงานจากพื้นที่ โดย บุญฤทธิ์ ช่วยชู
circle
วัตถุประสงค์

จัดเวทีชี้แจงการดำเนินงานโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

คณะทำงานและสภาผู้นำได้ทำการประชาสัมพันธ์โดยใช้เสียงตามสายของหมู่บ้านเชิญชวนประชาชนเข้าร่วมประชุมล่วงหน้า และให้คณะทำงาน สภาผู้นำประชาสัมพันธ์บอกกล่าวประชาชนในหมู่บ้าน ตามคุ้มบ้านที่ตนเองอยู่อาศัย ในวันประชุมประชาชนได้ทะยอยเข้าร่วมประชุมและให้ลงชื่อเข้าร่วมประชุม โดยมีผู้ร่วมประชุม จำนวน 102 คน ประกอบด้วย เด็กและเยาวชนจำนวน 7 คน สมาชิก อบต.ไทยบุรี จำนวน 2 คน กรรมการหมู่บ้านจำนวน 7 คน อสม. จำนวน 14 คน ประชาชนในหมู่บ้าน 72 คน ประธานสภาผู้นำได้ชี้แจงโครงการถึงหลักการและวัตถุประสงค์ของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพในการให้การสนับสนุนงบประมาณในการจัดทำโครงการประธานที่ประชุมได้ชี้แจงรายละเอียดโครงการหลักการและเหตุผลวัตถุประสงค์แลุเป้าหมายของโครงการโดยมีกิจกรรมต่างๆ โดยมีกิจกรรมจำนวน 16 กิจกรรม ตลอดโครงการได้อธิบายกิจกรรมต่างๆ และเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่ววมประชุมซักถาม ร่วมแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม จนถึงเวลาเที่ยง และรับประทานอาหารร่วมกัน พร้อมกับรับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการและมีผู้แสดงความจำนงเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 60 คน ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. มีผู้เข้าร่วมรับฟังการชี้เแจงโครงการ จำนวน 103 คน
  2. มีผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ จำนวน 60 คน ผู้เข้าร่วมโครงการเข้าใจรายละเอียดโครงการหลักการและเหตุผลวัตถุประสงค์และเป้าหมายของโครงการโดยวางแผนร่วมกิจกรรมร่วมกันโดยผู้เข้าร่วมโครงการได้ยอมรับกติการ่วมกันของโครงการเพื่อให้ดำเนินกิจกรรมประสบความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 103 คน จากที่ตั้งไว้ 100 คน
ประกอบด้วย

ผู้นำชุมชน กรรมการหมู่บ้าน อบต.เยาวชน และประชาชนในหมู่บ้าน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมสภาผู้นำ ครั้งที่ 1 เดือนตุลาคม 255831 ตุลาคม 2558
31
ตุลาคม 2558รายงานจากพื้นที่ โดย บุญฤทธิ์ ช่วยชู
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อประชุมคณะกรรมการ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ในการประชุมพัฒนาศักภาพผู้นำผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 24 คน โดยมีนายบุญฤทธิ์ ช่วยชู ผู้รับผิดชอบโครงการ เป็นประธานในที่ประชุมร่วมปรึกษาหารือ กับคณะกรรมการโครงการและสมาชิกสภาผู้นำ สร้างความรู้ความเข้าใจ และชี้แจงโครงการเกษตรอินทรีย์บ้านปลักจอกเสริมรายได้ ถึงความเป็นมาของโครงการ วัตถุประสงค์เป้าหมายของโครงการและกิจกรรมจำนวน 16 กิจกรรม ให้ที่ประชุมทราบ และพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นแนวทางการทำกิจกรรม กำหนดการต่างๆ ให้ได้ตามวัตถุประสงค์และเป้าหมาย สมาชิกสภาผู้นำทุกคนมีความเห็นสอดคล้องกันที่จะร่วมกันทำกิจกรรมโครงการนี้ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์
ที่ประชุมได้รับทราบแผนการดำเนินงานปฎิทินกิจกรรมโครงการและเห็นชอบให้มีการดำเนินการไปตามกำหนดการดังกล่าว และเห็นชอบในการแบ่งหน้าที่และความรับผิดชอบ แก่สมาชิกในสภาผู้นำและคณะทำงานด้วยความเข้าใจร่วมกัน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต
1.มีผู้เข้าร่วมประชุมสภาผู้นำ จำนวน 24 คน 2.ได้คณะกรรมการเป็นคณะทำงานสภาผู้นำ 1 ชุด ได้คัดเลือกและแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ เป็นที่ยอมรับของทุกฝ่ายในชุมชน 3.แผนการดำเนินงาน1 ฉบับ

