แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 1

รหัสโครงการ 58-03944
สัญญาเลขที่ 58-00-2246

ชื่อโครงการ รวมใจ สานสัมพันธ์ บ้านกุบังจามังเหนือ
รหัสโครงการ 58-03944 สัญญาเลขที่ 58-00-2246
ระยะเวลาตามสัญญา 15 กันยายน 2015 - 15 ตุลาคม 2016

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นฤมลฮะอุรา
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 10 กุมภาพันธ์ 2016
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 27 กุมภาพันธ์ 2016
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นายหมาด หมันดี 239 หมู่ที่7ตำบลฉลุงอำเภอเมืองสตูลจังหวัดสตูล 086-2955215
2 นางฝาตีม๊ะ พุ่มโพธิ์ 91 หมู่ที่7 ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล 080-7103141
3 นายสุริยงค์ ด่วนข้อง 210 หมู่ที่7 ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล 0805414784

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

เพื่อจัดการข้อมูลชุมชนด้านความสัมพันธ์ระหว่างกัน และศักยภาพคนในชุมชน

  1. ได้ข้อมูลผังเครือญาติและแผนที่ศักยภาพคนกุบังจามังเหนือรวม 2 ชุดข้อมูล

2.

เพื่อจัดทำแผนชุมชนด้านการส่งเสริมความสัมพันธ์ของคนทุกกลุ่มวัยในชุมชน(เด็ก-วัยรุ่น-วัยทำงาน-ผู้สูงวัย)

  1. ได้แผนชุมชนในการดำเนินงานส่งเสริมความสัมพันธ์และสร้างความสามัคคี 1 แผน

3.

เพื่อสร้างกลไกสภาผู้นำที่เข้มแข็งมาดำเนินงานด้านความสัมพันธ์ของชุมชน จนเกิดการขับเคลื่อน ส่งเสริม จัดกิจกรรมในการส่งเสริมความสัมพันธ์และสร้างความสามัคคี

  1. มีการประชุมเพื่อติดตามและวางแผนงานทุกเดือน รวม 10 เดือน
  2. มีสภาผู้นำมาประชุม ร้อยละ 80 หรือ 32 คน
  3. การประชุมทุกครั้งมีการปรึกษาหารือเรื่องโครงการและเรื่องอื่นๆ ของชุมชน

4.

เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ

  1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด
  2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม
  3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม
  4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด
2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมหลัก : จัดตั้งผู้รับผิดชอบโครงการและอบรมบทบาทหน้าที่i

6,420.00 40 ผลผลิต
  • มีการจัดตั้งทีมสภาผู้นำชุมชน 40 คน

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • เกิดคณะทำงานเพื่อรับผิดชอบโครงการฝ่ายต่างๆทำให้โครงการสามารถดำเนินไปตามวัตถุประสงค์

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 2 ครั้ง

  • วิทยากร 1 คน
  • ฝ่ายปกครอง 4 คน
  • เยาวชน 4 คน
  • ผู้นำสตรี ผู้สูงอายุ 1 คน
  • ผู้นำอาสาพัฒนาชุมชน 1 คน
  • บัณฑิตอาสา 1 คน
  • อาสาสมัครสาธารณสุข 10 คน
  • ผู้นำศาสนา 1 คน
  • สมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบล 2 คน
  • ผู้นำสตรี 2 คน
  • กองทุนหมู่บ้าน 3 คน
  • กลุ่มอาชีพ 3 คน
6,420.00 6,420.00 41 33 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. มีการจัดตั้งทีมสภาผู้นำชุมชน 40 คน
  2. สภา ผู้นำเข้าใจบทบาทของตัวเองมากขึ้น ได้กำหนดบทบาทหน้าที่ของแต่ละคน
  3. ร่างระเบียบ ข้อบังคับสภาผู้นำ จะนำร่างนี้สู่การนำเสนอเผยแพร่ในกิจกรรมต่อไป

วิทยากร 1 คน ฝ่ายปกครอง 4 คน เยาวชน 4 คน ผู้นำสตรี ผู้สูงอายุ 1 คน ผู้นำอาสาพัฒนาชุมชน 1 คน บัณฑิตอาสา 1 คน อาสาสมัครสาธารณสุข 10 คน ผู้นำศาสนา 1 คน สมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบล 2 คน ผู้นำสตรี 2 คน กองทุนหมู่บ้าน 3 คน กลุ่มอาชีพ 3 คน

0.00 0.00 41 33 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

พี่เลี้ยงได้แนะนำการบริหารจัดการโครงการ การจัดตั้งสภาผู้นำ แนะนำการจัดทำเอกสาร มีการจัดตั้งทีมสภาผู้นำชุมชน 40 คน สภา ผู้นำเข้าใจบทบาทของตัวเองมากขึ้น ได้กำหนดบทบาทหน้าที่ของแต่ละคน ร่างระเบียบ ข้อบังคับสภาผู้นำ จะนำร่างนี้สู่การนำเสนอเผยแพร่ในกิจกรรมต่อไป

กิจกรรมหลัก : บอกเล่าโครงการi

41,500.00 200 ผลผลิต
  • คนในชุมชน 300 คนมาร่วมกิจกรรมงานรับฟังการชี้แจงโครงการ
  • คนในชุมชน300 คน ได้รู้จักทีมผู้รับผิดชอบโครงการ 5 คน

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • สมาชิกในชุมชนเข้าใจการดำเนินการโครงการ และร่วมกันกำหนดบทบาทในการทำงานร่วมกัน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 2 ครั้ง

ชาวบ้าน บ้านกุบงัจามังเหนือ หมู่ที่ 7 ตำบลฉลุง จำนวน 315 คน

41,500.00 41,500.00 300 315 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. สภาผู้นำ ได้ร่วมกันทำงาน ก่อให้เกิดความเข้าใจและปรับเข้าหากันได้ก่อให้เกิดผลดีในการร่วมกันทำกิจกรรมอื่นต่อไป
  2. สมาชิกในชุมชนเข้าใจการดำเนินการโครงการ และร่วมกันกำหนดบทบาทในการทำงานร่วมกัน

เด็กและเยาวชน วัยทำงาน ผู้สูงอายุ ของบ้านกูบังจามัง

0.00 0.00 300 315 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • แกนนำโครงการได้ฝึกการบริหารจัดการ การจัดงานที่มีผู้มาร่วมงานถึง300คน โดยทราบว่ามีการประชุมเตรียมงานล่วงหน้าถึง3 ครั้ง
  • คนในชุมชนได้รับทราบว่าใน1ปีต่อไปจะมีกิจกรรมโ๕รงการของ สสส.ในชุมชน
  • คนในชุมชนได้ออกมาทำกิจกรรมร่วมกัน เกิดความสัมพันธ์ สามัคคีในชุมชน

กิจกรรมหลัก : ประชุมประจำเดือนสภาผู้นำ "ปรึกษา จากัฟ"i

10,000.00 15 ผลผลิต
  • สภาผู้นำ 40 คนได้ร่วมกันประชุมทุกเดือน
  • เกิดการประชุมเพื่อเตรียมการจัดกิจกรรมในแต่ละเดือน
  • เกิดการติดตามงานที่ได้ทำไปแล้ว ได้แก่ กิจกรรมอบรมบทบาทสภา กิจกรรมประชาสัมพันธ์ กิจกรรมอบรมทำเวปเพจของชุมชน การติดตามงบประมาณ รายรับรายจ่ายแต่ละเดือน

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • เกิดเวทีการบริหารจัดการโครงการ
  • ทีมสภาผู้นำ40 คน ได้เรียนรู้การทำงานร่วมกัน ร่วมให้ข้อมูล ร่วมคิด วางแผน ร่วมแก้ปัญหา ร่วมลงมือทำ และร่วมรับผลงาน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 10 ครั้ง

  • ฝ่ายปกครอง
  • เยาวชน
  • ผู้นำสตรี
  • ผู้สูงอายุ
  • ผู้นำอาสาพัฒนาชุมชน
  • บัณฑิตอาสา
  • อาสาสมัครสาธารณสุข
  • ผู้นำศาสนา
  • สมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบล
  • ผู้นำสตรี
  • กองทุนหมู่บ้าน
  • กลุ่มอาชีพ
1,000.00 2,575.00 15 34 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เมื่อได้มีการประชุมแล้วพบว่า

  1. แนวโน้มในการทำงานและความร่วมมือในการทำโครงการในอนาคตอยู่ในแกนดี
  2. ได้แผนงานเบื้องต้นในการจัดงาน กิจกรรมที่ 2 บอกเล่าโครงการ โดยมีการวางกำหนดการและรูปแบบงานคร่าว ซึ่งมีการแบ่งหน้าที่และได้รับความร่วมมือจาก ทุกฝ่าย เป็นอย่างดี

สภาผู้นำและผู้รับผิดชอบโครงการ

1,000.00 825.00 15 34 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการประชุม ปรึกษา จากัฟ 2/10 ตค 58 ผลปรากฏว่า ผู้นำมาเข้าร่วมไม่ครบเนื่องจาก ติดภารกิจ แต่ก็ยังถือว่า การประชุมดำเนินการไปได้ด้วยดี โดยเป้าหมายหลักของการประชุมคือ