ผลลัพธ์

  • ผู้เข้าร่วมประชุมได้ตัดสินใจร่วมกันในการคัดเลือกและยอมรับการเป็นสมาชิกสภาผู้นำ และจะทำกิจกรรมโครงการร่วมกัน
  • มีแผนการดำเนินงานโดยให้ประชาชนในชุมชน สามารถร่วมตัวกันเป็นคณะทำงาน และสภาผู้นำ ในการร่วมคิด และจะร่วมกันทำกิจกรรมเพื่อพัฒนาชุมชน ให้สามารถแก้ปัญหาต่างๆ ต่อไปได้
  • มีชุดรายชื่อสภาผู้นำ และการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ ดังนี้
  1. ประธานคณะทำงานโครงการ นายบุญฤทธิ์ ช่วยชู ผู้ใหญ่บ้าน
  2. คณะทำงานโครงการประกอบด้วย นายสุนันท์ ฟุ้งเฟื้อง นายสมเกียรติ จันทรมณี นายจรัญ แซ่ลิ่ม นางชใบพร เรืองจรัส
  3. คณะกรรมการฝ่ายต่างๆ
    3.1 คณะกรรมการฝ่ายกิจกรรม ประกอบด้วย นายสุนันท์ ฟุ้งเฟื้อง เป็นประธาน มีผู้ร่วมเป็นกรรมการ นายสนิท สุพรรณพงค์ นายบุญรวม ศิริมาศ นางปรียา แก้วปนทอง นางสาวธนาพร บุญเพ็ง นางสาวอัญชลีพร แก้วสุก นางพร้อม ศรีจันทร์ นางสุณี กังแฮ นางสมศรี สุกใส นางน้อย ประจันทร์พล 3.2 ฝ่ายสถานที่ สื่อ อุปกรณ์ การประชุม ประกอบด้วย นายสำเนา ช่วยชู เป็นประธาน ผู้เข้าร่วมเป็นกรรมการ นางภาวิณี รักเถาว์ นางเพ็ญศรี ภักดี นางจุไร แซ่ลิ่ม นางสาววรรณชลี แซ่ลิ่ม
    3.3 ฝ่ายบัญชี การเงิน โครงการประกอบด้วย นางชใบพร เรืองจรัส เป็นประธาน ผู้ร่วมเป็นกรรมการ นางกัลยา รักเถาว์ นางราตรี ประธานทรง นางกัลยา ทองคำ
    3.4 ฝ่ายประสานงาน ประกอบด้วย นายจรัญ แซ่ลิ่ม เป็นประธาน ผู้เข้าร่วมเป็นกรรมการประกอบด้วย นางสาวยินดี ขวัญทอง นางอุไรวรรณ ขวัญทอง นางจุไรย์ โยธาศรี 3.5 ฝ่ายการตลาด ประกอบด้วย นางกัลยา อบอุ่นเป็นประธาน ผู้เข้าร่วมเป็นกรรมการประกอบด้วยนางปราณี ทองยอด นายสำราญ ภักดี

โดยกำหนดให้แต่ละฝ่ายมีบทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบ ดังนี้

  1. ฝ่ายกิจกรรมมีน้าที่และความรับผิดชอบ ในการเตรียมความพร้อม ในการจัดกิจกรรมแต่ละครั้ง เป็นผู้นำในการจัดกิจกรรมร่วมกับสมาชิก ให้ข้อแนะนำการทำกิจกรรมกำกับติดตาม และประเมินผลกิจกรรม
  2. ฝ่ายสถานที่ สื่อ วัสดุ อุปกรณ์ มีหน้าที่ ดังนี้ จักเตรียมสถานที่การประชุม การทำกิจกรรมต่างๆ จัดเตรียมเอกสารการประชุม สื่อ วัสดุ อุปกรณ์ บันทึกภาพการประชุม การทำกิจกรรม บันทึกข้อมูลเข้าเว็บไซด์
  3. ฝ่ายการเงินและบัญชี มีหน้าที่ ดังนี้ จัดทำบัญชี รายรับ - ราบจ่าย ของโครงการ จัดทำเอกสารทางการเงิน เบิกจ่ายเงินในโครงการ และจัดทำใบรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย และนำส่ง ภาษี ณ ที่จ่าย
  4. ฝ่ายการตลาด มีหน้าที่และความรับผิดชอบในการรวบร่วมผลผลิตของสมาชิกออกสู่ตลาด ให้ข้อเสนอแนะในการปลูกพืช วิธีการผลิต ให้สอดคล้องกับความต้องการทางตลาด ทำบัญชี รายรับ - รายจ่าย ค่าผลผลิตของสมาชิก
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 24 คน จากที่ตั้งไว้ 25 คน
ประกอบด้วย