  1. ชี้แจงงบประมาณที่ได้ดำเนินการและรายงานบัญชีรับ-จ่าย
  2. นำเอกสารโครงการและรายละเอียดกิจกรรมฉบับปรับปรุง เพื่อชี้แจงและหารือการดำเนินงานกิจกรรมต่างๆ
  3. หารือและกำหนด รายละเอียดกิจกรรม ประชาสัมพันธ์โครงการพร้อมมอบหมายหน้าที่รับผิดชอบ
  4. สรุป การจัดกิจกรรม วันเสาร์ที่ 21 พย 58 ณ พื้นที่ ศูนย์การศึกษาอิสลาม(ตาดีกา) กุบังจามัง
  5. นัดประชุมติดตามงาน วันศุกร์ที่ 13 พย 2558

สภาผู้นำ

1,000.00 825.00 15 35 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้วางแผนแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ เช่น ฝ่ายอาหาร ฝ่ายเสริฟ ฝ่ายเอกสาร พิธีกร ฝ่ายประสานงาน ฝ่ายสถานที่ และสรุปการจัดทำกิจกรรม บอกเล่าโครงการ ในวันที่ 21 พฤศจิกายน 2558

คณะทำงาน

1,000.00 825.00 15 34 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีการพูดคุยกันในเรื่องกิจกรรมที่ผ่านมา และสรุปปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น ร่วมกันหาแนวทางแก้ไข ทำให้สามารถดำเนินตามแผนงานได้ต่อไป

สภาผู้นำ

1,000.00 825.00 15 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้วางแผนงานต่อไป

  1. การสรุปเพื่อปิดยอดโครงการ งวดที่ 1
  2. สรุปยอดการเงินเพื่อปรับเปลี่ยนการดำเนินกิจกรรมต่อไป โดยให้คำนวนจากยอดเงิน
  3. หลังจากอนุมัติงบแล้วให้รีบดำเนินการ

สภาผู้นำบ้านกุบังจามัง 38 คน

1,000.00 825.00 40 38 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ที่ประชุมพร้อม นายหมาดหมันดีเปิดประะชุม

1.เล่าการเสนอโครงการแก้ไขปัญหาภัยแล้ง โดยทำบ่อน้ำตื่นจำนวน5บ่อ

2.ได้สรุปการทำงานที่ผ่านมาโดยตัวแทนโครงการ2คน เดิยทางไป มอ. เพื่อสรุปเอกสารงวดที่1และรอการอนุมัติงวดที่2

3.วางแผนงานงวดที่2ได้ เนื่องจากงวดที่2 มีกิจกรรมจำนวนมากและใช้งบประมาณสูง จึงต้องรอและวางแผนการเงินให้ดี

4.นัดประชาคมชาวบ้านเรื่องโครงการเพิ่มศักยภาพหมู่บ้านในวันอาทิตย์

สภาผู้นำ 38 คน

1,000.00 825.00 15 38 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เวลา 19.00 น. เมื่อที่ประชุมพร้อม นายหมาด หมันดี เป็นประธานกล่าวเปิดประชุมพร้อมรายยงานผลการประชุมประจำเดือนกำนันผู้ใหญ่บ้านดังนี้

1.ประชุมกำนันผู้ใหญ่บ้าน ฯลฯ ประจำเดือนพฤษภาคม2559ณ หอประชุมอำเภอเมืองสตูลโดยมีนายพีรพัฒน์เงินเจริญปลัดอาวุโสเป็นประธานในการประชุมร่วมกับเจ้าหน้าที่และหน่วยงานราชการของอำเภอเมืองสตูลเข้าร่วมการประชุมในครั้งนี้ซึ่งมีระเบียบวาระการประชุมดังนี้

  1. โครงการประชุมมอบนโยบายสำคัญของรัฐบาลและกระทรวงมหาดไทยในส่วนภูมิภาค

  2. การรวมพลังคนไทยลดพีทไฟฟ้าโดยขอให้ประชาชนปิดปรับปลดเปลี่ยนคือปิดเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ไม่จำเป็นในช่วงเวลา14.00 - 15.00 น. ปรับอุณหภูมิเครื่องปรับอากาศจาก25องศา เป็น26 องศา ฯถอดปลั๊กเครื่องใช้ไฟฟ้าเมื่อไม่ใช้งาน

  3. โครงการอำเภอ...ยิ้มเคลื่อนที่ประจำเดือนพฤษภาคม2559จำนวน2ครั้งดังนี้

    3.1 วันพุธ ที่ 18 พฤษภาคม2559เวลา 09.00 - 16.00 น.ณอาคารอเนกประสงค์ประจำหมู่บ้านหมู่ที่ 3 ตำบลตำมะลังอำเภอเมืองจังหวัดสตูล

    3.2 วันพฤหัสบดี ที่ 26พฤษภาคม 2559เวลา09.00 - 16.00 น. ณอาคารอเนกประสงค์ประจำหมู่บ้านหมู่ที่4ตำบลเกาะสาหร่ายอำเภอเมืองจังหวัดสตูล