คณะกรรมการหมู่บ้านจำนวน 9 คน อสม. 5 คนผู้นำภูมิปัญญาท้องถิ่น 1 คน ตัวแทนกลุ่มออมทรัพย์ 4 คน ตัวแทนกลุ่มปุ๋ย 4 คน และตัวแทนเยาวชน 1 คน รวม 24 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

1.เนื่องจากการดำเนินกิจกรรมอยู่ในช่วงฤดูฝน ทำให้การจัดกิจกรรมไม่ได้รับความสดวกในการมาร่วมกิจกรรมของประชาชนในหมู่บ้าน 2.สมาชิกสภาผู้นำยังขาดความรู้ความเข้าใจที่ดี ในการทำกิจกรรมร่วมกัน

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
ไม่มี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ทำป้ายสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่18 ตุลาคม 2558
18
ตุลาคม 2558รายงานจากพื้นที่ โดย บุญฤทธิ์ ช่วยชู
circle
วัตถุประสงค์

ทำป้ายรณรงค์ประชาสัมพันธ์ เขตปลอดบุหรี่

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ทำป้ายรณรงค์ประชาสัมพันธ์ เขตปลอดบุหรี่

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีป้ายรณรงค์เขตปลอดบุหรี่จำนวน 2 ป้าย ติดตั้งไว้ ด้านข้างและด้านน้าของศาลาหมูบ้าน ซี่งใช้เป็นสถานที่ในการจัดประชุมจัดกิจกรรมโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 5 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

คณะกรรมการโครงการ 5 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายศุภกิจ กลับช่วย
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ปฐมนิเทศโครงการ3 ตุลาคม 2558
3
ตุลาคม 2558รายงานจากพี่เลี้ยง โดย ศุภกิจ
circle
วัตถุประสงค์

ปฐมนิเทศโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ปฐมนิเทศโครงการโดยทีม สจรส.มอ และทีมพี่เลี้ยงโครงการ พร้อมกับผู้รับผิดชอบโครงการรเข้าร่วมประชุมเชิงปฎิบัติการ เพื่อซักซ้อมทำความเข้าใจ ในเรื่องของการรายงานผ่านทางเวปไซค์ การลงรายละเอียดกิจกรรม ปฎิทินโครงการ การลงบันทึกกิจกรรม ระบบระเบียบการเงิน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการร่วมปฐมนิเทศโครงการและแนะนำการรายงานกิจกรรมในระบบเวปไซค์ ระเบียบการเงิน การบันทึกกิจกรรม นำความรู้ที่ได้มาปฎิบัติจริง

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

ผู้รับผิดชอบโครงการ 2 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ปฐมนิเทศโครงการ3 ตุลาคม 2558
3
ตุลาคม 2558รายงานจากพื้นที่ โดย บุญฤทธิ์ ช่วยชู
circle
วัตถุประสงค์

ปฐมนิเทศโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

รับการเเนะนำเกี่ยวกับการทำปฏิทินโครงการการจัดทำเอกสารทางการเงิน การทำกิจกรรมร่วมกัน สจรส. พี่เลี้ยงในจังหวัด พี่เลี้ยงในพื้นที่ การบันทึกข้อมูลลงระบบคอมพิวเตอร์

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการมีความรู้ในการจัดทำเอกสารทางการเงิน และการบันทึกข้อมูลมีมีการจัดทำกิจกรรมตามโครงการ และได้กำหนดำปฏิทินปฏิบัติงานของโครงการเพื่อให้สอดคล้องกับริบทของพื้นที่

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

ผู้รับผิดชอบโครงการจำนวน 2 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-