  4. โครงการคัดเลือกหมู่บ้านดีเด่น (บ้านสวยเมืองสุข)ประจำปี2559

  5. การสนับสนุนงบประมาณเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดประชุมให้แก่คณะกรรมการหมู่บ้านประจำปี2559 (ไตรมาสที่ 3 - 4)

  6. โอนจัดสรรงบประมาณตามโครงการสร้างความปรองดองสมานฉันท์โดยกลไกคณะกรรมการหมู่บ้านประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2559 (ไตรมาสที่ 3 - 4)

  7. โครงการส่งเสริมการขับเคลื่อนการพัฒนาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ในภาคการเกษตรและชนบท (กิจกรรมในการศึกษาชุมชนจัดเวทีประชาคมทำแผนชุมชน)

  8. กำหนดให้ผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำซึ่งเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินมายื่นขอรับใบอนุญาต พ.ศ.2559

2.นายสุริยงค์ด่วนข้องรายงานผลการดำเนินกิจกรรมตามแผนงานโครงการ รวมใน สานสัมพันธ์ บ้านกุบังจามังเหนือ และหารือเรื่องการจัดกิจกรรมตามแผนงานต่อไป กิจกรรม ศึกษาประวัติชุมชน

กรรมการ สภาผู้นำ 25 คน

1,000.00 825.00 15 25 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้แผนงานที่ปรับปรุงร่วมกัน
  • รายงานผลการดำเนินงานโครงการรวมใจ สานสัมพันธ์ บ้านกุบังจามังเหนือ
    ชี้แจงแผนการดำเนินงานในเดือนมิถุนายนและกรกฎาคม โดยนายสุริยงค์ ด่วนข้อง
  • มีแผนงานดังนี้ 28 มิถุนายน 2559 กิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์สัมพันธ์ 1/2 กิจกรรม
    8 กรกฎาคม 2559 กิจกรรมทำเพจครั้งที่ 7/10
  • ประชุมติดตามงานที่ผ่านและปรับเปลี่ยนปฏิทินกิจกรรมตามความเหมาะสม

สภาผู้นำ บ้านกุบงัจามังเหนือ หมู่ 7 ตำบลฉลุง

1,000.00 825.00 15 26 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้ข้อสรุปตามแผนงานที่วางไว้ และวางแผนการดำเนินงานขั้นตอนไป

สภาผู้นำฯ จำนวน 35 คน

1,000.00 825.00 40 35 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลที่เกิดขึ้น : เมื่อที่ประชุมพร้อม

  1. ตัวแทนกลุ่ม/องค์กร/เครือข่าย เข้าร่วมประชุมทุกครั้ง

  2. ทุกท่านที่เข้าร่วมประชุมเริ่มแสดงบทบาทของตัวเอง

  3. เริ่มมีการวางแผนงานร่วมกัน

กิจกรรมหลัก : ทำเพจบ้านกุบังจามังเหนือi

15,330.00 11 ผลผลิต
  • เยาวชน 10คน ได้เรียนรู้การสร้างเวปเพจ การถ่ายรูป การเขียนบรรยายกิจกรรม
  • เยาวชน 10 คน ได้รับทราบกิจกรรมโครงการทั้งหมดเพื่อทำความเข้าใจในการทำเนื้อหาลงเพจ
  • ได้เวปเพจ 1 เพจ ชื่อ รวมใจสานสัมพันธ์ บ้านกุบังจามังเหนือ จ.สตูล

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • เยาวชนเกิดการรวมตัวทำกิจกรรมที่ถนัดอย่างสร้างสรรค์
  • ได้พื้นที่บนโซเชียล เนตเวิร์ค เพื่อการประชาสัมพันธ์โครงการในกลุ่มวัยรุ่น

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 10 ครั้ง

  • เยาวชน 10 คน
  • วิทยากร 1 คน
  • พี้เลี้ยง 1 คน
  • ผู้รับผิดชอบโครงการ 2 คน
2,265.00 2,265.00 11 14 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. เยาวชนสามารถทำเวปเพจและรายงานผลกิจกที่ทำตามแผนการดำเนินงานได้
  2. ตั้งเวปเพจ โดยการใช้เฟสบุค
  3. เยาวชนวางแผนการรายงานผลผ่านสื่อโดยใช้เวปเพจ
  • เยาวชน 8 คน
  • พี่เลี้ยง 2 คน
  • ประธานโครงการ 1 คน
1,045.00 1,045.00 10 11 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. เยาวชนมีการวางแผนการดำเนินกิจกรรมที่เป็นระบบ
  2. ตั้งชื่อ กลุ่มเวปเพจ Cahaya jamang
  3. มีการนัดประชุม

เยาวชนตามเป้าหมาย 8 คน กรรมการทึ่ปรึกษา 3 คน

1,045.00 1,045.00 10 11 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. มีการติดตามงานอย่างเป็นระบบ
  2. กระตุ้นการทำงานที่ได้รับมอบหมาย
  3. ดำเนินงานตามแผนโครงการ

เยาวชน 10 คน วิทยากร 1 คน

2,265.00 2,265.00 11 11 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เวลา 19.00 น. เมื่อที่ประชุมพร้อม ประธานโครงการได้เปิดประชุมเพื่อพูดคุยให้กำลังใจกับทีมเยาวชน หลังจากน ั้น ก็มอบหมายให้ นายสุริยงค์ด่วนข้อง รับหน้าที่พูดคุยยกับทีมเยาวชนเพื่อหารือการทำงานต่อไป

เวลา 19.30 น. ที่ประชุมได้หารือกันเรื่อง

  1. การบันทึกกิจกรรมผ่านเฟสบุคเนื่องจากทีมเยาวชนมีเวลาไม่ตรงกัน จึงไม่สามารถนัดประชุมกันได้จึงไม่สามารถอัพเดทข้อมูลให้เป็นปัจจุบันได้
    สรุปให้มอบหมายงานและแบ่งหน้าที่ให้ชัดเจน

  2. เนื่องจากคณะกรรมการสภาผู้นำบางท่านไม่สามารถเข้าร่วมประชุมได้จึงต้องมีการปรับเปลี่ยน รวมถึงเยาวชนบางท่านที่ไปทำงานต่างจังหวัด
    สรุป ให้คัดเลือกตัวแทนเยาวชนมาแทน

  3. การดำเนินกิจกรรมของ โครงการ
    สรุป อย่างแรกที่ต้องทำคือ "ศึกษาประวัติชุมชน" โดยให้ตัวแทนเยวชน ทั้ง 10คนนั้นหาคนเข้ามาทำกิจกรรมคนล่ะ 5 คน รวมทั้งหมดที่เยาวชนต้องหาคนให้ครบ 50 คน เพื่อมาจัดกิจกรรมในครั้งแรก และพร้อมส่งรายชื่อที่หาได้มาทางแชทกลุ่มด้วย

เยาวชน 8 คน กรรมการโครงการ 5 คน

1,045.00 1,045.00 10 11 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ได้แผนการจัดกิจกรรมที่ชัดเจน
  • เยาวชน 9 คน
  • กรรมการ 3 คน
2,265.00 2,265.00 11 11 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. มีการสะท้อนปัญหาจากการ์งาน
  2. เยาวชนเริ่มแสดงออกถึงความต้องการ
  3. เริ่มมีแผนงาน เช่น ออกกำลังกายร่วมกันในตอนค่ำ
  • เยาวชน 9 คน
  • สภาผู้นำ 2 คน
1,045.00 1,045.00 10 11 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เยาวชนเริ่มมีแนวคิดที่จะแก้ปัญหาในชุมชน
  • เกิดแผนงานที่ร่วมกันคิด เช่น รูปแบบกิจกรรมเยาวชน เล่นกีฬาเพื่อต้านยาเสพติด
  • เยาวชน 6 คน
  • สภาฯ5 คน
1,045.00 1,045.00 10 11 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เยาวชนทราบหน้าที่รับผิดชอบของตัวเอง
  • มีการติดตามงานในกลุ่มไลนและกลุ่มแชทในเฟสบุค

เยาวชน 13 คน วิทยากร 1 คน สภาผู้นำ 1 คน

2,265.00 2,265.00 11 15 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เยาวชนได้เสนอแนวคิดต่างๆ ผ่านเวทีการประชุม ทำให้กล้าแสดงออกและขัดเกลาให้เป็นผู้นำได้
  • เกิดการติดตามงานอย่างเป็นระบบ
  • ได้ข้อสรุปว่า ควรมีการเชื่อมโยงกับเวปเพจโดยเสนอให้ ครูในพื้นที่สอนเยาวชนให้ทำเวปเพจแบบสำเร็จรูปเพื่อเชื่อมโยงแฟนเพจเข้ากับเวปเพจ
  • ให้มีการอัพเดทข้อมูลทั้งหมดลงในเวปเพจเพื่อประชาสัมพันธ์ทุกกิจกรรมในหมู่บ้าน โดยใช้ทีมนำร่องที่ได้จากโครงการเป็นตัวขับเคลื่อน
  • ต่อยอดกิจกรรม โดยการอบรมเพิ่มเติมต่อไป

เยาวชน 12 คน สภาผู้นำ 1 คน

1,045.00 1,045.00 10 13 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เยาวชนได้แผนงานที่จะทำอย่างต่อเนื่อง
  • ปรับปรุงข้อมูลเพื่อนำไปสู่การจัดทำเวปของหมู่บ้านอย่างจริงจัง
  • ทางสภาผู้นำได้ประสานให้ครูเชษฐา เถาวัลย์ คณุสอนวิชาคอมพิวเตอร์ มาทำการสอนการทำเวปเพจเพื่อให้เด็กได้มีความรู้เพิ่มเติมและสามารถใช้งานได้จริง โดยคัดเลือกจากน้องๆเยาวชนที่สนใจ
  • หลังจากที่ทำเวปเพจแล้วจะให้เยาวชนได้อัพเดทข้มูลและเชื่อมโยงกับแฟนเพจที่ได้ดดำเนินการมาก่อนแล้ว

กิจกรรมหลัก : การประชุมร่วมกับ สสส. สจรส.ม.อ. และพี่เลี้ยงผู้ติดตามi

10,000.00 2 ผลผลิต
  • ผู้รับผิดชอบโครงการ 2 คนได้เข้าร่วมปฐมนิเทศ การอบรมเรื่องการทำรายงาน และพบพี่เลี้ยงเตรียมเอกสารปิดงวด

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • ทีมผู้รับผิดชอบโครงการมีความเข้าใจมนระบบเอกสาร ระบบการรายงานทางหน้าเวปมากยิ่งขึ้น

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 12 ครั้ง

  1. ฝ่ายคีย์ข้อมูล 1 คน
  2. ฝ่ายเหรัญญิก 1 คน
2,000.00 1,830.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. รับฟังการบรรยายเกี่ยวกับโครงการที่ได้จัดทำสัญญาข้อตกลงกับสสส
  2. วิทยากรบรรยายและยกตัวอย่างเกี่ยวกับรูปภาพที่ใช้ในการประกอบกิจกรรมต่างๆ ในโครงการ
  3. วิทยากรแนะนำการใช้งานเว็บไซต์ http://happynetwork.org/
  4. ลงรายละเอียดโครงการในเว็บไซต์ โดยมีวิทยากรแนะนำการใช้งาน
  5. จัดทำแผนการดำเนินงาน ,ปฎิทินโครงการบนเว็บไซต์ http://happynetwork.org/
  6. เรียนรู้เกี่ยวกับการจัดทำเอกสารสำคัญทางการเงิน
  7. วิทยากรแนะนำการบันทึกรายจ่ายเกี่ยวเนื่องกับการทำโครงการ
  8. ให้แต่ละโครงทำแบบสรุปรายงานการใช้เงินในกิจกรรมปฐมนิเทศ

ผู้รับผิดชอบโครงการ 2 คน

200.00 200.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้เรียนรู้การทำรายงาน การทำบัญชี และการบันทึกกิจกรรมในเวปไซต์

คณะทำงาน

0.00 500.00 1 1 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ถอนเงินคืนเปิดบัญชี

พี่เลี้ยง ผู้รับผิดชอบโครงการ 2 คน

200.00 200.00 3 3 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้เตรียมเอกสาร และคีย์ข้อมูลได้สมบูรณ์ขึ้นเพื่อเข้าพบ เจ้าหน้าที่ตรวจสอบต่อไป

ตัวแทนโครงการ 2 คน

  1. ผู้จัดทำเอกสาร การเงิน
  2. ผู้บันทึกข้อมูล
2,000.00 200.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ตัวแทนพื้นที่ที่ได้มาพบพี่เลี้ยงได้ดำเนินการแก้ไขเอกสารตามที่พี่เลี้ยงแนะนำ

2.ตัวแทนพื้นที่โครงการมีความเข้าใจในเรื่องการสรุปเอกสารมากขึ้น

3.ได้ลงข้อมูลในเวปไซต์ได้ถูกต้อง

ตัวแทนโครงการ 2 คน

0.00 200.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

พี่เลี้ยงให้รายงานความคืบหน้าและรายงานผลเข้าเวป

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงาน 2 คน

2,000.00 800.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ตัวแทนผู้รับผิดชอบโครงการ 2 คน เดินทางไปพบ เจ้าหน้าที่ ที่ สจรส. มอ. เพื่อตรวจเอกสารและปิดงวดโครงการฯ ซึ่งผลปรากฏว่า  ได้ส่งและตรวจสอบเอกสาร  รวมทั้งการคีย์ข้อมูลในเวปไซต์  ซึ่งเจ้าหน้าที่ได้ทำการตรวจสอบและสรุปว่าผ่านดารตรวจสอบพร้อมให้เอกสารกลับมาให้ผู้รับผิดชอบเซ็นรับรอง

ตัวแทนโครงการ 2 คน

200.00 200.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • พี่เลี้ยงสอบถามและติดตามการทำโครงการ
  • พี่เลี้ยงชี้แจงและทำความเข้าใจเกี่ยวกับการวัดผลตัวชี้วัด รายละเอียดกิจกรรมตามแผนงานที่วางไว้

แกนนำ 2 คน

200.00 200.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ได้สรุปกิจกรรมงวดที่ 2-3 เพื่อเพิ่มเติมและแก้ไขรายละเอียดในเวป

  1. ได้เพิ่มเติมข้อมูลที่ต้องดำเนินการให้เสร็จ เช่น รายงาน ส.3

ตัวแทนโครงการละ 2 คน

2,000.00 2,400.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้รับข้อมูลและทิศทางกาพัฒนาหมู่บ้าน
  • ได้เห็นผลงานของโครงการแต่ละโครงการที่นำมาเสนอผลงาน ซึ่งผลงานที่เกิดขึ้นจากการทำโครงการสามารถนำมาสร้างเป็นผลิตภัณฑ์สร้างรายไ้ให้กับชุมชน
  • ได้ข้อคิดจากการฟังเสวนาจากโครงการที่ไดนำเสนอเป็นตัวอย่างบนเวที เพื่อนำมาใช้ในการพัฒนาโครงการของตนเองต่อไป
  • ไดรับข้อมูลและความรู้ใหม่ๆ จากกิจกรรมครั้งนั้ เข่น จากหนังสือ จากห้องเสวนาย่อย เป็นต้น

ตัวแทนสภา 2คน

200.00 200.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้ตรวจเอกสารให้ถูกต้องก่อนนำส่ง สจรส

ตัวแทนโครงการ 2 คน

1,000.00 300.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้นำเอกสารที่สรุปและการรายงานผลไปเสนอต่อ สจรส.

กิจกรรมหลัก : ทำป้ายสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่ ถ่ายภาพกิจกรรม และจัดทำรายงานi

3,000.00 2 ผลผลิต
  • ได้ป้ายปลอดบุหรี่ 6 ป้าย

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • ชาวชุมชน 800 คน ได้เห็นการรณณงค์ไม่สูบบุหรี่

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 3 ครั้ง

ชาวบ้านทุกคนที่สูบและไม่สูบบุหรี่

1,000.00 900.00 1,000 1,000 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ชาวบ้านที่ได้เห็นป้ายปลอดบุหรี่ ได้ตระหนักถึงความสำคัญและทำตามกฎเกณฑ์ คือไม่สูบบุหรี่ ตามบริเวณที่ได้ติดป้าย

ตัวแทนสภา 2 คน

1,000.00 1,000.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้รายงานฉบับสมบูรณ์ให้แก่ชุมชน
  • ได้แนวทางในการต่อยอดโครงการของปีต่อไป

ตัวแทน2คน

1,000.00 1,000.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้รูปถ่ายตรงตามกิจกรรม

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
เวปเพจ ชื่อ รวมใจสานสัมพันธ์ บ้านกุบังจามังเหนือ จ.สตูล
  • จัดอบรมเยาวชนให้รู้จักวิธีการสร้างเวปเพจ ของเฟสบุ้ค การถ่ายรูป การเขียนบรรยายให้น่าสนใจ
  • เยาวชนมีพื้นที่ในการเผยแพร่กิจกรรมการแสดงออกมนทางที่สร้างสรรค์
  • มีพื้นที่บนโซเชียล เนตเวิร์คในการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์กิจกรรมโครงการ
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
นางฝาตีม๊ะพุ่มโพธิ 91 หมู่ที่7 ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
  • เป็นแกนนำสตรีและ อสม. มีความตั้งใจ มุ่งมั่นในการทำกิจกรรมให้ได้ตามวัตถุประสงค์
  • มีความเข้าใจในการเตรียมเอกสารการเงิน ละเอียด รอบคอบ ทำเอกสารได้เรียบร้อย ถูกต้อง
นายสุริยงค์ ด่วนข้อง 210 หมู่ที่7 ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
  • เป็นบัณฑิตอาสา มีความสามารถในการประสานงาน และการวางแผนกิจกรรมโครงการ
นายฮัสซันลีมูสา โรงเรียนจริยธรรมอิสลามมูลนิธิ อำเภอเมือง จังหวัดสตูล
  • เป็นเยาวชน กำลังเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่5เข้ามาช่วยมีบทบทบาทเป็นพิธีกรงานประชาสัมพันธ์ จากนั้นมาเป็นทีมทำเวปเพจ น้องมีความสามารถด้านการเป็นผู้นำ และการดูแลเวปของโรงเรียนมาก่อน ทำให้งานเวปจะเคลื่อนไปได้โดยเยาวชนในชุมชนเอง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

อาคารอเนกประสงค์บ้านกูบังจามัง

เป็นสถานที่ปลอดบุหรี่ ตั้งแต่โครงการใช้เป็นที่ประชุมสภาผู้นำชุมชนทุกเดือน มีป้ายปลอดบุหรี่ติดไว้ตลอด จึงทำให้ผู้ที่มาใช้สถานที่ไม่สูบบุหรี่ไปด้วย

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม

ผู้รับผิดชอบรายงานกิจกรรมทางเวปไซด์ มีภาระงานหลายอย่างทำให้ไม่รายงานตามเวลาที่ตกลงกับพี่เลี้ยงคือ1สัปดาห์หลังจัดกิจกรรม

พูดคุยทำความเข้าใจ งวดต่อไปให้เยาวชนทีมเวปเพจมาช่วยรายงาน

การสร้างเยาวชนมาช่วยรายงานเป็นการฝึกประสบการร์ให้คนรุ่นใหม่ได้หัดทำงาน และเป็นผู้ช่วยของผู้รับผิดชอบโ๕รงการต่อไป

3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

เห็นทีมทำงานที่เห็นชัดเจนว่าไม่ได้กระจุกตัวเฉพาะทีมผู้รับผิดชอบโครงการ 5 คน โดยจากกิจกรรมอบรมบทบาทสภา ได้เห็นการทำงานเป็นทีม ความเป็นผู้นำ การร่วมแสดงความคิดเห็นของสมาชิกสภา และจากกิจกรรมประชาสัมพันธ์โครงการได้เห็นความพร้อมของงาน ทำให้รู้ว่ามีการทำงานเป็นทีมอย่างดี

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

ทีมผู้รับผิดชอบโครงการ และสภาผู้นำชุมชนมีความพยายามในการจัดกิจกรรม แม้ไม่เคยทำงานใหญ่ในหมู่บ้านมาก่อน โดยมีการประชุมเตรียมงานครั้งสองครั้งก่อนถึงกิจกรรม

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

การรายงานผลกิจกรรมหน้าเวปมีความล่าช้าต้องติดตามหลายครั้ง แต่เอกสารมีความเรียบร้อยดีมาก

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

การบริหารการเงินในช่วงแรกทีมรับผิดชอบโครงการไม่เข้าใจเรื่องเงินที่โอนมากับการจัดทำกิจกรรมให้พอดีกับตัวเงิน พี่เลี้ยงแนะนำให้จัดลำดับความสำคัญกิจกรรม ก่อนหลังที่สำคัญต้องจัดก่อน เช่น การอบรมบทบาทสภา การทำเวปเพื่อต่อไปได้ใช้เวปเพจในการสื่อสารกับกลุ่มเยาวชน

2.2 การใช้จ่ายเงิน

การใช้จ่ายเงินเป็นไปตามสัญญาโครงการ

2.3 หลักฐานการเงิน

หลักฐานการเงินเรียบร้อยดีมาก

ผลรวม 0 0 1 0
ผลรวมทั้งหมด 1 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

มีทีม มีแผนการดำเนินงาน การใช้จ่ายเงินปกติ หลักฐานการเงินเรียบร้อย เห็นควรให้ปิดงวดหนึ่งและเบิกเงินงวดสองได้ แม้ว่างวดหนึ่งยังใช้เงินไม่หมดแต่เกินร้อยละ50แล้ว

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

กูบังจามังเหนือ เป็นชุมชนที่ไม่เคยมีการจัดกิจกรรมโดยชุมชนเอง เมื่อมีโอกาสได้รับทุนจึงเป็นเรื่องใหม่ ทีมผู้รับผิดชอบโครงการให้ความสำคัญกับการวางแผนเตรียมงาน และงานประชาสัมพันธ์โครงการออกมาราบรื่น เรียบร้อยดี ตรงตามวัตถุประสงค์ แต่ด้วยผู้รับผิดชอบหลักมีภาระงานมาก อาจทำให้กิจกรรมไม่ได้ตามแผน ยังใช้เงินไม่หมดตามงวดแรกที่โอนมา อย่างไรก็ตามได้ใช้เกินร้อยละ 50 แล้ว และมีการปรับแผนการทำงานร่วมกับพี่เลี้ยงตลอดเวลาเพื่อให้กิจกรรมเป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ จากการเริ่มทำในพื้นที่ใหม่ทำให้ได้แกนนำหน้าใหม่ขึ้นมา ไม่ได้เอางบประมาณไปผูกติดกับกลุ่มที่เป็นนักล่าทุน ได้แกนนำกลุ่มสตรีที่มีความเรียบร้อยในการทำเอกสารการเงิน ได้แกนนำเยาวชนที่กล้าแสดงออก สามารถเป็นผู้นำ และประสานงานกับผู้ใหญ่ได้ จึงน่าจับตามองพื้นที่นรี้ พร้อมทั้งให้โอกาสเมื่อเกิดความผิดพลาดเล็กน้อย โดยถือเป็นโอกาสพัฒนาของพื้นที่

สร้างรายงานโดย Yuttipong Kaewtong